SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
ความขัดแย้งด้านศาสนาเหตุการณ์สาคัญ 
ของโลกในคริสต์ศตรรษที่21
ความขัดแย้งทางศาสนา 
เกิดขึน้เนื่องจากผู้นับถือศาสนาต่างๆคิดว่าศาสนาหรือลัทธิที่ 
ตัวเองนับถือดีกว่าศาสนาของคนอื่นและไม่ยอมรับศาสนาอื่น 
และการนับถือคนละแบบกันอาจทาให้มีพิธีกรรม ความเชื่อต่างๆ 
คาสอน การวางตัวที่แตกต่างกัน ทาให้เป็นปัจจัยในการเกิด 
สงครามทางด้านศาสนา
สงครามอิสราเอล-ปาเลสไตน์ 
เดิมดินแดนปาเลสไตน์ซงึ่ตัง้อยู่ระหว่างทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและแม่นา้ 
จอร์แดนเป็นที่ตัง้ถิ่นฐานของชาวอาหรับซงึ่นับถือศาสนาอิสลาม 
ในปี 1,200 กว่าก่อนคริสตกาล โมเสสได้พาชาวยิวที่หลุดพ้นจาก 
การเป็นทาสจากอียิปต์อพยพมาตัง้รกรากบริเวณเทือกเขาปาเลสไตส์จึง 
เกิด ”ขบวนการไซออนนิสต์”
สงครามครัง้แรกระหว่างยิวกับอาหรับ จบลงด้วยชัยชนะของยวิโดย 
อิสราเอลรุกไล่กองทัพอาหรับเข้าไปในดินแดนของอียิปต์จนถึงฝั่งทะเล 
เมดิเตอร์เรเนียน ชาวอาหรับปาเลสไตน์กว่า 400,000 คนอพยพออก 
จากปาเลสไตน์เพราะไม่ต้องการอยู่ภายใต้การปกครองของอิสราเอล 
ทัง้สองฝ่ายยังใช้สงครามนอกรูปแบบและการก่อการร้ายตอบโต้กันด้วย 
และคนที่เป็นเหยื่อมักเป็นประชาชนทัง้สองฝ่ายแทนที่จะเป็นนักรบของ 
แต่ละฝ่าย โดยองค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ หรือ PLO มีกลุ่มคนหัว 
รุนแรงมุ่งบรรลุเป้าหมายทางการเมืองด้วยการก่อการร้าย
สงครามอิรัก-อิหร่าน 
ชาวอิรักมีเชือ้สายอาหรับ แต่ชาวอิหร่านมีสายเปอร์เซีย อิรัก 
ต้องการครอบครอง จังหวัดคูเซสถาน บริเวณซัตต์อัล-อาหรับ 
ของอิหร่าน ซัดดัม ฮุสเซน ประธานาธิบดีอิรัก นับถืออิสลาม 
นิกายซุนนี่ ขณะที่โคไมนีผู้นาอิหร่านนับถือนิกายชีอะห์ 
ค.ศ.1987 สหประชาชาติเข้าไกล่เกลี่ย อิรักยอมรับข้อตกลง แต่ 
อิหร่านยังคงโจมตีอิรัก จนสหภาพโซเวียตมาช่วยอิรัก อิหร่านจึง 
ยอมรับมติสหประชาชาติ แต่ยุติสงคราม ค.ศ.1988
สงครามในเลบานอน 
สงครามเลบานอนเป็นสงครามระหว่างคริสเตียน นิกายมาโรไนท์ 
กับมุสลิม นิกายดรูส์โดยจุดเริ่มต้น คือมีนักปราชญ์ใหญ่ทาง 
กฏหมายชาวเลบานอนได้ไปแต่งงานกับสาวชาวซีเรีย และมีบุตร 
คนหนงึ่ซงึ่ภายหลังบุตรนัน้ได้ครองราชบัลลังค์และตัง้ราชวงค์ขึน้ 
ซงึ่บุคคลผู้นีเ้ลื่อมใสศาสนาคริสต์อย่างมาก
สงครามจนถงึทุกวันนี้มันเริ่มก่อตัวในศริสตศตวรรษ ที่7 คือ มนุษย์ได้พบเห็น 
ศาสนาเกิดใหม่ อีกศาสนาหนงึ่ ซงึ่เป็นศาสนาที่มีความฉกาจฉกรรจ์อยู่ในเนือ้หา 
สาระ อย่างชัดเจน เป็นศาสนาที่ยึดอุดมการณ์ว่า ดาบคือกุญแจสวรรค์ นั่นได้แก่ 
ศาสนา อิสลาม ในช่วงระหว่าง คริสต์ศักราช 630 ถึง 640 กองทัพมุสลิม ได้ควง 
กุญแจอันคมกริบ เข้ายึด ซีเรีย และเลบานอน โดยยึดซีเรียไปเป็นดินแดนมุสลิม และ 
สถาปนากรุงดามัสกัส เมืองหลวงของซีเรีย เป็นศูนย์กลางมุสลิม แต่มีชาวคริสเตียน 
ในเลบานอนส่วนหนงึ่ไม่ยอม โดยพวกเขาพากันอพยพขึน้ไปทางเหนือ ปักหลักสู้มา 
จนถึงทุกวันนี้ชาวคริสต์กลุ่มนีเ้ป็นต้นตระกูลของนิกาย มาโรไนท์โดยคาว่า 
มาโรไนท์นัน้มาจากชื่อของหัวหน้าชาวคริสต์ที่เป็นผู้นาในการอพยพ ท่านผู้นัน้ชื่อ 
จอห์น มารอน และท่านผู้นีก้็อยู่ในฐานะเทพบิดรของชาวเลบานอน
เหตุการณ์ที่ร้ายแรงที่สุดในสงครามเลบานอน เกิดในปี คริสตศักราช 1860 เกิดการสู้รบ 
ระหว่าง คริสเตียน กับมุสลิม โดยมีเจ้าภาพหนุนหลัง ทัง้คู่ คือ ฝรั่งเศสหนุนหลังคริสเตียน 
และอังกฤษ กับตุรกี หนุนหลังมุสลิม ในสงครามครัง้นีช้าวคริสเตียน เสียชีวติ ประมาณ 
