SlideShare a Scribd company logo
การจัดการภาครัฐสมัยใหม:

บทพิสูจนเชิงประจักษถึงความสามารถขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

วีระศักดิ์ เครือเทพ
ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร
คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

บทคัดยอ
แนวคิดการจัดการภาครัฐสมัยใหม (New Public Management หรือ NPM) ไดรับความสนใจเปนอยางมาก
ในปจจุบันดวยเหตุผลที่วาการปรับเปลี่ยนวิธีการบริหารงานภาครัฐตามแนวคิดดังกลาวจะชวยเพิ่มขีดความสามารถ
ในการปฏิบัติงานของหนวยงานภาครัฐ และชวยเพิ่มความสามารถในการตอบสนองตอความตองการของประชาชน
อยางไรก็ตาม แนวคิดดังกลาวถือเปนสิ่งใหมสําหรับการบริหารงานภาครัฐของไทย หลายฝายจึงเกิดขอสงสัยวา
แนวคิดดังกลาวสามารถนําไปใชปฏิบัติไดจริงหรือไมและอยางไร บทความนี้จึงมีจุดประสงคที่จะประมวลผลสําเร็จ
ของการประยุกตใชแนวคิดการจัดการภาครัฐสมัยใหมในทางปฏิบัติ ทั้งนี้ ผูเขียนเลือกองคกรปกครองสวนทองถิ่น
(อปท.) เปนหนวยในการศึกษา
จากการศึกษาพบวา การประยุกตใชแนวคิดดังกลาวในการบริหารงานทองถิ่นมีในหลายลักษณะ เริ่มตน
ตั้งแต การสงเสริมใหประชาชนเปนผูกําหนดนโยบายการจัดบริการสาธารณะโดยตรง เพื่อใหการดําเนินกิจกรรมของ
อปท. สอดคลองกับความตองการของชุมชนอยางแทจริง ในดานการจัดเก็บรายได อปท. ไดพัฒนาวิธีการในการ
ประมาณการรายไดในระยะปานกลาง พัฒนาประสิทธิภาพในการจัดเก็บภาษีทองถิ่น และพัฒนาทางเลือกแผนงานใน
การจัดบริการสาธารณะที่เชื่อมโยงกับการจัดเก็บภาษี (Taxes-Budget Guide) ทั้งนี้ เพื่อใหประชาชนตัดสินใจเลือก
ชุดของการจัดบริการสาธารณะที่คุมคามากที่สุด (Value for money) สวนในดานการบริหารรายจายสาธารณะ พบวา
อปท. ที่ศึกษาไดประยุกตใชวิธีการจัดการภาครัฐสมัยใหมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการดําเนินงาน
เชน การจางเหมาภาคเอกชนเขาดําเนินการ (Contract-out) การใหชุมชนเขามีสวนรวมในการดําเนินการ เปนตน
และในดานการวัดผลการปฏิบัติงาน (Performance measurement) อปท.ที่ศึกษาไดมีการพัฒนาระบบวัดผลการ
ปฏิบัติงานเพื่อเพิ่มมาตรฐานในการใหบริการประชาชน และมีระบบตรวจสอบติดตามผลการดําเนินงานเปนอยางดี
ผลการศึกษาชี้ใหเห็นวาแนวคิดการจัดการภาครัฐสมัยใหมสามารถนําไปประยุกตใชไดจริง และชวยเพิ่ม
ขีดความสามารถในการปฏิบัติงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่นใหสูงขึ้นได สาเหตุสําคัญของผลสําเร็จดังกลาวมี
หลายประการ ไดแก ปจจัยดานภูมิหลังของผูนํา ปจจัยดานขอจํากัดทางการคลัง และปจจัยดานการมีสวนรวมของ
ประชาชน บทเรียนเหลานี้เปนสิ่งที่ควรสนับสนุนใหเกิดการเรียนรูและการนําไปประยุกตใชกับหนวยงานของรัฐ
แหงอื่นในวงกวาง อยางไรก็ตาม เนื่องดวยกรณีศึกษาที่ใชมีจํานวนจํากัด จึงควรมีการศึกษาในเชิงลึกเพื่อการพัฒนา
องคความรูดานการจัดการภาครัฐสมัยใหมที่เหมาะสมกับการบริหารงานภาคสาธารณะทั้งในระดับรัฐบาลกลางและ
รัฐบาลทองถิ่นตอไป

คําสําคัญ : การจัดการภาครัฐสมัยใหม, รัฐประศาสนศาสตร, การบริหารงานทองถิ่น, การบริหารงานคลังทองถิ่น,
การกําหนดนโยบายสาธารณะ, การตรวจสอบผลการปฏิบัติงาน, การมีสวนรวมของประชาชน

หนา 0
การจัดการภาครัฐสมัยใหม

วีระศักดิ์ เครือเทพ

ความเบื้องตน

ปจจุบัน องคความรูทางรัฐประศาสนศาสตรมีโฉมหนาเปลี่ยนแปลงไปอยางมาก สิ่งที่เคยศึกษากันใน
เรื่องของการจัดองคการ ระบบการบริหารราชการ และการงบประมาณภาครัฐแบบดั้งเดิม อาจไมเพียงพอตอ
การจัดระบบการบริหารงานภาครัฐใหสามารถตอบสนองตอความตองการของประชาชนที่มีลักษณะเปน
“พลวัต” มากขึ้นอีกตอไป ความเขาใจถึงองคความรูใหมๆ ที่จะชวยเพิ่มศักยภาพของระบบการบริหารภาครัฐ
ในการตอบสนองตอผลประโยชนสาธารณะจึงมีความจําเปนอยางยิ่ง
ความเปนพลวัตเชนนี้เกิดขึ้นในหลายลักษณะและตางมีผลกระทบตอกันและกัน และยอมสงผลตอ
การจัดรูปแบบและวิธีการบริหารงานภาครัฐ ดวยเชนกัน ความตื่นตัวทางการเมือง การเปลี่ยนแปลงเชิง
โครงสรางประชากรและสังคม การพัฒนาทางเศรษฐกิจและการประกอบอาชีพ ความตองการดานการศึกษา
และการสาธารณสุข และรวมถึงความกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ลวนสงผลตอความคาดหวัง
ของประชาชนที่มีตอการจัดบริการสาธารณะจากรัฐเพิ่มมากขึ้น การจัดระบบการบริหารภาครัฐในปจจุบันจึง
ตองเขาใจถึงความเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และเทคโนโลยีตางๆ เหลานี้อยางเชื่อมโยงกัน
และสามารถพัฒนาไปสูกรอบแนวคิดในการออกแบบวิธีการบริหารงานภาครัฐที่มุงไปสู “การบริหารงานเพื่อ
ประโยชนสาธารณะ (Public Affairs)” ไดอยางแทจริง
แนวคิดการจัดการภาครัฐสมัยใหม (New Public Management หรือ NPM) เปนแนวคิดที่ไดรับ
ความสนใจจากนักวิชาการดานรัฐประศาสนศาสตรและจากผูบริหารในหนวยงานภาครัฐเปนอยางมากในชวง
สองทศวรรษที่ผานมา ทั้งนี้ ดวยเหตุผลวาการปรับเปลี่ยนวิธีการบริหารงานภาครัฐตามแนวคิดดังกลาวจะ
ช ว ยเพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการปฏิ บั ติ ง านของภาครั ฐ ที่ ส อดคล อ งกั บ พั ฒ นาการทางเศรษฐกิ จ สั ง คม
การเมือง และเทคโนโลยี ซึ่งในที่สุดจะชวยเพิ่มความสามารถใหแกรัฐในการตอบสนองตอความตองการของ
ประชาชนไดเพิ่มมากขึ้น1
อยางไรก็ตาม แนวคิดดังกลาวถือเปนสิ่งใหมในระบบการบริหารภาครัฐของไทย หลายคนจึงสงสัยวา
แนวคิดการจัดการภาครัฐสมัยใหมจะสามารถนําไปใชไดจริงหรือไมเพียงใด และนําไปประยุกตใชใหเกิดผล
สําเร็จเปนรูปธรรมไดอยางไร บทความนี้จึงมีจุดประสงคที่จะประมวลผลสําเร็จของการประยุกตใชแนวคิดการ
จั ด การภาครั ฐ สมั ย ใหม ใ นทางปฏิ บั ติ ทั้ ง นี้ ผู เ ขี ย นได เ ลื อ กใช อ งค ก รปกครองส ว นท อ งถิ่ น เป น หน ว ยใน
การศึกษา2 โดยเนื้อหาในบทความจะเริ่มตนจากการนําเสนอแนวคิดเรื่องการจัดการภาครัฐสมัยใหม จากนั้น
จะอธิบายถึงการประยุกตใชแนวคิดการจัดการภาครัฐสมัยใหมในการบริหารจัดการขององคกรปกครองสวน
ทองถิ่นในดานตางๆ ไดแก การกําหนดนโยบายสาธารณะในระดับชุมชน การพัฒนาวิธีการจัดเก็บรายได
การบริหารรายจายสาธารณะ และการตรวจสอบผลการปฏิบัติงาน จากนั้นจะนําเสนอถึงบทสังเคราะหแนวคิด
ทางวิชาการและขอเสนอแนะเชิงนโยบายตามลําดับตอไป
1

รายละเอียดอานไดจาก เชน Jonathan Boston, et. Al. (1996) หรือ Laurence E. Lynn, Jr.(1996) เปนตน
บทความนี้เขียนจากงานวิจัยชื่อ “โครงการวิถีใหมขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในประเทศไทย” โดยมี รศ.ดร.จรัส สุวรรณมาลา คณะรัฐศาสตร
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เปนหัวหนาโครงการ โดยไดรับเงินทุนวิจัยจากสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ปจจุบัน ผูเขียนเปนนักวิจัยและ
เลขานุการของโครงการดังกลาว และมีนักวิจัยที่รวมศึกษาในครั้งนี้ดังนี้ ดร.จันทนา สุทธิจารี มหาวิทยาลัยเชียงใหม, ศ.ดร.ดิเรก ปทมสิริวัฒน
มหาวิท ยาลั ย นเรศวร, ผศ.ทศพล สมพงษ สถาบัน ราชภั ฏสกลนคร, ผศ.วี ร ะศั ก ดิ์ จารุชั ย นิวั ฒ น มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก น , ดร.สุ ช าดา ทวี สิ ท ธิ์
มหาวิ ท ยาลั ยอุ บลราชธานี , ดร.ทิ พวั ลย ศรี จั น ทร มหาวิ ทยาลั ย เกษตรศาสตร วิท ยาเขตกํ าแพงแสน, คุ ณ ยาใจ ศรี วิโ รจน กรมพั ฒ นาชุ มชน,
ผศ.ดร.สัมฤทธิ์ ยศสมศักดิ์ มหาวิทยาลัยบูรพา, ผศ.สมศักดิ์ ชอบตรง สถาบันราชภัฎสุราษฎรธานี, ผศ.ภาณุ ธรรมสุวรรณ มหาวิทยาลัยทักษิณ, และ
ผศ.ดร.กมล สงวัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

2

หนา 1
การจัดการภาครัฐสมัยใหม

วีระศักดิ์ เครือเทพ

การจัดการภาครัฐสมัยใหม (New Public Management: NPM)

แนวคิดการจัดการภาครัฐสมัยใหมเริ่มตนขึ้นจากความพยายามในการอธิบายปรากฏการณทางการ
บริหารงานภาครัฐที่เกิดขึ้นราวทศวรรษที่ 1980 ในประเทศกลุมเวสมินสเตอร (Westminster) ซึ่งไดแก
อังกฤษ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด และแคนาดา ประเทศเหลานี้ไดดําเนินการปฏิรูประบบการบริหารงานภาครัฐ
กาวหนาไปอยางมาก ดวยจุดประสงคที่ตองการสรางขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ กลไกการ
บริหารงานภาครัฐจึงตองมีสมรรถนะในการจัดการที่สูงเพียงพอสําหรับรองรับการขับเคลื่อนประเทศใหกาวไป
ในจังหวะและในทิศทางที่พึงประสงค
การจัดการภาครัฐสมัยใหมมีฐานแนวคิดจากการสงเสริมใหใชกลไกตลาด (Market mechanism) และ
วิธีการบริหารอยางมืออาชีพ (Managerialism)3 ในการดําเนินภารกิจของรัฐในดานตางๆ สาระสําคัญของ
แนวคิดการจัดการภาครัฐสมัยใหมสามารถสรุปไดดังนี้4
ใหความสําคัญกับการบริหารอยางมืออาชีพ (Professional management) กลาวคือเนนความเปน
อิสระของผูบริหารหนวยงานภาครัฐในการใชดุลยพินิจตัดสินใจในการบริหารงาน เพื่อใหเกิดความ
คลองตัวในการปฏิบัติงานที่สามารถนําไปสูการบรรลุผลสําเร็จที่พึงประสงค
เนนการกําหนดวัตถุประสงคของการปฏิบัติราชการที่ชัดเจน (Clear objectives) พรอมทั้งกําหนด
ตัวชี้วัดผลสําเร็จในการปฏิบัติงานอยางเปนรูปธรรม ทั้งนี้เพื่อใหการปฏิบัติภารกิจของรัฐสามารถ
นําไปสูผลสําเร็จที่ตองการ (Accountable for results) มากกวาการใหความสําคัญกับระเบียบปฏิบัติ
ราชการหรือแบบแผนและขั้นตอนตางๆ เปนหลัก
เชื่อมโยงผลสําเร็จของการปฏิบัติงานเขากับการจัดสรรทรัพยากรของภาครัฐ และสงเสริมใหมีระบบ
การใหรางวัลตอบแทนที่ผลสําเร็จในการปฏิบัติราชการ เพื่อใหผูบริหารและผูปฏิบัติเกิดแรงจูงใจใน
การปฏิบัติงานที่มุงสูผลสําเร็จขององคการอยางสูงสุด
ปรับปรุงโครงสรางองคการและระบบการทํางานใหมีขนาดเล็กกะทัดรัด มีความคลองตัว และสามารถ
ปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ทั้งนี้อาจใชการดําเนินการจางเหมาโดย
ภาคเอกชน (Contract-out) หรืออาจใหดําเนินการโดยประชาชนได
สงเสริมใหมีระบบแขงขันในการจัดบริการสาธารณะ (Contestability) โดยองคกรรัฐหรือองคกรอื่น
อันจะนําไปสูการปรับปรุงประสิทธิภาพและคุณภาพในการจัดบริการสาธารณะ
ปรับเปลี่ยนวิธีการบริหารใหมีความทันสมัย และสงเสริมการใชเทคโนโลยีและเทคนิควิธีการบริหาร
จัดการในภาคเอกชนมาใชกับการบริหารงานภาครัฐ (Business-like management)
สงเสริมวินัยทางการเงินการคลัง เนนการใชจายที่ประหยัดและกอใหเกิดความคุมคาของการใช
ทรัพยากรภาครัฐที่มีอยางจํากัดใหเกิดประโยชนตอสาธารณะอยางสูงสุด (Value for money)
นอกจากนี้ นักวิชาการบางทานเห็นวาขอบขายของแนวคิดการจัดการภาครัฐสมัยใหมยังรวมความ
ถึงการจัดความสัมพันธระหวางรัฐกับประชาชน การบริหารงานอยางโปรงใส และการสงเสริมการมีสวนรวม
3

ทศพร ศิริสัมพันธ, “การพัฒนาระบบราชการไทย”, ใน วีระศักดิ์เครือเทพ (บรรณาธิการ), รัฐประศาสนศาสตร: ขอบขายและการประยุกตใช
องคความรู, กรุงเทพฯ: โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, มีนาคม 2547, หนา 58-59.
4
Christopher Hood. “A Public Management for All Seasons?” Public Administration. 69. 1991. หนา 3-19.

