SlideShare a Scribd company logo
1
กระบวนการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน บัณฑิตวิทยาลัย
1. ศึกษาคูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
2. ประชุมชี้แจง ทําความเขาใจตัวบงชี้/เกณฑมาตรฐานของแตละตัวบงชี้ขอมูลประกอบการประเมินตนเอง
3. จัดทํารางรายงานประเมินตนเอง ระดับสาขาวิชา (เฉพาะตัวบงชี้ที่สาขาวิชารับผิดชอบ)
และระดับบัณฑิตวิทยาลัย (เฉพาะตัวบงชี้ที่บัณฑิตวิทยาลัยรับผิดชอบ)
4. ประชุมจัดทําขอมูลสารสนเทศสําหรับสนับสนุนงานประกันคุณภาพการศึกษา พิจารณาขอมูล และเอกสารหลักฐานประกอบแตละตัวบงชี้
5. ประชุมปฏิบัติการการประเมินตนเองระดับสาขาวิชาและบัณฑิตวิทยาลัย เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู รวมกันพิจารณาการประเมินตนเองตามเกณฑมาตรฐานรวมทั้ง
ระบุเอกสารหลักฐานประกอบโดยเชิญผูมีประสบการณดานการประเมินคุณภาพการศึกษามารวมแลกเปลี่ยนเรียนรู
6. แตละสาขาวิชาจัดทํา SAR สงบัณฑิตวิทยาลัย
7. ประชุมผูจัดทํา SAR เพื่อทบทวนและทําความเขาใจเพิ่มเติม ในแตละตัวบงชี้ และแลกเปลี่ยนเรียนรูการจัดเก็บเอกสารแนวทางการประเมินตนเองของแตละ
สาขาวิชา รวมทั้งเสนอแนะระบบเอกสารที่ใชรวมกันทุกสาขาวิชาและบัณฑิตวิทยาลัย
8. ปรับปรุงแกไข SAR เพื่อสงคณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับสาขาวิชา
9. คณะกรรมการตรวจประกันคุณภาพการศึกษาภายในตรวจประเมินคุณภาพระดับสาขาวิชา
10. จัดทํา SAR บัณฑิตวิทยาลัย
11. ประชุมเจาหนาที่ (ผูจัดเก็บขอมูล) ทบทวนการประเมินตนเอง และเอกสารหลักฐานประกอบแตละตัวบงชี้ รวบรวมจัดแฟมพรอมรับการตรวจประเมิน
12. ปรับปรุง SAR บัณฑิตวิทยาลัย สงใหคณะกรรมการตรวจประกันคุณภาพภายในระดับบัณฑิตวิทยาลัย
13. ตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับบัณฑิตวิทยาลัย
14. ไดรับผลการตรวจประเมินภายในระดับสาขาวิชา และระดับบัณฑิตวิทยาลัย
15. จัดประชุมทําแผนทําแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2555 ระดับสาขาวิชาและบัณฑิตวิทยาลัยโดยนําผลประเมินปรับปรุง
แนวปฏิบัติที่ดีดานประกันคุณภาพการศึกษาของบัณฑิตวิทยาลัย
1. ความสอดคลองกับแผนกลยุทธของมหาวิทยาลัยและบัณฑิตวิทยาลัย องคประกอบตัวบงชี้
1.1 สอดคลองกับแผนยุทธศาสตร 4 ป ( พ.ศ.2553-2556) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ในยุทธศาสตรที่ 6 การพัฒนาระบบบริหารจัดการมหาวิทยาลัย
2
ประเด็นยุทธศาสตรที่ 6.1 การพัฒนาระบบบริหารตามหลักธรรมาภิบาล
1.2 สอดคลองกับแผนกลยุทธ 4 ป ( พ.ศ.2553-2556) บัณฑิตวิทยาลัยในยุทธศาสตรที่ 6 การพัฒนาระบบการจัดการบัณฑิตวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตรที่ 6.1 การพัฒนาระบบบริหารตามหลักธรรมาภิบาล
กิจกรรม : งานประกันคุณภาพและประเมินคุณภาพการศึกษา
1.3 สอดคลองกับองคประกอบ ตัวบงชี้ การประกันคุณภาพการศึกษา
สอดคลองกับองคประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ
ตัวบงชี้ที่ 9.1 ระบบกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
2. แผนการดําเนินงาน (P)
มีการวางแผนการดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษาที่สอดคลองกับปรัชญา วิสัยทัศน พันธกิจ แผนยุทธศาสตร แผนกลยุทธของมหาวิทยาลัยและบัณฑิต
วิทยาลัย โดยกําหนดรายละเอียดดังนี้
1) จัดทําคูมือประกันคุณภาพการศึกษาภายใน บัณฑิตวิทยาลัยที่สอดคลองกับเกณฑการประเมินของ สกอ. , สมศ. และมหาวิทยาลัย ( เอกสารหมายเลข 1)
2) จัดทํารางรายงานการประเมินตนเอง ระดับสาขาวิชา และบัณฑิตวิทยาลัย ตามตัวบงชี้ที่รับผิดชอบ (เอกสารหมายเลข 2)
3) โครงการประชุมปฏิบัติการดานการประกันคุณภาพการศึกษาภายในและทบทวนแผนกลยุทธ 4 ป ของบัณฑิตวิทยาลัย โดยเชิญผูมีประสบการณดานการ
ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ใหความรูและแลกเปลี่ยนทักษะประสบการณ ซึ่งกลุมเปาหมาย คือประธานสาขาวิชา เลขานุการกรรมการบริหารหลักสูตร
หรือผูรับผิดชอบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับสาขาวิชาและบัณฑิตวิทยาลัย (เอกสารหมายเลข 3)
3. การดําเนินงานตามแผน (D)
ดําเนินงานตามระบบโดยเริ่มกระบวนการวิเคราะห ออกแบบ จัดรูปแบบการประชุม ประสานงานวิทยากรและผูเขารวมประชุม จัดทําเอกสารประกอบการ
ประชุมโดยบุคลากรมีสวนรวมทุกขั้นตอน (เอกสารหมายเลข 4)
4. การประเมินผลโครงการ / กิจกรรม (C)
จัดทําแบบประเมินผลโครงการประชุมปฏิบัติการ และดําเนินการประเมินผลโครงการเมื่อ ดําเนินการเสร็จสิ้น รวบรวมผลการประเมิน จัดทําในรูปแบบ
รายงานผลการดําเนินงานโครงการ (เอกสารหมายเลข 5)
5. การนําผลการประเมินมาปรับปรุง (A)
ประชุมคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย เพื่อรวมกันวิเคราะหผลการประเมินโครงการ ในประเด็นปญหา สาเหตุและหาวิธีการแกไข
ปรับปรุง
6. การมีสวนรวมของบุคลากรในหนวยงาน
คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย และบุคลากรประจําบัณฑิตวิทยาลัย ไดมีสวนรวมตั้งแตการวางแผน การดําเนินการ การ
ประเมินผลและแนวทางการพัฒนา
3
7. ประโยชนตอผูมีสวนไดสวนเสีย
1. คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย และสาขาวิชา บุคลากรสํานักงานบัณฑิตวิทยาลัยไดเขาใจและตระหนักถึงความสําคัญของการ
ประกันคุณภาพการศึกษา ที่มีตอการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
2. นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ไดมีคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงคตามมาตรฐานการศึกษาของแตละหลักสูตร
3. เปนหลักประกันแกสาธารณชน ใหมั่นใจไดวาบัณฑิตวิทยาลัยสามารถสรางผลผลิตทางการศึกษาที่มีคุณภาพ
8. มีการสรางองคความรู (KM)
ไดแนวทางการปฏิบัติดานการประกันคุณภาพการศึกษา ที่เกิดจากการแลกเปลี่ยนเรียนรูจากความรูทักษะของผูมีประสบการณในการประเมินคุณภาพ
การศึกษาภายใน และรวบรวมความรูจากแหลงเรียนรูอื่น ๆ จัดทําเปนเอกสารอยางเปนระบบ เผยแพรเปนลายลักษณอักษรแกบุคลากรและสาธารณชน (เอกสาร
หมายเลข 6)
9. ประเมินความสําเร็จของงาน
โดยการประเมินผลความพึงพอใจตอกระบวนการประกันคุณภาพการศึกษา
10. หนวยงานอื่นสามารถนําไปปฏิบัติได
สามารถใชเปนแนวปฏิบัติในการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับระดับบัณฑิตวิทยาลัย และคณะอื่น ๆ ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย
11. เอกสารหลักฐาน
เอกสารหมายเลข 1 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในบัณฑิตวิทยาลัย ปการศึกษา 2555
เอกสารหมายเลข 2 รางรายงานประเมินตนเอง ระดับสาขาวิชา ปการศึกษา 2555
เอกสารหมายเลข 3 โครงการประชุมปฏิบัติการการประกันคุณภาพการศึกษาและทบทวนแผนกลยุทธ 4 ป บัณฑิตวิทยาลัย
เอกสารหมายเลข 4 เอกสารการเตรียมโครงการประชุมปฏิบัติการ การประกันคุณภาพการศึกษาและทบทวนแผนกลยุทธ 4 ป บัณฑิตวิทยาลัย
(QA Meeting Checklist)
เอกสารหมายเลข 5 รายงานผลการดําเนินโครงการประชุมปฏิบัติการ การประกันคุณภาพการศึกษาและทบทวนแผนกลยุทธ 4 ป บัณฑิตวิทยาลัย
เอกสารหมายเลข 6 แผนจัดการความรูบัณฑิตวิทยาลัย
12. เกณฑการใหคะแนนแนวปฏิบัติที่ดี
ลําดับที่ การดําเนินงาน คะแนน หมายเหตุ
1. ความสอดคลองกับองคประกอบหรือตัวบงชี้หรือเกณฑ
2. แผนการดําเนินงาน (P)
4
3. ดําเนินงานตามแผน (D)
4. การประเมินแผนและโครงการ/กิจกรรม (C)
5. การนําผลการประเมินไปปรับปรุง (A)
6. การมีสวนรวมของบุคลากรในหนวยงาน
7. ประโยชนตอผูมีสวนไดสวนเสีย
8. มีการสรางองคความรู (KM)
9. ประเมินความสําเร็จของงาน
10. หนวยงานอื่นสามารถนําไปปฏิบัติได
คะแนนรวม
การใหคะแนน
0 คะแนน หมายถึง ไมมี
1-3 คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
4-6 คะแนน หมายถึง พอใช
7-9 คะแนน หมายถึง ดี
10 คะแนน หมายถึง ดีมาก