11,000 และอดตายอีกราว 4,000 คน ส่วนพวกดรูสส์ก็เสียชีวิตไปไม่น้อยเช่นกัน ฝ่ายฝรั่งเศส 
เห็นมุสลิมโจมตีฝ่ายคริสเตียน อย่างหนัก จึงแสดงตัวอย่างเปิดเผย โดยเอากาลังรบจาก 
ประเทศของตนมาจากยุโรป 
ผลคือ ปราบมุสลิมนิกายดรูสส์ลงได้ในเวลาไม่นาน และกาจัดอิทธิพลของอังกฤษและตุรกี 
ออกไป ปิดท้ายด้วยการยึดครองประเทศเลบานอน ทาให้ เลบานอน ตกอยู่ใต้อานาจการ 
ปกครองของโรมันคาทอลิกโดยมีสภาลวงตาเพื่อไม่ให้มีความเอนเอียงในการปกครอง คือมี 
ที่ปรึกษาแผ่นดิน 12 คน ซงึ่เลือกมาจากกลุ่มศาสนาตา่งๆ 
จนถึงหลังสงครามโลกครัง้ที่ 2 ฝรั่งเศสได้ปล่อยประเทศเลบานอนเป็นเอกราช แทนที่จะ 
เป็นผลดี กลับเป็นผลร้าย คือความวุ่นวายทางศาสนาที่เป็นปัญหาเดิม กลับก่อตัวอีกครัง้ 
จนต้องตรารัฐธรรมนูญปกครองบ้านเมืองในแบบเก่า คือรัฐสภาประกอบไปด้วยสมาชิกที่ 
เลือกตัง้มาจากกลุ่มศาสนา เหมือนที่เคยเป็นมา อันเป็นหลักเกณฑ์บ่งบอกเป้าหมาย ที่จะ 
ให้ชาวมุสลิม นัน้ตกเป็นเบีย้ล่างจนทุกวันนี้
ผู้จัดทา 
นางสาวขวัญมนัส มนัสกิตติกุล ม.6.5 เลขที่ 4 
นางสาวพริมา ถิระบัญชาศักดิ์ ม.6.5 เลขที่ 22

More Related Content

What's hot

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรปความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรปleemeanshun minzstar
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง Sherry Srwchrp
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2Tanchanok Pps
 
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาบทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาThammasat University
 
64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์
64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์
64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์ssuser214242
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2Thanyamon Chat.
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยKorawan Sangkakorn
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1วรรณา ไชยศรี
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสงพัน พัน
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102พัน พัน
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจPariwanButsat
 

What's hot (20)

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรปความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป
 
ใบ000
ใบ000ใบ000
ใบ000
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
ใบงานยุโรป 3
ใบงานยุโรป  3ใบงานยุโรป  3
ใบงานยุโรป 3
 
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
 
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาบทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
 
64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์
64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์
64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
 
ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2
ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2 ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2
ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสง
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 

ความขัดแย้งทางศาสนา