หนา 2
การจัดการภาครัฐสมัยใหม

วีระศักดิ์ เครือเทพ

ของประชาชนตามกระแสประชาธิปไตยในแนวทางใหมดวยเชนกัน5 ซึ่งการนิยามแนวคิดการจัดการภาครัฐ
สมัยใหมตามแนวทางดังกลาวนี้ยอมทําใหแนวคิดนี้มีขอบขายอยางกวางและมีความหมายครอบคลุมประเด็น
ตางๆ ที่เกี่ยวกับการบริหารบานเมืองโดยรวม
อยางไรก็ตาม นักวิชาการบางทานกลับโจมตีวาแนวคิดการจัดการภาครัฐสมัยใหมนั้นขาดกรอบ
แนวคิดที่ชัดเจน และขาดเอกลักษณขององคความรู นอกจากนี้ การนําปรัชญาพื้นฐานของการจัดการแบบ
ภาคเอกชนและกลไกตลาดมาใชในการบริหารงานภาครัฐอาจทําใหคุณคาเรื่องความเปนธรรมทางสังคม
(Social Equity) ผลประโยชนสาธารณะ (Public Interest) ถูกละเลยไป6 แตกระนั้นก็ตาม นักวิชาการจํานวน
มากต า งยอมรั บ ว า แนวคิ ด การจั ด การภาครั ฐ สมั ย ใหม ไ ด มี ส ว นช ว ยในการปรั บ มโนทั ศ น ข อง
รัฐประศาสนศาสตรแบบดั้งเดิมไปสูรัฐประศาสนศาสตรในความหมายที่มีความเปนพลวัตมากขึ้น อันจะชวย
ใหการปฏิบัติภารกิจของรัฐสรางคุณคาใหแกสังคมไดอยางเหมาะสมเพิ่มขึ้นเชนกัน7
ดังนั้น เมื่อกลาวมาถึงจุดนี้ ขอบขายของแนวคิดการจัดการภาครัฐสมัยใหมที่ไดนําเสนอไวขางตน
สามารถพัฒนาเปนกรอบแนวคิดสําหรับการนําเสนอเนื้อหาในสวนถัดไปอยางเปนระบบดังดังตอไปนี้
การบริหารงานทองถิ่น
ฐานแนวคิดของ NPM
การใชกลไกตลาด
การบริหารอยางมืออาชีพ
การมีสวนรวมของประชาชน

คุณคาพื้นฐาน
ประสิทธิภาพ
ความคุมคาของเงิน
ประสิทธิผล
คุณภาพ
พรอมที่จะตรวจสอบได
โปรงใส

ตอบสนองความตองการ

การกําหนดนโยบาย
สาธารณะ
การบริหารการจัดเก็บรายได
การบริหารรายจายสาธารณะ
การตรวจสอบผล
การปฏิบัติงาน

ฐานแนวคิดของการจัดการภาครัฐสมัยใหม คุณคาพื้นฐาน และการประยุกตใชในทางปฏิบัติ

กรอบแนวคิดขางตนเปนการแสดงถึงความเชื่อมโยงระหวางคุณคาพื้นฐาน (Values) ของแนวคิดการ
จัดการภาครัฐสมัยใหมกับการประยุกตใชในทางปฏิบัติ คุณคาพื้นฐานของการบริหารงานภาครัฐสมัยใหมมี
พัฒนาการมาจากการประยุกตใชรูปแบบกลไกตลาด วิธีการบริหารอยางมืออาชีพ และการสงเสริมการมีสวน
รวมของประชาชนในการดําเนินภารกิจของรัฐ ทั้งนี้ คุณคาพื้นฐานเหลานี้จะไดรับการตอบสนองผานโดยการ
ประยุกตใชแนวคิดการจัดการภาครัฐสมัยใหมในการบริหารงานทองถิ่นใน 4 ดานหลัก ไดแก การกําหนด
นโยบายสาธารณะ โดยเนนถึงการกําหนดนโยบายในการบริหารที่มุงตอบสนองความตองการของชุมชน
อยางสูงสุด และเปนนโยบายที่มีความเปนไปไดในการดําเนินการ ในดานการบริหารการจัดเก็บรายได
5

ตัวอยางเชน Gernod Gruening. “Origin and Theoretical Basis of New Public Management.” International Public Administration
Journal. 4 No.1 2001. หนา 1-26.
6
D.G. Mathiasen. “The New Public Management and Its Critics.“ International Public Administration Journal. 2 No.1 1999. หนา 90-111.
7
Owen Huges. Public Management and Administration. London: Macmillan. 1998. บทที่ 1.

หนา 3
การจัดการภาครัฐสมัยใหม

วีระศักดิ์ เครือเทพ

มุงเนนการระดมทรัพยากรเพื่อการใชจายในดานตางๆ อยางโปรงใส มีการจัดเก็บภาษีอากรที่กอใหเกิด
ประโยชนอยางคุมคาแกผูเสียภาษี สวนในดานการบริหารรายจายสาธารณะ ควรดําเนินโครงการตางๆ
โดยคํานึง ถึงความมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล สามารถผลิตผลงานไดอยางมี คุณภาพตรงตามความ
ตองการของประชาชน และมีการบริหารงานที่โปรงใส สามารถเปดเผยใหสาธารณชนไดรับทราบอยางชัดเจน
และในองคประกอบสุดท าย การตรวจสอบผลการปฏิ บัติง าน ควรมีการตรวจสอบและติ ดตามผลการ
ปฏิบัติงานอยางจริงจังเพื่อใหสามารถอธิบายแกประชาชนผูเสียภาษีไดวากิจกรรมตางๆ ที่ไดดําเนินการนั้น
กอใหเกิดผลลัพธหรือผลสําเร็จประการใด ตอบสนองตอความตองการของประชาชนอยางแทจริงหรือไม ซึ่ง
กระบวนการดังกลาวนี้จะชวยสรางความโปรงใสและความชัดเจนในการดําเนินการได
คุณคาพื้นฐานของแนวคิดการจัดภาครัฐสมัยใหมตามกรอบแนวคิดขางตนถือเปนหัวใจสําคัญของ
การบริหารงานภาครัฐในยุคปจจุบันที่ผูบริหารองคกรภาครัฐไมเพียงแตไมควรจะละเลย หากแตควรพิจารณา
ว า จะนํ า ไปปรั บ ปรุ ง วิ ธี ก ารบริ ห ารจั ด การในหน ว ยงานของตนให เ กิ ด ผลสั ม ฤทธิ์ ไ ด ห รื อ ไม แ ละอย า งไร
อีก ประการหนึ่ ง ด วย ทั้ ง นี้ ตั ว อย า งผลสํ า เร็จ ของการประยุ กต ใ ช ห ลั ก การจั ด การภาครัฐ สมั ย ใหม ใ นการ
บริหารงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่นจะนําเสนอในสวนตอไปตามลําดับ
การกําหนดนโยบายสาธารณะ

หากเริ่มตนพิจารณาวาความตองการในสินคาและบริการสาธารณะของประชาชนเปนจุดกําเนิดของ
บทบาทภาครัฐในสังคม บทบาทของรัฐดังกลาวยอมเปนกรอบแนวทางในการกําหนดนโยบายสาธารณะที่จะ
นําไปสูการจัดสินคาและบริการตามที่ประชาชนตองการ หากรัฐเลือกที่จะกําหนดนโยบายสาธารณะที่มุง
ตอบสนองตอความตองการของประชาชนเปนหลัก และเลือกที่จะไมกําหนดนโยบายที่สังคมไมตองการ การ
กําหนดนโยบายสาธารณะในลักษณะดังกลาวยอมเปนสิ่งที่พึงประสงคของสังคม8
อยางไรก็ตาม เราจะทราบไดอยางไรวาประชาชนตองการสิ่งใด? ปรากฏการณในกระบวนการ
กํ า หนดนโยบายสาธารณะที่ เ กิ ด ขึ้ น อยู บ อ ยครั้ ง พบว า นโยบายสาธารณะจํ า นวนมากที่ ถู ก กํ า หนดขึ้ น
มีวัตถุประสงคเพื่อตอบสนองตอความตองการของหนวยงานภาครัฐและกอใหเกิดการปฏิบัติภารกิจตางๆ ที่
เคลื่อนไปจากเปาหมายที่ควรจะเปน9 นอกจากนี้ การกําหนดนโยบายสาธารณะอาจมิไดเปนไปเพื่อตอบสนอง
ตอผลประโยชนของประชาชน หากแตเปนไปเพื่อตอบสนองผลประโยชนสวนตนของนักการเมืองหรือของ
ขาราชการในระบบราชการเปนสําคัญ10 สิ่งที่เกิดขึ้นเหลานี้ลวนสงผลใหนโยบายสาธารณะที่ถูกกําหนดขึ้นตาง
ขาดความสามารถในการตอบสนองตอปญหาและความตองการของสังคม และดวยเหตุผลดังกลาว การพัฒนา
กลไกการบริหารงานภาครัฐในแนวทางใหมที่ชวยเพิ่มขีดความสามารถในการตอบสนองตอความตองการ
สาธารณะจึงเปนสิ่งจําเปนสําหรับการบริหารงานในยุคปจจุบัน
8

ผูเขียนใหความหมายคําวา “นโยบายสาธารณะ” ตามคํานิยามของ James Anderson วาหมายถึง “แนวทางปฏิบัติที่รัฐบาลกําหนดขึ้นเพื่อ
ตอบสนองตอการแกไขปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้นในสังคม” รายละเอียดอานไดจาก James E. Anderson. Public Policy Making. New York:
Winstone & Rinehart. 1975. หนา 3.
9
ปรากฏการณดังกลาวเรียกไดวาระบบราชการมีเปาหมายเคลื่อนไปจากที่ควรจะเปน (Goal Displacement) รายละเอียดอานเพิ่มเติมไดจาก Robert
K. Merton. ฺ”Bureaucratic Structure and Personality.” Classics of Public Administration. edited by J.M. Shafritz and A.C. Hyde. New
York: Harcourt Brace College Publishers. 1997. หนา 100-107.
10
นักวิชาการในสํานักทางเลือกสาธารณะ (Public Choice Theory) มักจะอธิบายพฤติกรรมของนักการเมืองที่มุงตอบสนองตอความตองการสวนตน
(Self-interest) วาเปนการแสวงหาคะแนนนิยมสูงสุดทางการเมือง (Vote Maximization) และขาราชการที่มุงตอบสนองตอความตองการสวนตนใน
ลักษณะของการมุงขยายขนาดของหนวยงานและงบประมาณ (Budget Maximization) รายละเอียดอานเพิ่มเติมไดจาก ตัวอยางเชน Buchanan
(1999), Niskanen (1971), และ Downs (1957).