More Related Content

Viewers also liked

PHP for Python Developers
PHP for Python DevelopersPHP for Python Developers
PHP for Python Developers
Carlos Vences
 
Karmax itinerary(1)
Karmax itinerary(1)Karmax itinerary(1)
Karmax itinerary(1)
Karstan Smith
 
Ntl overview presentation_long
Ntl overview presentation_longNtl overview presentation_long
Ntl overview presentation_longRosalyn Alleman
 
Mdp 511 2012 organizations in development - session 1-2
Mdp 511 2012 organizations in development - session 1-2Mdp 511 2012 organizations in development - session 1-2
Mdp 511 2012 organizations in development - session 1-2
ANDREA_BEAR
 
State of Rural Minnesota 2013-full report
State of Rural Minnesota 2013-full reportState of Rural Minnesota 2013-full report
State of Rural Minnesota 2013-full report
Center for Rural Policy & Development
 
06 01-13 - jesus, the solution to a big problem
06 01-13 - jesus, the solution to a big problem06 01-13 - jesus, the solution to a big problem
06 01-13 - jesus, the solution to a big problemandywestphal3
 
Social engineering
Social engineeringSocial engineering
Social engineeringHHSome
 
Over posting
Over postingOver posting
Over postingHHSome
 
DeSmart - get to know us!
DeSmart - get to know us!DeSmart - get to know us!
DeSmart - get to know us!
Ewa Norweg
 
Metric System
Metric SystemMetric System
Metric Systemjdrinks
 

Viewers also liked (11)

PHP for Python Developers
PHP for Python DevelopersPHP for Python Developers
PHP for Python Developers
 
Karmax itinerary(1)
Karmax itinerary(1)Karmax itinerary(1)
Karmax itinerary(1)
 
Ntl overview presentation_long
Ntl overview presentation_longNtl overview presentation_long
Ntl overview presentation_long
 
Mdp 511 2012 organizations in development - session 1-2
Mdp 511 2012 organizations in development - session 1-2Mdp 511 2012 organizations in development - session 1-2
Mdp 511 2012 organizations in development - session 1-2
 
State of Rural Minnesota 2013-full report
State of Rural Minnesota 2013-full reportState of Rural Minnesota 2013-full report
State of Rural Minnesota 2013-full report
 
Present perfect continuous
Present perfect continuousPresent perfect continuous
Present perfect continuous
 
06 01-13 - jesus, the solution to a big problem
06 01-13 - jesus, the solution to a big problem06 01-13 - jesus, the solution to a big problem
06 01-13 - jesus, the solution to a big problem
 
Social engineering
Social engineeringSocial engineering
Social engineering
 
Over posting
Over postingOver posting
Over posting
 
DeSmart - get to know us!
DeSmart - get to know us!DeSmart - get to know us!
DeSmart - get to know us!
 