หนา 4
การจัดการภาครัฐสมัยใหม

วีระศักดิ์ เครือเทพ

เทศบาลนครขอนแกน จังหวัดขอนแกน เปนองคกรหนึ่งที่เคยประสบกับปญหาในการกําหนด
นโยบายที่ตอบสนองตอความตองการของประชาชน ขอนแกนเปนเมืองที่มีการขยายตัวอยางมาก มีประชากร
ราว 130,000 คน ในชวงป พ.ศ. 2542 ถึง 2546 เทศบาลนครขอนแกนมีงบประมาณรายจายเฉลี่ยประมาณ
330 – 380 ลานบาทตอป การดําเนินโครงการพัฒนาเมืองในดานตางๆ ยอมกอใหเกิดผลกระทบตอชาวเมือง
ขอนแกนไมมากก็นอย คณะผูบริหารไดเล็งเห็นวาการดําเนินการพัฒนาเมืองในดานใดก็ตาม ควรจะปรึกษา
กับประชาชนผูเปนเจาของเมืองกอน เพื่อปองกันมิใหการดําเนินโครงการกลายเปนสาเหตุที่นําไปสูความ
ขัดแยงระหวางเทศบาลกับชุมชน การเกิดขึ้นของ “สภาเมืองขอนแกน (Town Hall Meeting)” ในราวป พ.ศ.
2541 จึงถือเปนจุดเริ่มตนของกระบวนการกําหนดนโยบายสาธารณะตามแนวคิดการจัดการภาครัฐสมัยใหม
ที่ใหความสําคัญกับความตองการของประชาชนเปนสําคัญ
สภาเมืองขอนแกนมีที่มาเริ่มตนจากการจัดประชุมทําแผนพัฒนาเมืองแบบมีสวนรวมของเทศบาล
นครขอนแกนในป พ.ศ. 2540 โดยไดรับความชวยเหลือจากสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแกน
คณะกรรมการประสานงานองค การพั ฒนาเอกชนภาคอีส าน และรัฐ บาลประเทศเดนมาร ก ในช ว งเวลา
ดังกลาว คณะผูบริหารไดจัดใหมีการประชุมภาคสวนตางๆ (Focus Group) เพื่อรับฟงความเห็นและ
ขอเสนอแนะจากองคกรภาคประชาชนในพื้นที่ที่มีตอโครงการพัฒนาของเทศบาล เมื่อการประชุมในลักษณะ
ดังกลาวไดรับความสนใจจากชาวเมืองขอนแกนเปนอยางมาก ในป พ.ศ. 2541 คณะผูบริหารของเทศบาลจึง
ไดสานตอแนวคิดในการจัดเวทีรับฟงขอมูล ความคิดเห็น และขอเสนอแนะจากประชาชนชาวเมืองขอนแกนที่
มีตอการบริหารงานและการดําเนินโครงการตางๆ ของเทศบาล และในที่สุดไดพัฒนามาเปนการจัดประชุม
สภาเมืองที่สืบเนื่องมาจนถึงปจจุบัน
โดยทั่วไป เทศบาลจะจัดการประชุมสภาเมืองขอนแกนประมาณ 3 เดือนตอครั้ง วัตถุประสงคหลัก
ของการประชุมคือการนําประเด็นปญหาและนโยบายตางๆ ของเทศบาลมาปรึกษากับประชาชนซึ่งเปน
ตัวแทนองคกรชุมชนในพื้นที่จํานวนมากกวา 140 แหง เชน การปรับปรุงพื้นที่บริเวณประตูเมืองและ
ศาลหลักเมือง การปรับปรุงภูมิทัศนของสวนสาธารณะ ฯลฯ เปนตน ลักษณะการประชุมจะดําเนินการโดย
คณะผูบริหารของเทศบาล ประเด็นวาระตางๆ จะถูกกําหนดขึ้นลวงหนาและแจงใหแกองคกรชุมชนรับทราบ
กอนการเขาประชุม และในการประชุมมักจะเริ่มตนวาระดวยการนําเสนอประเด็นปญหาและความจําเปนใน
การดํ าเนิ น โครงการปรับ ปรุ งพั ฒ นา จากนั้น จะมีก ารนํา เสนอผลการศึ ก ษาเบื้ อ งต น โดยนั กวิ ช าการหรื อ
คณะทํางานที่รับผิดชอบ และตามดวยการเปดเวทีใหมีการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นจนถึงการหา
ขอสรุปรวมกันของสภาเมือง ทั้งนี้การประชุมแตละครั้งใชเวลาประมาณ 4-5 ชั่วโมง ตอจากนั้น เมื่อไดมติจาก
การประชุมสภาเมืองแลว คณะผูบริหารเทศบาลก็จะนํามติดังกลาวเขาสูที่ประชุมสภาเทศบาลและคณะทํางาน
ที่เกี่ยวของเพื่อกําหนดแนวนโยบายการดําเนินงานที่เหมาะสมตอไป
องคการบริหารสวนตําบลสวนหมอน จังหวัดขอนแกน เปนอีกองคกรหนึ่งที่ไดใหความสําคัญ
กับการมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการกําหนดนโยบายสาธารณะ ยอนกลับไปเมื่อป พ.ศ.2540
อบต.สวนหมอน ซึ่งมีประชากรราว 7,800 คน ประสบกับปญหาความขัดแยงในการจัดสรรงบประมาณสําหรับ
โครงการพัฒนาใหแกหมูบานตางๆ ทั้ง 14 หมูบาน11 ทําใหการใชจายงบประมาณเปนไปอยางกระจัดกระจาย
นอกจากนี้ ประชาชนยังขาดความเชื่อมั่นในการบริหารงานของ อบต. ทั้งในเรื่องของการเลนพรรคเลนพวกใน
การจางเหมาประมูลงาน ความโปรงใสในการอนุมัติโครงการ เปนตน สิ่งเหลานี้ลวนสงผลใหการดําเนินงาน
ของ อบต.สวนหมอนขาดทิศทางและนโยบายที่ชัดเจนในการตอบสนองความตองการของประชาชน และยอม
สงผลใหการใชจายเงินงบประมาณเปนไปอยางไมคุมคาเทาที่ควร
11

ในทางการคลังสาธารณะเรียกวาเปน การจัดสรรงบประมาณแบบแยงกันไปแยงกันมา (Pork-barrel Budget Allocation)

หนา 5
การจัดการภาครัฐสมัยใหม

วีระศักดิ์ เครือเทพ

ในป พ.ศ. 2543 กรมการปกครองไดกําหนดให อบต. ใชกลไกการมีสวนรวมของประชาชนในการ
จัดทําแผนพัฒนาตําบล อบต. สวนหมอนจึงไดเริ่มกระบวนการ “ประชาคม (Civic Forums)” ในการวางแผน
พัฒนาตําบลและการจัดสรรงบประมาณ ทั้งนี้ กระบวนการประชาคมของ อบต. สวนหมอนมีขั้นตอนหลัก 3
ขั้นตอน ไดแก การจัดประชาคมหมูบาน การจัดประชาคมตําบล และการจัดประชุมสภาองคการบริหารสวน
ตําบล โดยที่ผลสรุปจากการทําประชาคมจากหมูบานตางๆ จะเปนขอมูลเขาสูการพิจารณาของประชาคม
ตําบล และผลสรุปจากการทําประชาคมตําบลจะเปนขอมูลเขาสูการประชุมสภา อบต.
“ประชาคมหมูบาน” จะจัดขึ้นราวเดือนมีนาคม-เมษายนในแตละป และใชเวลาประชุมหมูบานละ 1
วัน ประชาคมหมูบานเปนเวทีสําหรับการระดมปญหาที่เกิดขึ้นในแตละหมูบาน มีการอภิปรายและจัดลําดับ
ความรุนแรงของปญหา และที่ประชุมจะรวมกันประมวลปญหาตางๆ เปนขอเสนอแนะเชิงนโยบายที่ตองการ
ให อบต. ดําเนินการแกไข โดยทั่วไป การจัดเวทีประชาคมหมูบานมีประชาชนเขารวมประชุมจํานวนประมาณ
30-100 คน ซึ่งประกอบไปดวยผูใหญบาน ผูนําชุมชน สมาชิกสภา อบต. ผูนํากลุมอาชีพ ครูหรือขาราชการที่
มีภูมิลําเนาในหมูบาน และชาวบานที่สนใจ และเมื่อเวทีประชาคมหมูบานไดขอสรุปถึงปญหาความตองการ
และความเรงดวนในการดําเนินการ ก็จะนําขอสรุปดังกลาวกรอกลงในแบบฟอรม ผอ.1 และแบบฟอรม ผอ.2
และสงใหแก อบต. เพื่อสําหรับใชเปนขอมูลในการประชุมประชาคมตําบลตอไป ทั่งนี้ ขอเสนอของแตละ
หมูบานจะถูกนําไปติดประกาศอยางเปดเผยใหแกประชาชนในทุกหมูบานไดรับทราบโดยทั่วกัน
“ประชาคมตําบล” จะจัดขึ้นในราวเดือนพฤษภาคม-มิถุนายนของทุกป โดยจะใชเวลาในการประชุม
จํานวน 2 วัน ผูที่เขารวมประชุมประกอบไปดวยตัวแทนประชาคมหมูบานทุกหมูบาน ไดแก ผูใหญบาน
สมาชิกสภา อบต. และตัวแทนหมูบานที่คัดเลือกมาหมูบานละ 4 คน พรอมกับคณะผูบริหารและพนักงาน
อบต. การประชุมประชาคมตําบลนี้จะพิจารณาถึงปญหาและความตองการของหมูบานตางๆ ทั้ง 14 หมูบาน
และพยายามจัดลําดับความสําคัญเรงดวนของปญหาที่ไดรับการเสนอทั้งหมดโดยการมองถึงภาพรวมของ
ตําบล และเมื่อไดขอสรุปในระดับประชาคมตําบล ก็จะนําขอมูลความตองการ และความเรงดวนของปญหา
กรอกลงในแบบฟอรม ผอ.3 และ ผอ.4 ตามลําดับ จากนั้น อบต. จะนําเสนอผลสรุปจากการประชุมประชาคม
ตําบลแจงใหประชาชนทั่วไปในตําบลไดรับทราบ และเปดใหมีเวทีรับฟงความคิดเห็นอีกครั้งหนึ่งกอนที่จะนํา
ขอสรุปดังกลาวเขาสูการพิจารณาของที่ประชุมสภา อบต.
“ที่ประชุมสภาองคการบริหารสวนตําบล” จะนําขอสรุปจากการทําประชาคมตําบลเขาสูการพิจารณา
เพื่อจัดทําแผนพัฒนาตําบลระยะ 5 ป และแผนพัฒนาตําบลประจําปตามแตกรณี ทั้งนี้การพิจารณาของสภา
อบต. จะใหความเคารพแกมติของการทําประชาคมและจะอนุมัติแผนงานและงบประมาณตามขอเสนอที่ผาน
การพิจารณาจากประชาคมตําบล จากนั้นจึงจะประกาศใชเปนขอบัญญัติงบประมาณ อบต. และแจงใหแก
ประชาชนในตําบลรับทราบตอไป และนอกจากการทําประชาคมเพื่อการกําหนดนโยบายและการจัดทํา
งบประมาณแลว อบต. สวนหมอน ไดสนับสนุนใหประชาคมมีสวนรวมในการบริหารโครงการ การจัดซื้อจัด
จาง และการตรวจสอบผลการดําเนินโครงการอีกดวย ทั้งนี้โดยการใหประชาคมคัดเลือกผูแทนประชาคมเขา
รวมเปนคณะกรรมการจัดซื้อจัดจาง คณะกรรมการเปดซองประมูล หรือคณะกรรมการตรวจรับงาน เปนตน
กรณี ศึ ก ษาทั้ ง สองเรื่ อ งข า งตน ชี้ ใ ห เ ห็น ถึ ง การปรั บ เปลี่ ยนกระบวนทั ศน ใ นการกํ า หนดนโยบาย
สาธารณะที่ใหความสําคัญกับความตองการของประชาชนโดยผานกระบวนการการมีสวนรวมที่มีการจัดการ
อยางระบบ การกําหนดนโยบายสาธารณะในแนวทางการจัดการภาครัฐสมัยใหมเชนนี้ยอมเปนหลักประกันที่
ดี ว า ภารกิ จ ที่ อ งค ก รปกครองส ว นท อ งถิ่ น เหล า นี้ ดํ า เนิ น การเป น สิ่ ง ที่ ป ระชาชนต อ งการอย า งแท จ ริ ง
(Responsiveness) และยอมนําไปสูการใชจายเงินงบประมาณสําหรับการดําเนินนโยบายที่มีความคุมคา
(Value for Money) และสามารถดําเนินภารกิจตางๆ ไดอยางมีประสิทธิผล (Effectiveness)

หนา 6
การจัดการภาครัฐสมัยใหม

วีระศักดิ์ เครือเทพ

การบริหารการจัดเก็บรายได

การจัดสินคาและบริการสาธารณะประเภทใดก็ตามจําเปนตองใชทรัพยากรในการดําเนินการทั้งสิ้น
ในกรณีของสินคาเอกชน ทรัพยากรจะไดมาจากการแลกเปลี่ยนซื้อขายกันในตลาดเอกชน ผูซื้อจะตัดสินใจ
เลือกซื้อสินคาบริการหรือปจจัยการผลิตโดยพิจารณาถึงราคาที่จะตองจายเมื่อเปรียบเทียบกับคุณคาที่จะ
ไดรับจากการซื้อสินคาบริการหรือปจจัยการผลิตดังกลาว หากพิจารณาแลวพบวาเกิดความคุมคาก็จะซื้อ
สินคาบริการหรือปจจัยการผลิตประเภทนั้น ในทางกลับกัน ผูขายจะขายสินคาบริการหรือปจจัยการผลิตโดย
เทียบกับคาตอบแทนที่จะไดรับ การซื้อขายสินคาบริการหรือปจจัยการผลิตในภาคเอกชนจึงมีลักษณะของ
การแลกเปลี่ยนโดยสมัครใจ (Voluntary Exchange)
ในทางตรงกันขาม สินคาหรือบริการที่จัดมอบโดยรัฐสวนใหญมีลักษณะของสินคาสาธารณะหรือ
สินคากึ่งสาธารณะ12 สินคาในลักษณะเชนนี้ไมสามารถแบงแยกซื้อขายตามความสมัครใจของประชาชนโดย
อาศัยกลไกตลาดดังเชนสินคาเอกชนได หากแตในความเปนจริง รัฐดําเนินการผลิตหรือสงมอบสินคาบริการ
เหลานี้โดยอาศัยการระดมทรัพยากรจากประชาชนในรูปของ “ภาษี” ทั้งนี้ ภาษีเหลานี้มีความแตกตางจาก
ราคาที่ใชในการซื้อขายสินคาภาคเอกชนเนื่องจากภาษีมีลักษณะของการบังคับจัดเก็บ (Compulsory) และ
ประโยชนที่ ประชาชนจะไดรับจากบริการสาธารณะไมจําเปน ตอ งเปนสั ดสวนเดียวกับจํ านวนเงิน ภาษี ที่
ประชาชนจายใหแกรัฐ13 ดังนั้น โดยทั่วไปแลว การจัดเก็บภาษีจึงมักจะกอใหเกิดความไมพอใจแกประชาชนผู
เสียภาษี ทั้งนี้ จากประสบการณในการจัดเก็บภาษีของนานาประเทศและของไทย การตอตานของประชาชน
ที่มีตอการจัดเก็บภาษี (Tax Revolts) เปนสิ่งที่เกิดไดบอยครั้ง14 และยอมสงผลใหรัฐไมสามารถระดม
ทรัพยากรในระดับที่เพียงพอตอการจัดบริการสาธารณะตามที่ตองการได ดวยเหตุดังกลาว สิ่งที่ทาทายนัก
บริหารงานภาครัฐในปจจุบันเปนอยางมากคือการสรางความเขาใจและการยอมรับของประชาชนวาการเสีย
ภาษีใหแกรัฐเปนสิ่งที่จําเปนที่นําไปสูการจัดสินคาหรือบริการสาธารณะตามที่ประชาชนตองการ
นอกจากนี้ ปญหาสําคัญในการบริหารจัดเก็บรายไดโดยเฉพาะในระดับองคกรปกครองสวนทองถิ่น
คือปญหาประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดําเนินการ สาเหตุประการสําคัญไดแกการขาดฐานขอมูลภาษี
อากรที่มีคุณภาพเพียงพอสําหรับใชในการบริหารจัดเก็บภาษี ซึ่งก็คือฐานขอมูลที่สามารถแสดงใหเห็นไดวา
ใครเปนผูที่เขาขายมีหนาที่ตองเสียภาษี ตองเสียภาษีประเภทใด มีภาระภาษีที่จะตองจายเปนจํานวนเทาใด
และเมื่อใด หากการบริหารการจัดเก็บรายไดปราศจากซึ่งฐานขอมูลดังกลาว ยอมไมสามารถนําไปสูการ
ตรวจสอบหรือติดตามผลการจัดเก็บภาษีไดแตอยางใด และยอมสงผลกระทบตอระดับทรัพยากรและขีด
ความสามารถในการจัดบริการสาธารณะของทองถิ่นอยางหลีกเลี่ยงมิได
ดวยเหตุผลทั้งสองประการขางตน การวางแผนจัดเก็บรายไดใหแกรัฐและการบริหารการจัดเก็บภาษี
จึ ง เป น สิ่ ง ที่ ค วรดํ า เนิ น การอย า งยิ่ ง ในระยะสั้ น รั ฐ จะต อ งคํ านึ ง ถึ ง ระดั บ การจั ด เก็ บ ภาษี ที่ ส อดคล อ งกั บ
ความสามารถในการแบกรับภาษีของประชาชน และสอดคลองกับระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคม
ประกอบกับมีการพัฒนาฐานขอมูลเพื่อการบริหารและการจัดเก็บภาษีที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และใน
ระยะยาว รัฐจะตองดําเนินภารกิจที่กอใหเกิดประโยชนคุมคาแกประชาชนที่จายภาษีใหแกรัฐ และรัฐจะตอง
สรางความรูความเขาใจและสรางการยอมรับของประชาชนที่มีตอการเสียภาษีอากรที่สอดคลองกับความ
12

สินคาสาธารณะหมายถึง สินคาที่ไมสามารถแบงแยกหนวยของการบริโภค (Nonexcludable) และไมเปนการบริโภคที่ทําใหอรรถประโยชนของ
ผูอื่นลดลง (Nonrival consumption) รายละเอียดอานเพิ่มเติมไดจาก Harvey S. Rosen. Public Finance. New York: McGraw-Hill. 2002. บทที่ 4.
13
รังสรรค ธนะพรพันธุ. ทฤษฎีการภาษีอากร. พระนคร: สํานักพิมพเคล็ดไทย. 2516 หนา 7-8.
14
ตัวอยางประสบการณของการตอตานการจัดเก็บภาษีทั้งในตางประเทศและในประเทศไทย อานไดจาก เชน James Adams (1984) , Irene S.
Rubin (1998), และ อรนันท กลันทปุระ (2546) เปนตน.

หนา 7
การจัดการภาครัฐสมัยใหม

วีระศักดิ์ เครือเทพ

คาดหวังของประชาชนที่มีตอการจัดบริการสาธารณะของรัฐ15 มาตรการเหลานี้เปนสิ่งที่ทาทายนักบริหารใน
ยุคปจจุบันที่ประชาชนมักจะสงสัยถึงเหตุผลความจําเปนในการจัดเก็บภาษีของรัฐเปนอยางมาก
การพัฒนาประสิทธิภาพของการจัดเก็บรายไดเปนขั้นตอนเริ่มตนในการเพิ่มรายไดใหแกองคกร
ปกครองสวนทองถิ่นโดยไมจําเปนตองปรับเปลี่ยนนโยบายภาษีหรือกฎระเบียบขององคกรปกครองสวน
ทองถิ่นแตอยางใด องคการบริหารสวนตําบลบึงยี่โถ จังหวัดปทุมธานี ไดเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บ
ภาษีโดยการพัฒนาและปรับปรุงฐานขอมูลผูมีหนาที่เสียภาษี เพื่อใชเปนเครื่องมือในการวางแผนการจัดเก็บ
รายได และใชในการตรวจสอบและติดตามผลการจัดเก็บภาษีอากร
ยอนกลับไปเมื่อป พ.ศ. 2541 อบต. บึงยี่โถ ไดรับถายโอนภารกิจในการจัดเก็บภาษีจากรัฐบาลกลาง
ไดพบวาเกิดปญหาการจัดเก็บภาษีไดไมเต็มเม็ดเต็มหนวย และเกิดการสื่อสารกับประชาชนผิดพลาดอยู
บอยครั้ง เมื่อคณะผูบริหารไดวิเคราะหถึงสาเหตุของปญหาก็พบวาเกิดจากการที่ฐานขอมูลผูเสียภาษีขาด
ความถูกตอง และขอมูลที่มีอยูไมเปนปจจุบัน คณะผูบริหารจึงไดเริ่มดําเนินการพัฒนาฐานขอมูลผูเสียภาษีใน
ราวเดือนพฤศจิกายนป 2544 โดยการจัดทํา “แผนที่ภาษี (Tax Map)” โดยใชบุคลากรของ อบต. จํานวน 12
คน ในการคัดลอกฐานขอมูลจากสํานักงานที่ดินอําเภอ และออกเดินสํารวจพื้นที่เพื่อพิจารณาการใชประโยชน
จากพื้นที่จริงเปรียบเทียบกับสําเนาโฉนดที่ดินแตละแปลง จากนั้นคณะสํารวจจะนําขอมูลที่ไดจากการสํารวจ
มาจัดทําแผนที่ภาษีและบันทึกขอมูลเขาระบบฐานขอมูลคอมพิวเตอรเพื่อใชในการบริหารการจัดเก็บภาษี
ทองถิ่นในแตละป ทั้งนี้ ตําบลบึงยี่โถมีพื้นที่ประมาณ 15.39 ตารางกิโลเมตร กระบวนการในการสํารวจและ
จัดทําแผนที่ภาษีใชเวลาดําเนินการราว 1 ปเศษ
ผลที่ไดรับจากการพัฒนาฐานขอมูลดังกลาวทําให อบต. บึงยี่โถมีฐานขอมูลที่มีความถูกตองและมี
ความทันสมัยเนื่องจากมีการปรับปรุงขอมูลเปนประจําทุกเดือน อบต. สามารถใชฐานขอมูลดังกลาวในการ
วางแผนจัดเก็บรายได ติดตามเรงรัดการชําระภาษี และรวมถึงการตรวจสอบผลการจัดเก็บภาษีดวย จากการ
พัฒนาฐานขอมูลดังกลาว ทําใหจํานวนผูมีหนาที่เสียภาษีในระบบฐานขอมูลเดิมจํานวน 235 รายในป 2544
เพิ่มขึ้นเปนจํานวน 370 รายในป 2546 และสามารถจัดเก็บภาษีทองถิ่นไดในป 2546 จํานวนทั้งสิ้น
7,808,709.12 บาท จากเดิมที่เก็บไดในป 2544 เทากับ 7,124,263.44 หรือจัดเก็บภาษีไดเพิ่มขึ้นประมาณ
รอยละ 9.61
สํ า หรั บ องค ก รปกครองส ว นท อ งถิ่ น ที่ มี ข นาดใหญ ก็ ป ระสบผลสํ า เร็ จ ในการดํ า เนิ น การพั ฒ นา
ฐานขอมูลภาษีเชนกัน เทศบาลนครนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี ไดพัฒนาประสิทธิภาพในการบริหารจัดเก็บ
ภาษีอยางเปนระบบ ไดแก การปรับปรุงฐานขอมูลผูมีหนาที่เสียภาษีทองถิ่น การจัดทําบัญชีผูเสียภาษีแตละ
ประเภทแยกออกจากกันเพื่อใหมีความชัดเจนและตรวจสอบไดงาย การพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพใน
การใหบริการของเจาพนักงาน เชน เนนการใหบริการที่รวดเร็ว สุภาพและเปนกันเอง และสามารถใหบริการ
ไดแบบเบ็ดเสร็จ (One-stop) เปนตน การใหความรูความเขาใจแกประชาชนเกี่ยวกับภาษีอากรประเภทตางๆ
และการตรวจสอบผลการปฏิบัติงานในการจัดเก็บภาษีของเจาหนาที่อยางสม่ําเสมอ
ในดานการปรับปรุงฐานขอมูลภาษี ราวป พ.ศ. 2544 เทศบาลนครไดเริ่มดําเนินการปรับปรุงขอมูล
แผนที่ภาษีในเขตตําบลทาทรายซึ่งมีเนื้อที่ 8 ตารางกิโลเมตรเปนลําดับแรก โดยไดแบงพื้นที่ออกเปน 5 เขต
(Block) และยังไดแบงยอยออกเปนเขตยอย 108 แหง (Zone) มีจํานวนแปลงที่ดิน 22,694 แปลง โดยไดแบง
15

Knut Wicksell เปนนักเศรษฐศาสตรการคลังคนแรกๆ ที่ไดเสนอแนวคิดวารัฐบาลจะตองจัดบริการสาธารณะใหแกประชาชนตามที่ประชาชน
ตองการในลักษณะที่กอใหเกิดความคุมคากับภาษีอากรที่ประชาชนจาย และในทางกลับกัน เมื่อประชาชนคาดหวังสินคาหรือบริการใดจากรัฐ ก็
จําเปนจะตองใหการสนับสนุนแกรัฐในรูปของการจายภาษีอากรเชนกัน รายละเอียดอานเพิ่มเติมไดจาก Knut Wicksell (1896) อางใน James M.
Buchanan, and Richard A. Musgrave. 1999. Public Finance and Public Choice. Massachusetts: MIT Press.

หนา 8
การจัดการภาครัฐสมัยใหม

วีระศักดิ์ เครือเทพ

เจาหนาที่ในฝายการคลังออกเปน 4 กลุมๆ ละ 3 คนซึ่งประกอบไปดวยชางโยธา 1 คน และเจาหนาที่ฝาย
ทะเบียน 2 คน มีเปาหมายในการสํารวจพื้นที่ใหไดประมาณ 100 แปลงตอสัปดาห และมีการติดตามผลการ
ปฏิบัติงานทุก 3 เดือน การสํารวจขอมูลในเขตตําบลทาทรายทั้งหมดใชเวลาในการดําเนินการราว 1 ป 2
เดือน และปจจุบันกําลังขยายผลไปยังตําบลอื่น ผลจากการปรับปรุงฐานขอมูลดังกลาวทําใหจํานวนผูเสียภาษี
ในระบบจากเดิมจํานวน 4,047 รายเพิ่มขึ้นเปน 5,551 ราย หรือคิดเปนรอยละ 37.16 และสงผลใหสามารถ
จัดเก็บภาษีไดเพิ่มขึ้นจากเดิม 13,154,255 บาทในป 2543 เปนจํานวน 19,905,340 บาทในป 2546 หรือคิด
เปนประมาณรอยละ 51.32
สวนในการปรับปรุงระบบการบริหารการจัดเก็บภาษี เทศบาลนครนนทบุรีเนนการประชาสัมพันธให
ความรู ค วามเข า ใจกั บ ประชาชนในเรื่ อ งภาษี ท อ งถิ่ น เช น การทํ าป า ยประกาศ ทํ า แผ น พั บ เผยแพร ส ง
จดหมายใหแกผูมีหนาที่เสียภาษี ใหบริการสอบถามขอมูลทางโทรศัพท เปนตน นอกจากนี้ยังใหบริการ
ประชาชนในดานการตรวจสอบขอมูลฐานภาษีผานเทคโนโลยีสารสนเทศ ทั้งนี้ประชาชนสามารถตรวจสอบ
ขอมูลทรัพยสินแตละประเภทกอนการเสียภาษีได เพื่อใหเกิดความมั่นใจวาการประเมินภาษีของเจาพนักงาน
มีความถูกตองอยางแทจริง และในการใหบริการดานหนาสํานักงาน (Counter services) จะเนนการใหบริการ
ที่รวดเร็วและเบ็ดเสร็จ และเนนการจัดเก็บที่มีความเปนธรรมและสามารถอธิบายได ทั้งนี้ เทศบาลไดพัฒนา
ระบบการตรวจสอบผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่โดยการตรวจสอบความรูความเขาใจในงาน ทักษะการ
ปฏิบัติงาน ตรวจสอบการประเมินภาษีของเจาพนักงานวามีความถูกตองหรือไม ตรวจสอบจํานวนเงินภาษีที่
จัดเก็บไดจริงเทียบกับการออกใบเสร็จรับเงิน ตรวจสอบผลการจัดเก็บภาษีจริงเทียบกับการประมาณการ และ
จัดทําการสํารวจความพึงพอใจของประชาชนที่มีตอการใหบริการจัดเก็บภาษีของเทศบาล โดยจากการ
สอบถามประชาชนจํานวน 200 คนในป 2545 พบวา ประชาชนจํานวนรอยละ 51 ติดตอเสียภาษีโดยใชเวลา
นอยกวา 10 นาที และประชาชนจํานวนรอยละ 46 ใชเวลาประมาณ 10-30 นาที นอกจากนี้ ผูตอบ
แบบสอบถามรอยละ 84 ตอบวาสามารถติดตอไดเสร็จในครั้งเดียว และผูตอบแบบสอบถามสวนใหญพอใจกับ
การใหบริการของเจาหนาที่ที่ใหบริการอยางสุภาพ และตอบขอซักถามไดอยางชัดเจน
นอกจากการพัฒนาประสิทธิภาพของการบริหารการจัดเก็บภาษีแลว การจัดการภาครัฐสมัยใหม
ยังใหความสําคัญกับการสรางเสถียรภาพทางการคลังขององคกรของรัฐในระยะปานกลาง (Medium-term
fiscal stability)16 ดวยเหตุผลดังกลาว การวางแผนการเงินการคลังขององคกรปกครองสวนทองถิ่นจึงมีสวน
สําคัญที่จะชวยใหการบริหารการเงินและการบริหารสภาพคลองเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และชวยลดความ
เสี่ยงทางการคลังที่จะกระทบตอระดับการจัดบริการสาธารณะที่ตอเนื่องขององคกรปกครองสวนทองถิ่นได
เทศบาลนครระยอง จังหวัดระยอง ไดใหความสําคัญกับการสรางเสถียรภาพทางการคลังของ
หนวยงานในระยะยาว ดวยความรวมมือทางวิชาการกับเมืองพอรตแลนด ประเทศสหรัฐอเมริกาในป 2543
เทศบาลจึงไดพัฒนาแบบจําลองประมาณการรายรับ-รายจายอยางงายสําหรับใชในการวางแผนการเงินการ
คลังของเทศบาล แนวคิดหลักของตัวแบบการประมาณการรายรับ-รายจายแสดงในหนาถัดไป
จากนั้น เมื่อไดพัฒนากรอบแนวคิดของตัวแบบนี้ขึ้นแลว เทศบาลนครระยองไดพัฒนาโปรแกรม
คอมพิวเตอรแผนงาน (Excel Worksheet) ที่เชื่อมโยงการจัดทําแผนการประมาณการรายรับและรายจายเขา
ดวยกัน โดยในทางปฏิบัตินั้น ผูปฏิบัติงานจะกรอกขอมูลของปฐาน (Based year) สําหรับใชเปนฐานเริ่มตน
ในการประมาณการ จากนั้นจะกําหนดตัวเลขการประมาณการตัวแปรทางเศรษฐกิจ สังคม และประชากร เชน
อัตราการขยายตัวหรืออัตราการเปลี่ยนแปลงของขนาดของกิจกรรมที่ใชเปนฐานในการจัดเก็บภาษี จากนั้น
16