Metric System
Metric SystemMetric System
Metric System
 

Similar to แนวปฏิบัติที่ดี การประกันคุณภาพบัณฑิต

Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯPpt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ict Krutao
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practicevorravan
 
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
Thitaphol Huyanan
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตร
paween
 
Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...
Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...
Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...
Panuwat Butriang
 
Quality Assurance communication Arts KBU
Quality Assurance communication Arts KBUQuality Assurance communication Arts KBU
Quality Assurance communication Arts KBU
Pises Tantimala
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
การปรับ คอศ. 1
การปรับ คอศ. 1การปรับ คอศ. 1
การปรับ คอศ. 1
Totsaporn Inthanin
 
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.nang_phy29
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3arsad20
 
เครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
เครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาเครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
เครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
Duangnapa Inyayot
 
เครื่องมือการประกันคุณภาพภายใน
เครื่องมือการประกันคุณภาพภายในเครื่องมือการประกันคุณภาพภายใน
เครื่องมือการประกันคุณภาพภายใน
สุวรรณี สุวรรณสิงห์
 
ฐานข้อมูล Procedures Consult
ฐานข้อมูล Procedures Consultฐานข้อมูล Procedures Consult
ฐานข้อมูล Procedures ConsultAkarimA SoommarT
 

Similar to แนวปฏิบัติที่ดี การประกันคุณภาพบัณฑิต (20)

File1
File1File1
File1
 
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯPpt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15Iqa vol. 7.03.15
Iqa vol. 7.03.15
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตร
 
Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...
Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...
Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...
 
Quality Assurance communication Arts KBU
Quality Assurance communication Arts KBUQuality Assurance communication Arts KBU
Quality Assurance communication Arts KBU
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
การปรับ คอศ. 1
การปรับ คอศ. 1การปรับ คอศ. 1
การปรับ คอศ. 1
 
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3
 
เครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
เครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาเครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
เครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
 
เครื่องมือการประกันคุณภาพภายใน
เครื่องมือการประกันคุณภาพภายในเครื่องมือการประกันคุณภาพภายใน
เครื่องมือการประกันคุณภาพภายใน
 
ฐานข้อมูล Procedures Consult
ฐานข้อมูล Procedures Consultฐานข้อมูล Procedures Consult
ฐานข้อมูล Procedures Consult
 