สํานักงบประมาณในปจจุบันไดเนนการจัดทําแผนงบประมาณในระยะปานกลาง (Medium-Term Expenditure Framework: MTEF) สําหรับการ
บริหารงานคลังของหนวยงานภาครัฐ

หนา 9
การจัดการภาครัฐสมัยใหม

วีระศักดิ์ เครือเทพ

จะนําคาตัวแปรเหลานั้นกรอกลงแผนงาน โปรแกรมคอมพิวเตอรก็จะคํานวณตัวเลขการประมาณการรายรับ
ประเภทตางๆ โดยอัตโนมัติ และสําหรับการจัดทําประมาณการรายจายก็ใชหลักการพื้นฐานเชนเดียวกันกับ
หลักการในการประมาณการรายรับ ยกเวนในกรณีของรายจายเพื่อการลงทุน คณะผูบริหารจะคํานึงถึงการ
จัดทําโครงการตามแผนพัฒนาของเทศบาลนครระยองเปนหลักในการจัดทํางบประมาณการลงทุน
แนวคิดหลักของตัวแบบการประมาณการรายรับ-รายจาย เทศบาลนครระยอง
สมมติฐาน

ขอมูลวิเคราะหสภาพเศรษฐกิจ ประชากร และสังคม
และผลการจัดเก็บภาษีและการใชจายในอดีต

รายไดภาษีอากร
คาธรรมเนียมและคาปรับ
รายไดจากทรัพยสิน
รายไดจากเทศพาณิชย
เงินอุดหนุน
เงินบริจาคและรายไดอื่น
ประมาณการรายรับ 5 ป

สมมติฐาน

ประมาณการงบดําเนินการ 5 ป
ประมาณการงบลงทุน 5 ป

ประมาณการงบรายจาย 5 ป

แผนประมาณการรายรับ-รายจาย 5 ป

เงินสะสม

(-)

(+)

ที่มา: คูมือแบบจําลองการประมาณการรายรับ-รายจาย เทศบาลนครระยอง, พฤศจิกายน 2545.

ผลจากการดําเนินการดังกลาวทําใหการบริหารงานของเทศบาลอยูบนฐานการคลังที่มีเสถียรภาพ ใน
กรณีที่เทศบาลคาดวาจะมีทรัพยากรเพิ่มขึ้น ก็สามารถจัดทําโครงการจัดบริการใหแกประชาชนเพิ่มเติมได
อยางทันทวงที และในกรณีที่เทศบาลพบวาหากประสบปญหาการขาดดุลการคลัง ยอมทําใหผูบริหารสามารถ
ดําเนินมาตรการเพื่อรองรับกับปญหาดังกลาวไดเปนการลวงหนา ซึ่งทายที่สุดยอมสงผลใหการจัดบริการ
สาธารณะและการดําเนินโครงการตางๆ ไมประสบกับปญหาการหยุดชะงักแตประการใด และยอมสงผลให
เทศบาลสามารถจัดบริการสาธารณะไดสอดคลองกับความตองการของประชาชนในสภาวการณตางๆ ได
สําหรับการประยุกตใชแนวคิดการจัดการภาครัฐสมัยใหมในการสรางการยอมรับในการเสียภาษีของ
ประชาชน นอกจากการใชความสามารถขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในการอธิบายถึงเหตุผลความจําเปน
ในการเสียภาษีอากรใหแกประชาชนไดรับทราบและเขาใจแลว การเชื่อมโยงใหประชาชนเห็นถึงประโยชนที่
จะไดรับในรูปของบริการสาธารณะตางๆ ที่จะไดจากการเสียภาษีอากรใหแกรัฐอยางเปนรูปธรรมก็เปน
มาตรการหนึ่งที่ชวยใหประสบความสําเร็จในการดําเนินการ องคการบริหารสวนตําบลหวยกะป จังหวัด
ชลบุรี ไดดําเนินมาตรการหลายประการในการสรางความยอมรับในการเสียภาษีทองถิ่นใหแก อบต.
อบต.หวยกะปเริ่มตนทิศทางการบริหารในยุคใหมโดยการจัดทําแบบสํารวจความตองการบริการ
สาธารณะของประชาชน พรอมทั้ง ใหประชาชนจั ดลําดั บความสําคัญ เรงดวนของความตองการเหลานั้ น
จากนั้น อบต. จะนําผลสํารวจความตองการดังกลาวมาประมวลผลและบรรจุเขาเปนแผนพัฒนาตําบล และ
ตอจากนั้น คณะผูบริหารจะนําแผนพัฒนาดังกลาวมาพิจารณาถึงการจัดเก็บภาษีอากร ทั้งนี้มาตรการที่ได
หนา 10
การจัดการภาครัฐสมัยใหม่
การจัดการภาครัฐสมัยใหม่
การจัดการภาครัฐสมัยใหม่
การจัดการภาครัฐสมัยใหม่
การจัดการภาครัฐสมัยใหม่
การจัดการภาครัฐสมัยใหม่
การจัดการภาครัฐสมัยใหม่
การจัดการภาครัฐสมัยใหม่
การจัดการภาครัฐสมัยใหม่
การจัดการภาครัฐสมัยใหม่
การจัดการภาครัฐสมัยใหม่
การจัดการภาครัฐสมัยใหม่
การจัดการภาครัฐสมัยใหม่
การจัดการภาครัฐสมัยใหม่
การจัดการภาครัฐสมัยใหม่
การจัดการภาครัฐสมัยใหม่
การจัดการภาครัฐสมัยใหม่
การจัดการภาครัฐสมัยใหม่
การจัดการภาครัฐสมัยใหม่
การจัดการภาครัฐสมัยใหม่

More Related Content

What's hot

แนวทางการรายงานความเสี่ยง
แนวทางการรายงานความเสี่ยงแนวทางการรายงานความเสี่ยง
แนวทางการรายงานความเสี่ยง
Suradet Sriangkoon
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านม
Prachaya Sriswang
 
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมcase study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมtechno UCH
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
tumetr
 
บันทึกการเยี่ยมบ้าน ตามแนวทาง In home sss
บันทึกการเยี่ยมบ้าน  ตามแนวทาง  In  home  sssบันทึกการเยี่ยมบ้าน  ตามแนวทาง  In  home  sss
บันทึกการเยี่ยมบ้าน ตามแนวทาง In home sss
Dr.Suradet Chawadet
 
Risk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profileRisk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profile
Suradet Sriangkoon
 
แนวทางการประเมินผลคลินิกชะลอไตเสื่อม CKD Clinic คุณภาพ
แนวทางการประเมินผลคลินิกชะลอไตเสื่อม CKD Clinic คุณภาพแนวทางการประเมินผลคลินิกชะลอไตเสื่อม CKD Clinic คุณภาพ
แนวทางการประเมินผลคลินิกชะลอไตเสื่อม CKD Clinic คุณภาพ
CAPD AngThong
 
RCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิวRCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิว
Suradet Sriangkoon
 
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
Utai Sukviwatsirikul
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
Isara Chiawiriyabunya
 
Ppt. service profile
Ppt. service profilePpt. service profile
Ppt. service profile
Prachaya Sriswang
 
Lean quickwin 2108008 ie su
Lean quickwin 2108008 ie suLean quickwin 2108008 ie su
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการเกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์
 
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการทรงตัว การเคลื่อนไหว การจ ากัดการเคลื...
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการทรงตัว การเคลื่อนไหว การจ ากัดการเคลื...การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการทรงตัว การเคลื่อนไหว การจ ากัดการเคลื...
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการทรงตัว การเคลื่อนไหว การจ ากัดการเคลื...
Nakhon Pathom Rajabhat University
 
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทยแนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
Utai Sukviwatsirikul
 
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้techno UCH
 

What's hot (19)

22
2222
22
 
แนวทางการรายงานความเสี่ยง
แนวทางการรายงานความเสี่ยงแนวทางการรายงานความเสี่ยง
แนวทางการรายงานความเสี่ยง
 
Present.อาหารโรคไตcapd
Present.อาหารโรคไตcapdPresent.อาหารโรคไตcapd
Present.อาหารโรคไตcapd
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านม
 
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมcase study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
บันทึกการเยี่ยมบ้าน ตามแนวทาง In home sss
บันทึกการเยี่ยมบ้าน  ตามแนวทาง  In  home  sssบันทึกการเยี่ยมบ้าน  ตามแนวทาง  In  home  sss
บันทึกการเยี่ยมบ้าน ตามแนวทาง In home sss
 
Risk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profileRisk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profile
 
แนวทางการประเมินผลคลินิกชะลอไตเสื่อม CKD Clinic คุณภาพ
แนวทางการประเมินผลคลินิกชะลอไตเสื่อม CKD Clinic คุณภาพแนวทางการประเมินผลคลินิกชะลอไตเสื่อม CKD Clinic คุณภาพ
แนวทางการประเมินผลคลินิกชะลอไตเสื่อม CKD Clinic คุณภาพ
 
RCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิวRCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิว
 
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
 
(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 
Ppt. service profile
Ppt. service profilePpt. service profile
Ppt. service profile
 
Lean quickwin 2108008 ie su
Lean quickwin 2108008 ie suLean quickwin 2108008 ie su
Lean quickwin 2108008 ie su
 
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการเกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
 
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการทรงตัว การเคลื่อนไหว การจ ากัดการเคลื...
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการทรงตัว การเคลื่อนไหว การจ ากัดการเคลื...การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการทรงตัว การเคลื่อนไหว การจ ากัดการเคลื...
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการทรงตัว การเคลื่อนไหว การจ ากัดการเคลื...
 
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทยแนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
 
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้
 

Similar to การจัดการภาครัฐสมัยใหม่

หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (...
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (...หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (...
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (...
สุรพล ศรีบุญทรง
 
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
Taweesak Poochai
 
Abc
AbcAbc
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreenNSTDA THAILAND
 
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54scienceHeritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54sciencefaiiz011132
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
Sarawit eMagazine 17/2557
Sarawit eMagazine 17/2557Sarawit eMagazine 17/2557
Saravit Issue17
Saravit Issue17Saravit Issue17
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทยยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
Klangpanya
 
Saravit eMagazine 3/2556
Saravit eMagazine 3/2556Saravit eMagazine 3/2556
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
Lib Rru
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
Librru Phrisit
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
Librru Phrisit
 
หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้
หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้
หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้
Prachyanun Nilsook
 
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
Klangpanya
 
ความสำเร็จทางยุทธศาสตร์ของเศรษฐกิจจีน
ความสำเร็จทางยุทธศาสตร์ของเศรษฐกิจจีนความสำเร็จทางยุทธศาสตร์ของเศรษฐกิจจีน
ความสำเร็จทางยุทธศาสตร์ของเศรษฐกิจจีน
Klangpanya
 
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Psu
PsuPsu

Similar to การจัดการภาครัฐสมัยใหม่ (20)

หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (...
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (...หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (...
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (...
 
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
 
Abc
AbcAbc
Abc
 
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
 
Binder1
Binder1Binder1
Binder1
 
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54scienceHeritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
 
2557-6
2557-62557-6
2557-6
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
 
Sarawit eMagazine 17/2557
Sarawit eMagazine 17/2557Sarawit eMagazine 17/2557
Sarawit eMagazine 17/2557
 
Saravit Issue17
Saravit Issue17Saravit Issue17
Saravit Issue17
 
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทยยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
 
Saravit eMagazine 3/2556
Saravit eMagazine 3/2556Saravit eMagazine 3/2556
Saravit eMagazine 3/2556
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
 
หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้
หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้
หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้
 
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
ความสำเร็จทางยุทธศาสตร์ของเศรษฐกิจจีน
ความสำเร็จทางยุทธศาสตร์ของเศรษฐกิจจีนความสำเร็จทางยุทธศาสตร์ของเศรษฐกิจจีน
ความสำเร็จทางยุทธศาสตร์ของเศรษฐกิจจีน
 
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
 
Psu
PsuPsu
Psu
 

More from siep

คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคบริการ]
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคบริการ]คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคบริการ]
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคบริการ]
siep
 
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการผลิต]
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการผลิต]คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการผลิต]
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการผลิต]
siep
 
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการค้า]
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการค้า]คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการค้า]
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการค้า]
siep
 
Trello Manual
Trello ManualTrello Manual
Trello Manual
siep
 
Trello Manual
Trello ManualTrello Manual
Trello Manualsiep
 
Republic
RepublicRepublic
Republic
siep
 
Burma trade and investment handbook
Burma trade and investment handbookBurma trade and investment handbook
Burma trade and investment handbooksiep
 
4บทเรียนการตลาด เพื่อการบริหารจัดการท้องถิ่น
4บทเรียนการตลาด เพื่อการบริหารจัดการท้องถิ่น4บทเรียนการตลาด เพื่อการบริหารจัดการท้องถิ่น
4บทเรียนการตลาด เพื่อการบริหารจัดการท้องถิ่นsiep
 
การจัดการความรู้ 2
การจัดการความรู้ 2การจัดการความรู้ 2
การจัดการความรู้ 2siep
 
การจัดการความรู้ 1
การจัดการความรู้ 1การจัดการความรู้ 1
การจัดการความรู้ 1siep
 
D00000000056 106
D00000000056 106D00000000056 106
D00000000056 106siep
 
D00000000056 105
D00000000056 105D00000000056 105
D00000000056 105siep
 
ตลาดน้ำอัมพวา
ตลาดน้ำอัมพวาตลาดน้ำอัมพวา
ตลาดน้ำอัมพวาsiep
 
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนsiep
 
01 24-54 รายงานเทศบาลนครยะลา
01 24-54 รายงานเทศบาลนครยะลา01 24-54 รายงานเทศบาลนครยะลา
01 24-54 รายงานเทศบาลนครยะลาsiep
 
Public marketing
Public marketingPublic marketing
Public marketingsiep
 
Public marketing
Public marketingPublic marketing
Public marketingsiep
 

More from siep (17)

คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคบริการ]
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคบริการ]คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคบริการ]
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคบริการ]
 
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการผลิต]
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการผลิต]คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการผลิต]
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการผลิต]
 
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการค้า]
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการค้า]คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการค้า]
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการค้า]
 
Trello Manual
Trello ManualTrello Manual
Trello Manual
 
Trello Manual
Trello ManualTrello Manual
Trello Manual
 
Republic
RepublicRepublic
Republic
 
Burma trade and investment handbook
Burma trade and investment handbookBurma trade and investment handbook
Burma trade and investment handbook
 
4บทเรียนการตลาด เพื่อการบริหารจัดการท้องถิ่น
4บทเรียนการตลาด เพื่อการบริหารจัดการท้องถิ่น4บทเรียนการตลาด เพื่อการบริหารจัดการท้องถิ่น
4บทเรียนการตลาด เพื่อการบริหารจัดการท้องถิ่น
 
การจัดการความรู้ 2
การจัดการความรู้ 2การจัดการความรู้ 2
การจัดการความรู้ 2
 
การจัดการความรู้ 1
การจัดการความรู้ 1การจัดการความรู้ 1
การจัดการความรู้ 1
 
D00000000056 106
D00000000056 106D00000000056 106
D00000000056 106
 
D00000000056 105
D00000000056 105D00000000056 105
D00000000056 105
 
ตลาดน้ำอัมพวา
ตลาดน้ำอัมพวาตลาดน้ำอัมพวา
ตลาดน้ำอัมพวา
 
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
 
01 24-54 รายงานเทศบาลนครยะลา
01 24-54 รายงานเทศบาลนครยะลา01 24-54 รายงานเทศบาลนครยะลา
01 24-54 รายงานเทศบาลนครยะลา
 
Public marketing
Public marketingPublic marketing
Public marketing
 
Public marketing
Public marketingPublic marketing
Public marketing
 

การจัดการภาครัฐสมัยใหม่

  • 1. การจัดการภาครัฐสมัยใหม: บทพิสูจนเชิงประจักษถึงความสามารถขององคกรปกครองสวนทองถิ่น วีระศักดิ์ เครือเทพ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย บทคัดยอ แนวคิดการจัดการภาครัฐสมัยใหม (New Public Management หรือ NPM) ไดรับความสนใจเปนอยางมาก ในปจจุบันดวยเหตุผลที่วาการปรับเปลี่ยนวิธีการบริหารงานภาครัฐตามแนวคิดดังกลาวจะชวยเพิ่มขีดความสามารถ ในการปฏิบัติงานของหนวยงานภาครัฐ และชวยเพิ่มความสามารถในการตอบสนองตอความตองการของประชาชน อยางไรก็ตาม แนวคิดดังกลาวถือเปนสิ่งใหมสําหรับการบริหารงานภาครัฐของไทย หลายฝายจึงเกิดขอสงสัยวา แนวคิดดังกลาวสามารถนําไปใชปฏิบัติไดจริงหรือไมและอยางไร บทความนี้จึงมีจุดประสงคที่จะประมวลผลสําเร็จ ของการประยุกตใชแนวคิดการจัดการภาครัฐสมัยใหมในทางปฏิบัติ ทั้งนี้ ผูเขียนเลือกองคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) เปนหนวยในการศึกษา จากการศึกษาพบวา การประยุกตใชแนวคิดดังกลาวในการบริหารงานทองถิ่นมีในหลายลักษณะ เริ่มตน ตั้งแต การสงเสริมใหประชาชนเปนผูกําหนดนโยบายการจัดบริการสาธารณะโดยตรง เพื่อใหการดําเนินกิจกรรมของ อปท. สอดคลองกับความตองการของชุมชนอยางแทจริง ในดานการจัดเก็บรายได อปท. ไดพัฒนาวิธีการในการ ประมาณการรายไดในระยะปานกลาง พัฒนาประสิทธิภาพในการจัดเก็บภาษีทองถิ่น และพัฒนาทางเลือกแผนงานใน การจัดบริการสาธารณะที่เชื่อมโยงกับการจัดเก็บภาษี (Taxes-Budget Guide) ทั้งนี้ เพื่อใหประชาชนตัดสินใจเลือก ชุดของการจัดบริการสาธารณะที่คุมคามากที่สุด (Value for money) สวนในดานการบริหารรายจายสาธารณะ พบวา อปท. ที่ศึกษาไดประยุกตใชวิธีการจัดการภาครัฐสมัยใหมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการดําเนินงาน เชน การจางเหมาภาคเอกชนเขาดําเนินการ (Contract-out) การใหชุมชนเขามีสวนรวมในการดําเนินการ เปนตน และในดานการวัดผลการปฏิบัติงาน (Performance measurement) อปท.ที่ศึกษาไดมีการพัฒนาระบบวัดผลการ ปฏิบัติงานเพื่อเพิ่มมาตรฐานในการใหบริการประชาชน และมีระบบตรวจสอบติดตามผลการดําเนินงานเปนอยางดี ผลการศึกษาชี้ใหเห็นวาแนวคิดการจัดการภาครัฐสมัยใหมสามารถนําไปประยุกตใชไดจริง และชวยเพิ่ม ขีดความสามารถในการปฏิบัติงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่นใหสูงขึ้นได สาเหตุสําคัญของผลสําเร็จดังกลาวมี หลายประการ ไดแก ปจจัยดานภูมิหลังของผูนํา ปจจัยดานขอจํากัดทางการคลัง และปจจัยดานการมีสวนรวมของ ประชาชน บทเรียนเหลานี้เปนสิ่งที่ควรสนับสนุนใหเกิดการเรียนรูและการนําไปประยุกตใชกับหนวยงานของรัฐ แหงอื่นในวงกวาง อยางไรก็ตาม เนื่องดวยกรณีศึกษาที่ใชมีจํานวนจํากัด จึงควรมีการศึกษาในเชิงลึกเพื่อการพัฒนา องคความรูดานการจัดการภาครัฐสมัยใหมที่เหมาะสมกับการบริหารงานภาคสาธารณะทั้งในระดับรัฐบาลกลางและ รัฐบาลทองถิ่นตอไป คําสําคัญ : การจัดการภาครัฐสมัยใหม, รัฐประศาสนศาสตร, การบริหารงานทองถิ่น, การบริหารงานคลังทองถิ่น, การกําหนดนโยบายสาธารณะ, การตรวจสอบผลการปฏิบัติงาน, การมีสวนรวมของประชาชน หนา 0
  • 2. การจัดการภาครัฐสมัยใหม วีระศักดิ์ เครือเทพ ความเบื้องตน ปจจุบัน องคความรูทางรัฐประศาสนศาสตรมีโฉมหนาเปลี่ยนแปลงไปอยางมาก สิ่งที่เคยศึกษากันใน เรื่องของการจัดองคการ ระบบการบริหารราชการ และการงบประมาณภาครัฐแบบดั้งเดิม อาจไมเพียงพอตอ การจัดระบบการบริหารงานภาครัฐใหสามารถตอบสนองตอความตองการของประชาชนที่มีลักษณะเปน “พลวัต” มากขึ้นอีกตอไป ความเขาใจถึงองคความรูใหมๆ ที่จะชวยเพิ่มศักยภาพของระบบการบริหารภาครัฐ ในการตอบสนองตอผลประโยชนสาธารณะจึงมีความจําเปนอยางยิ่ง ความเปนพลวัตเชนนี้เกิดขึ้นในหลายลักษณะและตางมีผลกระทบตอกันและกัน และยอมสงผลตอ การจัดรูปแบบและวิธีการบริหารงานภาครัฐ ดวยเชนกัน ความตื่นตัวทางการเมือง การเปลี่ยนแปลงเชิง โครงสรางประชากรและสังคม การพัฒนาทางเศรษฐกิจและการประกอบอาชีพ ความตองการดานการศึกษา และการสาธารณสุข และรวมถึงความกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ลวนสงผลตอความคาดหวัง ของประชาชนที่มีตอการจัดบริการสาธารณะจากรัฐเพิ่มมากขึ้น การจัดระบบการบริหารภาครัฐในปจจุบันจึง ตองเขาใจถึงความเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และเทคโนโลยีตางๆ เหลานี้อยางเชื่อมโยงกัน และสามารถพัฒนาไปสูกรอบแนวคิดในการออกแบบวิธีการบริหารงานภาครัฐที่มุงไปสู “การบริหารงานเพื่อ ประโยชนสาธารณะ (Public Affairs)” ไดอยางแทจริง แนวคิดการจัดการภาครัฐสมัยใหม (New Public Management หรือ NPM) เปนแนวคิดที่ไดรับ ความสนใจจากนักวิชาการดานรัฐประศาสนศาสตรและจากผูบริหารในหนวยงานภาครัฐเปนอยางมากในชวง สองทศวรรษที่ผานมา ทั้งนี้ ดวยเหตุผลวาการปรับเปลี่ยนวิธีการบริหารงานภาครัฐตามแนวคิดดังกลาวจะ ช ว ยเพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการปฏิ บั ติ ง านของภาครั ฐ ที่ ส อดคล อ งกั บ พั ฒ นาการทางเศรษฐกิ จ สั ง คม การเมือง และเทคโนโลยี ซึ่งในที่สุดจะชวยเพิ่มความสามารถใหแกรัฐในการตอบสนองตอความตองการของ ประชาชนไดเพิ่มมากขึ้น1 อยางไรก็ตาม แนวคิดดังกลาวถือเปนสิ่งใหมในระบบการบริหารภาครัฐของไทย หลายคนจึงสงสัยวา แนวคิดการจัดการภาครัฐสมัยใหมจะสามารถนําไปใชไดจริงหรือไมเพียงใด และนําไปประยุกตใชใหเกิดผล สําเร็จเปนรูปธรรมไดอยางไร บทความนี้จึงมีจุดประสงคที่จะประมวลผลสําเร็จของการประยุกตใชแนวคิดการ จั ด การภาครั ฐ สมั ย ใหม ใ นทางปฏิ บั ติ ทั้ ง นี้ ผู เ ขี ย นได เ ลื อ กใช อ งค ก รปกครองส ว นท อ งถิ่ น เป น หน ว ยใน การศึกษา2 โดยเนื้อหาในบทความจะเริ่มตนจากการนําเสนอแนวคิดเรื่องการจัดการภาครัฐสมัยใหม จากนั้น จะอธิบายถึงการประยุกตใชแนวคิดการจัดการภาครัฐสมัยใหมในการบริหารจัดการขององคกรปกครองสวน ทองถิ่นในดานตางๆ ไดแก การกําหนดนโยบายสาธารณะในระดับชุมชน การพัฒนาวิธีการจัดเก็บรายได การบริหารรายจายสาธารณะ และการตรวจสอบผลการปฏิบัติงาน จากนั้นจะนําเสนอถึงบทสังเคราะหแนวคิด ทางวิชาการและขอเสนอแนะเชิงนโยบายตามลําดับตอไป 1 รายละเอียดอานไดจาก เชน Jonathan Boston, et. Al. (1996) หรือ Laurence E. Lynn, Jr.(1996) เปนตน บทความนี้เขียนจากงานวิจัยชื่อ “โครงการวิถีใหมขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในประเทศไทย” โดยมี รศ.ดร.จรัส สุวรรณมาลา คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เปนหัวหนาโครงการ โดยไดรับเงินทุนวิจัยจากสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ปจจุบัน ผูเขียนเปนนักวิจัยและ เลขานุการของโครงการดังกลาว และมีนักวิจัยที่รวมศึกษาในครั้งนี้ดังนี้ ดร.จันทนา สุทธิจารี มหาวิทยาลัยเชียงใหม, ศ.ดร.ดิเรก ปทมสิริวัฒน มหาวิท ยาลั ย นเรศวร, ผศ.ทศพล สมพงษ สถาบัน ราชภั ฏสกลนคร, ผศ.วี ร ะศั ก ดิ์ จารุชั ย นิวั ฒ น มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก น , ดร.สุ ช าดา ทวี สิ ท ธิ์ มหาวิ ท ยาลั ยอุ บลราชธานี , ดร.ทิ พวั ลย ศรี จั น ทร มหาวิ ทยาลั ย เกษตรศาสตร วิท ยาเขตกํ าแพงแสน, คุ ณ ยาใจ ศรี วิโ รจน กรมพั ฒ นาชุ มชน, ผศ.ดร.สัมฤทธิ์ ยศสมศักดิ์ มหาวิทยาลัยบูรพา, ผศ.สมศักดิ์ ชอบตรง สถาบันราชภัฎสุราษฎรธานี, ผศ.ภาณุ ธรรมสุวรรณ มหาวิทยาลัยทักษิณ, และ ผศ.ดร.กมล สงวัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 2 หนา 1
  • 3. การจัดการภาครัฐสมัยใหม วีระศักดิ์ เครือเทพ การจัดการภาครัฐสมัยใหม (New Public Management: NPM) แนวคิดการจัดการภาครัฐสมัยใหมเริ่มตนขึ้นจากความพยายามในการอธิบายปรากฏการณทางการ บริหารงานภาครัฐที่เกิดขึ้นราวทศวรรษที่ 1980 ในประเทศกลุมเวสมินสเตอร (Westminster) ซึ่งไดแก อังกฤษ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด และแคนาดา ประเทศเหลานี้ไดดําเนินการปฏิรูประบบการบริหารงานภาครัฐ กาวหนาไปอยางมาก ดวยจุดประสงคที่ตองการสรางขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ กลไกการ บริหารงานภาครัฐจึงตองมีสมรรถนะในการจัดการที่สูงเพียงพอสําหรับรองรับการขับเคลื่อนประเทศใหกาวไป ในจังหวะและในทิศทางที่พึงประสงค การจัดการภาครัฐสมัยใหมมีฐานแนวคิดจากการสงเสริมใหใชกลไกตลาด (Market mechanism) และ วิธีการบริหารอยางมืออาชีพ (Managerialism)3 ในการดําเนินภารกิจของรัฐในดานตางๆ สาระสําคัญของ แนวคิดการจัดการภาครัฐสมัยใหมสามารถสรุปไดดังนี้4 ใหความสําคัญกับการบริหารอยางมืออาชีพ (Professional management) กลาวคือเนนความเปน อิสระของผูบริหารหนวยงานภาครัฐในการใชดุลยพินิจตัดสินใจในการบริหารงาน เพื่อใหเกิดความ คลองตัวในการปฏิบัติงานที่สามารถนําไปสูการบรรลุผลสําเร็จที่พึงประสงค เนนการกําหนดวัตถุประสงคของการปฏิบัติราชการที่ชัดเจน (Clear objectives) พรอมทั้งกําหนด ตัวชี้วัดผลสําเร็จในการปฏิบัติงานอยางเปนรูปธรรม ทั้งนี้เพื่อใหการปฏิบัติภารกิจของรัฐสามารถ นําไปสูผลสําเร็จที่ตองการ (Accountable for results) มากกวาการใหความสําคัญกับระเบียบปฏิบัติ ราชการหรือแบบแผนและขั้นตอนตางๆ เปนหลัก เชื่อมโยงผลสําเร็จของการปฏิบัติงานเขากับการจัดสรรทรัพยากรของภาครัฐ และสงเสริมใหมีระบบ การใหรางวัลตอบแทนที่ผลสําเร็จในการปฏิบัติราชการ เพื่อใหผูบริหารและผูปฏิบัติเกิดแรงจูงใจใน การปฏิบัติงานที่มุงสูผลสําเร็จขององคการอยางสูงสุด ปรับปรุงโครงสรางองคการและระบบการทํางานใหมีขนาดเล็กกะทัดรัด มีความคลองตัว และสามารถ ปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทั้งนี้อาจใชการดําเนินการจางเหมาโดย ภาคเอกชน (Contract-out) หรืออาจใหดําเนินการโดยประชาชนได สงเสริมใหมีระบบแขงขันในการจัดบริการสาธารณะ (Contestability) โดยองคกรรัฐหรือองคกรอื่น อันจะนําไปสูการปรับปรุงประสิทธิภาพและคุณภาพในการจัดบริการสาธารณะ ปรับเปลี่ยนวิธีการบริหารใหมีความทันสมัย และสงเสริมการใชเทคโนโลยีและเทคนิควิธีการบริหาร จัดการในภาคเอกชนมาใชกับการบริหารงานภาครัฐ (Business-like management) สงเสริมวินัยทางการเงินการคลัง เนนการใชจายที่ประหยัดและกอใหเกิดความคุมคาของการใช ทรัพยากรภาครัฐที่มีอยางจํากัดใหเกิดประโยชนตอสาธารณะอยางสูงสุด (Value for money) นอกจากนี้ นักวิชาการบางทานเห็นวาขอบขายของแนวคิดการจัดการภาครัฐสมัยใหมยังรวมความ ถึงการจัดความสัมพันธระหวางรัฐกับประชาชน การบริหารงานอยางโปรงใส และการสงเสริมการมีสวนรวม 3 ทศพร ศิริสัมพันธ, “การพัฒนาระบบราชการไทย”, ใน วีระศักดิ์เครือเทพ (บรรณาธิการ), รัฐประศาสนศาสตร: ขอบขายและการประยุกตใช องคความรู, กรุงเทพฯ: โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, มีนาคม 2547, หนา 58-59. 4 Christopher Hood. “A Public Management for All Seasons?” Public Administration. 69. 1991. หนา 3-19. หนา 2
  • 4. การจัดการภาครัฐสมัยใหม วีระศักดิ์ เครือเทพ ของประชาชนตามกระแสประชาธิปไตยในแนวทางใหมดวยเชนกัน5 ซึ่งการนิยามแนวคิดการจัดการภาครัฐ สมัยใหมตามแนวทางดังกลาวนี้ยอมทําใหแนวคิดนี้มีขอบขายอยางกวางและมีความหมายครอบคลุมประเด็น ตางๆ ที่เกี่ยวกับการบริหารบานเมืองโดยรวม อยางไรก็ตาม นักวิชาการบางทานกลับโจมตีวาแนวคิดการจัดการภาครัฐสมัยใหมนั้นขาดกรอบ แนวคิดที่ชัดเจน และขาดเอกลักษณขององคความรู นอกจากนี้ การนําปรัชญาพื้นฐานของการจัดการแบบ ภาคเอกชนและกลไกตลาดมาใชในการบริหารงานภาครัฐอาจทําใหคุณคาเรื่องความเปนธรรมทางสังคม (Social Equity) ผลประโยชนสาธารณะ (Public Interest) ถูกละเลยไป6 แตกระนั้นก็ตาม นักวิชาการจํานวน มากต า งยอมรั บ ว า แนวคิ ด การจั ด การภาครั ฐ สมั ย ใหม ไ ด มี ส ว นช ว ยในการปรั บ มโนทั ศ น ข อง รัฐประศาสนศาสตรแบบดั้งเดิมไปสูรัฐประศาสนศาสตรในความหมายที่มีความเปนพลวัตมากขึ้น อันจะชวย ใหการปฏิบัติภารกิจของรัฐสรางคุณคาใหแกสังคมไดอยางเหมาะสมเพิ่มขึ้นเชนกัน7 ดังนั้น เมื่อกลาวมาถึงจุดนี้ ขอบขายของแนวคิดการจัดการภาครัฐสมัยใหมที่ไดนําเสนอไวขางตน สามารถพัฒนาเปนกรอบแนวคิดสําหรับการนําเสนอเนื้อหาในสวนถัดไปอยางเปนระบบดังดังตอไปนี้ การบริหารงานทองถิ่น ฐานแนวคิดของ NPM การใชกลไกตลาด การบริหารอยางมืออาชีพ การมีสวนรวมของประชาชน คุณคาพื้นฐาน ประสิทธิภาพ ความคุมคาของเงิน ประสิทธิผล คุณภาพ พรอมที่จะตรวจสอบได โปรงใส ตอบสนองความตองการ การกําหนดนโยบาย สาธารณะ การบริหารการจัดเก็บรายได การบริหารรายจายสาธารณะ การตรวจสอบผล การปฏิบัติงาน ฐานแนวคิดของการจัดการภาครัฐสมัยใหม คุณคาพื้นฐาน และการประยุกตใชในทางปฏิบัติ กรอบแนวคิดขางตนเปนการแสดงถึงความเชื่อมโยงระหวางคุณคาพื้นฐาน (Values) ของแนวคิดการ จัดการภาครัฐสมัยใหมกับการประยุกตใชในทางปฏิบัติ คุณคาพื้นฐานของการบริหารงานภาครัฐสมัยใหมมี พัฒนาการมาจากการประยุกตใชรูปแบบกลไกตลาด วิธีการบริหารอยางมืออาชีพ และการสงเสริมการมีสวน รวมของประชาชนในการดําเนินภารกิจของรัฐ ทั้งนี้ คุณคาพื้นฐานเหลานี้จะไดรับการตอบสนองผานโดยการ ประยุกตใชแนวคิดการจัดการภาครัฐสมัยใหมในการบริหารงานทองถิ่นใน 4 ดานหลัก ไดแก การกําหนด นโยบายสาธารณะ โดยเนนถึงการกําหนดนโยบายในการบริหารที่มุงตอบสนองความตองการของชุมชน อยางสูงสุด และเปนนโยบายที่มีความเปนไปไดในการดําเนินการ ในดานการบริหารการจัดเก็บรายได 5 ตัวอยางเชน Gernod Gruening. “Origin and Theoretical Basis of New Public Management.” International Public Administration Journal. 4 No.1 2001. หนา 1-26. 6 D.G. Mathiasen. “The New Public Management and Its Critics.“ International Public Administration Journal. 2 No.1 1999. หนา 90-111. 7 Owen Huges. Public Management and Administration. London: Macmillan. 1998. บทที่ 1. หนา 3