Ea5103
Ea5103Ea5103
Ea5103
 

Recently uploaded

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

แนวปฏิบัติที่ดี การประกันคุณภาพบัณฑิต

  • 1. 1 กระบวนการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน บัณฑิตวิทยาลัย 1. ศึกษาคูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 2. ประชุมชี้แจง ทําความเขาใจตัวบงชี้/เกณฑมาตรฐานของแตละตัวบงชี้ขอมูลประกอบการประเมินตนเอง 3. จัดทํารางรายงานประเมินตนเอง ระดับสาขาวิชา (เฉพาะตัวบงชี้ที่สาขาวิชารับผิดชอบ) และระดับบัณฑิตวิทยาลัย (เฉพาะตัวบงชี้ที่บัณฑิตวิทยาลัยรับผิดชอบ) 4. ประชุมจัดทําขอมูลสารสนเทศสําหรับสนับสนุนงานประกันคุณภาพการศึกษา พิจารณาขอมูล และเอกสารหลักฐานประกอบแตละตัวบงชี้ 5. ประชุมปฏิบัติการการประเมินตนเองระดับสาขาวิชาและบัณฑิตวิทยาลัย เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู รวมกันพิจารณาการประเมินตนเองตามเกณฑมาตรฐานรวมทั้ง ระบุเอกสารหลักฐานประกอบโดยเชิญผูมีประสบการณดานการประเมินคุณภาพการศึกษามารวมแลกเปลี่ยนเรียนรู 6. แตละสาขาวิชาจัดทํา SAR สงบัณฑิตวิทยาลัย 7. ประชุมผูจัดทํา SAR เพื่อทบทวนและทําความเขาใจเพิ่มเติม ในแตละตัวบงชี้ และแลกเปลี่ยนเรียนรูการจัดเก็บเอกสารแนวทางการประเมินตนเองของแตละ สาขาวิชา รวมทั้งเสนอแนะระบบเอกสารที่ใชรวมกันทุกสาขาวิชาและบัณฑิตวิทยาลัย 8. ปรับปรุงแกไข SAR เพื่อสงคณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับสาขาวิชา 9. คณะกรรมการตรวจประกันคุณภาพการศึกษาภายในตรวจประเมินคุณภาพระดับสาขาวิชา 10. จัดทํา SAR บัณฑิตวิทยาลัย 11. ประชุมเจาหนาที่ (ผูจัดเก็บขอมูล) ทบทวนการประเมินตนเอง และเอกสารหลักฐานประกอบแตละตัวบงชี้ รวบรวมจัดแฟมพรอมรับการตรวจประเมิน 12. ปรับปรุง SAR บัณฑิตวิทยาลัย สงใหคณะกรรมการตรวจประกันคุณภาพภายในระดับบัณฑิตวิทยาลัย 13. ตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับบัณฑิตวิทยาลัย 14. ไดรับผลการตรวจประเมินภายในระดับสาขาวิชา และระดับบัณฑิตวิทยาลัย 15. จัดประชุมทําแผนทําแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2555 ระดับสาขาวิชาและบัณฑิตวิทยาลัยโดยนําผลประเมินปรับปรุง แนวปฏิบัติที่ดีดานประกันคุณภาพการศึกษาของบัณฑิตวิทยาลัย 1. ความสอดคลองกับแผนกลยุทธของมหาวิทยาลัยและบัณฑิตวิทยาลัย องคประกอบตัวบงชี้ 1.1 สอดคลองกับแผนยุทธศาสตร 4 ป ( พ.ศ.2553-2556) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ในยุทธศาสตรที่ 6 การพัฒนาระบบบริหารจัดการมหาวิทยาลัย
  • 2. 2 ประเด็นยุทธศาสตรที่ 6.1 การพัฒนาระบบบริหารตามหลักธรรมาภิบาล 1.2 สอดคลองกับแผนกลยุทธ 4 ป ( พ.ศ.2553-2556) บัณฑิตวิทยาลัยในยุทธศาสตรที่ 6 การพัฒนาระบบการจัดการบัณฑิตวิทยาลัย ประเด็นยุทธศาสตรที่ 6.1 การพัฒนาระบบบริหารตามหลักธรรมาภิบาล กิจกรรม : งานประกันคุณภาพและประเมินคุณภาพการศึกษา 1.3 สอดคลองกับองคประกอบ ตัวบงชี้ การประกันคุณภาพการศึกษา สอดคลองกับองคประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ตัวบงชี้ที่ 9.1 ระบบกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 2. แผนการดําเนินงาน (P) มีการวางแผนการดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษาที่สอดคลองกับปรัชญา วิสัยทัศน พันธกิจ แผนยุทธศาสตร แผนกลยุทธของมหาวิทยาลัยและบัณฑิต วิทยาลัย โดยกําหนดรายละเอียดดังนี้ 1) จัดทําคูมือประกันคุณภาพการศึกษาภายใน บัณฑิตวิทยาลัยที่สอดคลองกับเกณฑการประเมินของ สกอ. , สมศ. และมหาวิทยาลัย ( เอกสารหมายเลข 1) 2) จัดทํารางรายงานการประเมินตนเอง ระดับสาขาวิชา และบัณฑิตวิทยาลัย ตามตัวบงชี้ที่รับผิดชอบ (เอกสารหมายเลข 2) 3) โครงการประชุมปฏิบัติการดานการประกันคุณภาพการศึกษาภายในและทบทวนแผนกลยุทธ 4 ป ของบัณฑิตวิทยาลัย โดยเชิญผูมีประสบการณดานการ ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ใหความรูและแลกเปลี่ยนทักษะประสบการณ ซึ่งกลุมเปาหมาย คือประธานสาขาวิชา เลขานุการกรรมการบริหารหลักสูตร หรือผูรับผิดชอบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับสาขาวิชาและบัณฑิตวิทยาลัย (เอกสารหมายเลข 3) 3. การดําเนินงานตามแผน (D) ดําเนินงานตามระบบโดยเริ่มกระบวนการวิเคราะห ออกแบบ จัดรูปแบบการประชุม ประสานงานวิทยากรและผูเขารวมประชุม จัดทําเอกสารประกอบการ ประชุมโดยบุคลากรมีสวนรวมทุกขั้นตอน (เอกสารหมายเลข 4) 4. การประเมินผลโครงการ / กิจกรรม (C) จัดทําแบบประเมินผลโครงการประชุมปฏิบัติการ และดําเนินการประเมินผลโครงการเมื่อ ดําเนินการเสร็จสิ้น รวบรวมผลการประเมิน จัดทําในรูปแบบ รายงานผลการดําเนินงานโครงการ (เอกสารหมายเลข 5) 5. การนําผลการประเมินมาปรับปรุง (A) ประชุมคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย เพื่อรวมกันวิเคราะหผลการประเมินโครงการ ในประเด็นปญหา สาเหตุและหาวิธีการแกไข ปรับปรุง 6. การมีสวนรวมของบุคลากรในหนวยงาน คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย และบุคลากรประจําบัณฑิตวิทยาลัย ไดมีสวนรวมตั้งแตการวางแผน การดําเนินการ การ ประเมินผลและแนวทางการพัฒนา
  • 3. 3 7. ประโยชนตอผูมีสวนไดสวนเสีย 1. คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย และสาขาวิชา บุคลากรสํานักงานบัณฑิตวิทยาลัยไดเขาใจและตระหนักถึงความสําคัญของการ ประกันคุณภาพการศึกษา ที่มีตอการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2. นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ไดมีคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงคตามมาตรฐานการศึกษาของแตละหลักสูตร 3. เปนหลักประกันแกสาธารณชน ใหมั่นใจไดวาบัณฑิตวิทยาลัยสามารถสรางผลผลิตทางการศึกษาที่มีคุณภาพ 8. มีการสรางองคความรู (KM) ไดแนวทางการปฏิบัติดานการประกันคุณภาพการศึกษา ที่เกิดจากการแลกเปลี่ยนเรียนรูจากความรูทักษะของผูมีประสบการณในการประเมินคุณภาพ การศึกษาภายใน และรวบรวมความรูจากแหลงเรียนรูอื่น ๆ จัดทําเปนเอกสารอยางเปนระบบ เผยแพรเปนลายลักษณอักษรแกบุคลากรและสาธารณชน (เอกสาร หมายเลข 6) 9. ประเมินความสําเร็จของงาน โดยการประเมินผลความพึงพอใจตอกระบวนการประกันคุณภาพการศึกษา 10. หนวยงานอื่นสามารถนําไปปฏิบัติได สามารถใชเปนแนวปฏิบัติในการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับระดับบัณฑิตวิทยาลัย และคณะอื่น ๆ ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย 11. เอกสารหลักฐาน เอกสารหมายเลข 1 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในบัณฑิตวิทยาลัย ปการศึกษา 2555 เอกสารหมายเลข 2 รางรายงานประเมินตนเอง ระดับสาขาวิชา ปการศึกษา 2555 เอกสารหมายเลข 3 โครงการประชุมปฏิบัติการการประกันคุณภาพการศึกษาและทบทวนแผนกลยุทธ 4 ป บัณฑิตวิทยาลัย เอกสารหมายเลข 4 เอกสารการเตรียมโครงการประชุมปฏิบัติการ การประกันคุณภาพการศึกษาและทบทวนแผนกลยุทธ 4 ป บัณฑิตวิทยาลัย (QA Meeting Checklist) เอกสารหมายเลข 5 รายงานผลการดําเนินโครงการประชุมปฏิบัติการ การประกันคุณภาพการศึกษาและทบทวนแผนกลยุทธ 4 ป บัณฑิตวิทยาลัย เอกสารหมายเลข 6 แผนจัดการความรูบัณฑิตวิทยาลัย 12. เกณฑการใหคะแนนแนวปฏิบัติที่ดี ลําดับที่ การดําเนินงาน คะแนน หมายเหตุ 1. ความสอดคลองกับองคประกอบหรือตัวบงชี้หรือเกณฑ 2. แผนการดําเนินงาน (P)
  • 4. 4 3. ดําเนินงานตามแผน (D) 4. การประเมินแผนและโครงการ/กิจกรรม (C) 5. การนําผลการประเมินไปปรับปรุง (A) 6. การมีสวนรวมของบุคลากรในหนวยงาน 7. ประโยชนตอผูมีสวนไดสวนเสีย 8. มีการสรางองคความรู (KM) 9. ประเมินความสําเร็จของงาน 10. หนวยงานอื่นสามารถนําไปปฏิบัติได คะแนนรวม การใหคะแนน 0 คะแนน หมายถึง ไมมี 1-3 คะแนน หมายถึง ปรับปรุง 4-6 คะแนน หมายถึง พอใช 7-9 คะแนน หมายถึง ดี 10 คะแนน หมายถึง ดีมาก