  • 5. การจัดการภาครัฐสมัยใหม วีระศักดิ์ เครือเทพ มุงเนนการระดมทรัพยากรเพื่อการใชจายในดานตางๆ อยางโปรงใส มีการจัดเก็บภาษีอากรที่กอใหเกิด ประโยชนอยางคุมคาแกผูเสียภาษี สวนในดานการบริหารรายจายสาธารณะ ควรดําเนินโครงการตางๆ โดยคํานึง ถึงความมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล สามารถผลิตผลงานไดอยางมี คุณภาพตรงตามความ ตองการของประชาชน และมีการบริหารงานที่โปรงใส สามารถเปดเผยใหสาธารณชนไดรับทราบอยางชัดเจน และในองคประกอบสุดท าย การตรวจสอบผลการปฏิ บัติง าน ควรมีการตรวจสอบและติ ดตามผลการ ปฏิบัติงานอยางจริงจังเพื่อใหสามารถอธิบายแกประชาชนผูเสียภาษีไดวากิจกรรมตางๆ ที่ไดดําเนินการนั้น กอใหเกิดผลลัพธหรือผลสําเร็จประการใด ตอบสนองตอความตองการของประชาชนอยางแทจริงหรือไม ซึ่ง กระบวนการดังกลาวนี้จะชวยสรางความโปรงใสและความชัดเจนในการดําเนินการได คุณคาพื้นฐานของแนวคิดการจัดภาครัฐสมัยใหมตามกรอบแนวคิดขางตนถือเปนหัวใจสําคัญของ การบริหารงานภาครัฐในยุคปจจุบันที่ผูบริหารองคกรภาครัฐไมเพียงแตไมควรจะละเลย หากแตควรพิจารณา ว า จะนํ า ไปปรั บ ปรุ ง วิ ธี ก ารบริ ห ารจั ด การในหน ว ยงานของตนให เ กิ ด ผลสั ม ฤทธิ์ ไ ด ห รื อ ไม แ ละอย า งไร อีก ประการหนึ่ ง ด วย ทั้ ง นี้ ตั ว อย า งผลสํ า เร็จ ของการประยุ กต ใ ช ห ลั ก การจั ด การภาครัฐ สมั ย ใหม ใ นการ บริหารงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่นจะนําเสนอในสวนตอไปตามลําดับ การกําหนดนโยบายสาธารณะ หากเริ่มตนพิจารณาวาความตองการในสินคาและบริการสาธารณะของประชาชนเปนจุดกําเนิดของ บทบาทภาครัฐในสังคม บทบาทของรัฐดังกลาวยอมเปนกรอบแนวทางในการกําหนดนโยบายสาธารณะที่จะ นําไปสูการจัดสินคาและบริการตามที่ประชาชนตองการ หากรัฐเลือกที่จะกําหนดนโยบายสาธารณะที่มุง ตอบสนองตอความตองการของประชาชนเปนหลัก และเลือกที่จะไมกําหนดนโยบายที่สังคมไมตองการ การ กําหนดนโยบายสาธารณะในลักษณะดังกลาวยอมเปนสิ่งที่พึงประสงคของสังคม8 อยางไรก็ตาม เราจะทราบไดอยางไรวาประชาชนตองการสิ่งใด? ปรากฏการณในกระบวนการ กํ า หนดนโยบายสาธารณะที่ เ กิ ด ขึ้ น อยู บ อ ยครั้ ง พบว า นโยบายสาธารณะจํ า นวนมากที่ ถู ก กํ า หนดขึ้ น มีวัตถุประสงคเพื่อตอบสนองตอความตองการของหนวยงานภาครัฐและกอใหเกิดการปฏิบัติภารกิจตางๆ ที่ เคลื่อนไปจากเปาหมายที่ควรจะเปน9 นอกจากนี้ การกําหนดนโยบายสาธารณะอาจมิไดเปนไปเพื่อตอบสนอง ตอผลประโยชนของประชาชน หากแตเปนไปเพื่อตอบสนองผลประโยชนสวนตนของนักการเมืองหรือของ ขาราชการในระบบราชการเปนสําคัญ10 สิ่งที่เกิดขึ้นเหลานี้ลวนสงผลใหนโยบายสาธารณะที่ถูกกําหนดขึ้นตาง ขาดความสามารถในการตอบสนองตอปญหาและความตองการของสังคม และดวยเหตุผลดังกลาว การพัฒนา กลไกการบริหารงานภาครัฐในแนวทางใหมที่ชวยเพิ่มขีดความสามารถในการตอบสนองตอความตองการ สาธารณะจึงเปนสิ่งจําเปนสําหรับการบริหารงานในยุคปจจุบัน 8 ผูเขียนใหความหมายคําวา “นโยบายสาธารณะ” ตามคํานิยามของ James Anderson วาหมายถึง “แนวทางปฏิบัติที่รัฐบาลกําหนดขึ้นเพื่อ ตอบสนองตอการแกไขปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้นในสังคม” รายละเอียดอานไดจาก James E. Anderson. Public Policy Making. New York: Winstone & Rinehart. 1975. หนา 3. 9 ปรากฏการณดังกลาวเรียกไดวาระบบราชการมีเปาหมายเคลื่อนไปจากที่ควรจะเปน (Goal Displacement) รายละเอียดอานเพิ่มเติมไดจาก Robert K. Merton. ฺ”Bureaucratic Structure and Personality.” Classics of Public Administration. edited by J.M. Shafritz and A.C. Hyde. New York: Harcourt Brace College Publishers. 1997. หนา 100-107. 10 นักวิชาการในสํานักทางเลือกสาธารณะ (Public Choice Theory) มักจะอธิบายพฤติกรรมของนักการเมืองที่มุงตอบสนองตอความตองการสวนตน (Self-interest) วาเปนการแสวงหาคะแนนนิยมสูงสุดทางการเมือง (Vote Maximization) และขาราชการที่มุงตอบสนองตอความตองการสวนตนใน ลักษณะของการมุงขยายขนาดของหนวยงานและงบประมาณ (Budget Maximization) รายละเอียดอานเพิ่มเติมไดจาก ตัวอยางเชน Buchanan (1999), Niskanen (1971), และ Downs (1957). หนา 4
  • 6. การจัดการภาครัฐสมัยใหม วีระศักดิ์ เครือเทพ เทศบาลนครขอนแกน จังหวัดขอนแกน เปนองคกรหนึ่งที่เคยประสบกับปญหาในการกําหนด นโยบายที่ตอบสนองตอความตองการของประชาชน ขอนแกนเปนเมืองที่มีการขยายตัวอยางมาก มีประชากร ราว 130,000 คน ในชวงป พ.ศ. 2542 ถึง 2546 เทศบาลนครขอนแกนมีงบประมาณรายจายเฉลี่ยประมาณ 330 – 380 ลานบาทตอป การดําเนินโครงการพัฒนาเมืองในดานตางๆ ยอมกอใหเกิดผลกระทบตอชาวเมือง ขอนแกนไมมากก็นอย คณะผูบริหารไดเล็งเห็นวาการดําเนินการพัฒนาเมืองในดานใดก็ตาม ควรจะปรึกษา กับประชาชนผูเปนเจาของเมืองกอน เพื่อปองกันมิใหการดําเนินโครงการกลายเปนสาเหตุที่นําไปสูความ ขัดแยงระหวางเทศบาลกับชุมชน การเกิดขึ้นของ “สภาเมืองขอนแกน (Town Hall Meeting)” ในราวป พ.ศ. 2541 จึงถือเปนจุดเริ่มตนของกระบวนการกําหนดนโยบายสาธารณะตามแนวคิดการจัดการภาครัฐสมัยใหม ที่ใหความสําคัญกับความตองการของประชาชนเปนสําคัญ สภาเมืองขอนแกนมีที่มาเริ่มตนจากการจัดประชุมทําแผนพัฒนาเมืองแบบมีสวนรวมของเทศบาล นครขอนแกนในป พ.ศ. 2540 โดยไดรับความชวยเหลือจากสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแกน คณะกรรมการประสานงานองค การพั ฒนาเอกชนภาคอีส าน และรัฐ บาลประเทศเดนมาร ก ในช ว งเวลา ดังกลาว คณะผูบริหารไดจัดใหมีการประชุมภาคสวนตางๆ (Focus Group) เพื่อรับฟงความเห็นและ ขอเสนอแนะจากองคกรภาคประชาชนในพื้นที่ที่มีตอโครงการพัฒนาของเทศบาล เมื่อการประชุมในลักษณะ ดังกลาวไดรับความสนใจจากชาวเมืองขอนแกนเปนอยางมาก ในป พ.ศ. 2541 คณะผูบริหารของเทศบาลจึง ไดสานตอแนวคิดในการจัดเวทีรับฟงขอมูล ความคิดเห็น และขอเสนอแนะจากประชาชนชาวเมืองขอนแกนที่ มีตอการบริหารงานและการดําเนินโครงการตางๆ ของเทศบาล และในที่สุดไดพัฒนามาเปนการจัดประชุม สภาเมืองที่สืบเนื่องมาจนถึงปจจุบัน โดยทั่วไป เทศบาลจะจัดการประชุมสภาเมืองขอนแกนประมาณ 3 เดือนตอครั้ง วัตถุประสงคหลัก ของการประชุมคือการนําประเด็นปญหาและนโยบายตางๆ ของเทศบาลมาปรึกษากับประชาชนซึ่งเปน ตัวแทนองคกรชุมชนในพื้นที่จํานวนมากกวา 140 แหง เชน การปรับปรุงพื้นที่บริเวณประตูเมืองและ ศาลหลักเมือง การปรับปรุงภูมิทัศนของสวนสาธารณะ ฯลฯ เปนตน ลักษณะการประชุมจะดําเนินการโดย คณะผูบริหารของเทศบาล ประเด็นวาระตางๆ จะถูกกําหนดขึ้นลวงหนาและแจงใหแกองคกรชุมชนรับทราบ กอนการเขาประชุม และในการประชุมมักจะเริ่มตนวาระดวยการนําเสนอประเด็นปญหาและความจําเปนใน การดํ าเนิ น โครงการปรับ ปรุ งพั ฒ นา จากนั้น จะมีก ารนํา เสนอผลการศึ ก ษาเบื้ อ งต น โดยนั กวิ ช าการหรื อ คณะทํางานที่รับผิดชอบ และตามดวยการเปดเวทีใหมีการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นจนถึงการหา ขอสรุปรวมกันของสภาเมือง ทั้งนี้การประชุมแตละครั้งใชเวลาประมาณ 4-5 ชั่วโมง ตอจากนั้น เมื่อไดมติจาก การประชุมสภาเมืองแลว คณะผูบริหารเทศบาลก็จะนํามติดังกลาวเขาสูที่ประชุมสภาเทศบาลและคณะทํางาน ที่เกี่ยวของเพื่อกําหนดแนวนโยบายการดําเนินงานที่เหมาะสมตอไป องคการบริหารสวนตําบลสวนหมอน จังหวัดขอนแกน เปนอีกองคกรหนึ่งที่ไดใหความสําคัญ กับการมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการกําหนดนโยบายสาธารณะ ยอนกลับไปเมื่อป พ.ศ.2540 อบต.สวนหมอน ซึ่งมีประชากรราว 7,800 คน ประสบกับปญหาความขัดแยงในการจัดสรรงบประมาณสําหรับ โครงการพัฒนาใหแกหมูบานตางๆ ทั้ง 14 หมูบาน11 ทําใหการใชจายงบประมาณเปนไปอยางกระจัดกระจาย นอกจากนี้ ประชาชนยังขาดความเชื่อมั่นในการบริหารงานของ อบต. ทั้งในเรื่องของการเลนพรรคเลนพวกใน การจางเหมาประมูลงาน ความโปรงใสในการอนุมัติโครงการ เปนตน สิ่งเหลานี้ลวนสงผลใหการดําเนินงาน ของ อบต.สวนหมอนขาดทิศทางและนโยบายที่ชัดเจนในการตอบสนองความตองการของประชาชน และยอม สงผลใหการใชจายเงินงบประมาณเปนไปอยางไมคุมคาเทาที่ควร 11 ในทางการคลังสาธารณะเรียกวาเปน การจัดสรรงบประมาณแบบแยงกันไปแยงกันมา (Pork-barrel Budget Allocation) หนา 5
  • 7. การจัดการภาครัฐสมัยใหม วีระศักดิ์ เครือเทพ ในป พ.ศ. 2543 กรมการปกครองไดกําหนดให อบต. ใชกลไกการมีสวนรวมของประชาชนในการ จัดทําแผนพัฒนาตําบล อบต. สวนหมอนจึงไดเริ่มกระบวนการ “ประชาคม (Civic Forums)” ในการวางแผน พัฒนาตําบลและการจัดสรรงบประมาณ ทั้งนี้ กระบวนการประชาคมของ อบต. สวนหมอนมีขั้นตอนหลัก 3 ขั้นตอน ไดแก การจัดประชาคมหมูบาน การจัดประชาคมตําบล และการจัดประชุมสภาองคการบริหารสวน ตําบล โดยที่ผลสรุปจากการทําประชาคมจากหมูบานตางๆ จะเปนขอมูลเขาสูการพิจารณาของประชาคม ตําบล และผลสรุปจากการทําประชาคมตําบลจะเปนขอมูลเขาสูการประชุมสภา อบต. “ประชาคมหมูบาน” จะจัดขึ้นราวเดือนมีนาคม-เมษายนในแตละป และใชเวลาประชุมหมูบานละ 1 วัน ประชาคมหมูบานเปนเวทีสําหรับการระดมปญหาที่เกิดขึ้นในแตละหมูบาน มีการอภิปรายและจัดลําดับ ความรุนแรงของปญหา และที่ประชุมจะรวมกันประมวลปญหาตางๆ เปนขอเสนอแนะเชิงนโยบายที่ตองการ ให อบต. ดําเนินการแกไข โดยทั่วไป การจัดเวทีประชาคมหมูบานมีประชาชนเขารวมประชุมจํานวนประมาณ 30-100 คน ซึ่งประกอบไปดวยผูใหญบาน ผูนําชุมชน สมาชิกสภา อบต. ผูนํากลุมอาชีพ ครูหรือขาราชการที่ มีภูมิลําเนาในหมูบาน และชาวบานที่สนใจ และเมื่อเวทีประชาคมหมูบานไดขอสรุปถึงปญหาความตองการ และความเรงดวนในการดําเนินการ ก็จะนําขอสรุปดังกลาวกรอกลงในแบบฟอรม ผอ.1 และแบบฟอรม ผอ.2 และสงใหแก อบต. เพื่อสําหรับใชเปนขอมูลในการประชุมประชาคมตําบลตอไป ทั่งนี้ ขอเสนอของแตละ หมูบานจะถูกนําไปติดประกาศอยางเปดเผยใหแกประชาชนในทุกหมูบานไดรับทราบโดยทั่วกัน “ประชาคมตําบล” จะจัดขึ้นในราวเดือนพฤษภาคม-มิถุนายนของทุกป โดยจะใชเวลาในการประชุม จํานวน 2 วัน ผูที่เขารวมประชุมประกอบไปดวยตัวแทนประชาคมหมูบานทุกหมูบาน ไดแก ผูใหญบาน สมาชิกสภา อบต. และตัวแทนหมูบานที่คัดเลือกมาหมูบานละ 4 คน พรอมกับคณะผูบริหารและพนักงาน อบต. การประชุมประชาคมตําบลนี้จะพิจารณาถึงปญหาและความตองการของหมูบานตางๆ ทั้ง 14 หมูบาน และพยายามจัดลําดับความสําคัญเรงดวนของปญหาที่ไดรับการเสนอทั้งหมดโดยการมองถึงภาพรวมของ ตําบล และเมื่อไดขอสรุปในระดับประชาคมตําบล ก็จะนําขอมูลความตองการ และความเรงดวนของปญหา กรอกลงในแบบฟอรม ผอ.3 และ ผอ.4 ตามลําดับ จากนั้น อบต. จะนําเสนอผลสรุปจากการประชุมประชาคม ตําบลแจงใหประชาชนทั่วไปในตําบลไดรับทราบ และเปดใหมีเวทีรับฟงความคิดเห็นอีกครั้งหนึ่งกอนที่จะนํา ขอสรุปดังกลาวเขาสูการพิจารณาของที่ประชุมสภา อบต. “ที่ประชุมสภาองคการบริหารสวนตําบล” จะนําขอสรุปจากการทําประชาคมตําบลเขาสูการพิจารณา เพื่อจัดทําแผนพัฒนาตําบลระยะ 5 ป และแผนพัฒนาตําบลประจําปตามแตกรณี ทั้งนี้การพิจารณาของสภา อบต. จะใหความเคารพแกมติของการทําประชาคมและจะอนุมัติแผนงานและงบประมาณตามขอเสนอที่ผาน การพิจารณาจากประชาคมตําบล จากนั้นจึงจะประกาศใชเปนขอบัญญัติงบประมาณ อบต. และแจงใหแก ประชาชนในตําบลรับทราบตอไป และนอกจากการทําประชาคมเพื่อการกําหนดนโยบายและการจัดทํา งบประมาณแลว อบต. สวนหมอน ไดสนับสนุนใหประชาคมมีสวนรวมในการบริหารโครงการ การจัดซื้อจัด จาง และการตรวจสอบผลการดําเนินโครงการอีกดวย ทั้งนี้โดยการใหประชาคมคัดเลือกผูแทนประชาคมเขา รวมเปนคณะกรรมการจัดซื้อจัดจาง คณะกรรมการเปดซองประมูล หรือคณะกรรมการตรวจรับงาน เปนตน กรณี ศึ ก ษาทั้ ง สองเรื่ อ งข า งตน ชี้ ใ ห เ ห็น ถึ ง การปรั บ เปลี่ ยนกระบวนทั ศน ใ นการกํ า หนดนโยบาย สาธารณะที่ใหความสําคัญกับความตองการของประชาชนโดยผานกระบวนการการมีสวนรวมที่มีการจัดการ อยางระบบ การกําหนดนโยบายสาธารณะในแนวทางการจัดการภาครัฐสมัยใหมเชนนี้ยอมเปนหลักประกันที่ ดี ว า ภารกิ จ ที่ อ งค ก รปกครองส ว นท อ งถิ่ น เหล า นี้ ดํ า เนิ น การเป น สิ่ ง ที่ ป ระชาชนต อ งการอย า งแท จ ริ ง (Responsiveness) และยอมนําไปสูการใชจายเงินงบประมาณสําหรับการดําเนินนโยบายที่มีความคุมคา (Value for Money) และสามารถดําเนินภารกิจตางๆ ไดอยางมีประสิทธิผล (Effectiveness) หนา 6
  • 8. การจัดการภาครัฐสมัยใหม วีระศักดิ์ เครือเทพ การบริหารการจัดเก็บรายได การจัดสินคาและบริการสาธารณะประเภทใดก็ตามจําเปนตองใชทรัพยากรในการดําเนินการทั้งสิ้น ในกรณีของสินคาเอกชน ทรัพยากรจะไดมาจากการแลกเปลี่ยนซื้อขายกันในตลาดเอกชน ผูซื้อจะตัดสินใจ เลือกซื้อสินคาบริการหรือปจจัยการผลิตโดยพิจารณาถึงราคาที่จะตองจายเมื่อเปรียบเทียบกับคุณคาที่จะ ไดรับจากการซื้อสินคาบริการหรือปจจัยการผลิตดังกลาว หากพิจารณาแลวพบวาเกิดความคุมคาก็จะซื้อ สินคาบริการหรือปจจัยการผลิตประเภทนั้น ในทางกลับกัน ผูขายจะขายสินคาบริการหรือปจจัยการผลิตโดย เทียบกับคาตอบแทนที่จะไดรับ การซื้อขายสินคาบริการหรือปจจัยการผลิตในภาคเอกชนจึงมีลักษณะของ การแลกเปลี่ยนโดยสมัครใจ (Voluntary Exchange) ในทางตรงกันขาม สินคาหรือบริการที่จัดมอบโดยรัฐสวนใหญมีลักษณะของสินคาสาธารณะหรือ สินคากึ่งสาธารณะ12 สินคาในลักษณะเชนนี้ไมสามารถแบงแยกซื้อขายตามความสมัครใจของประชาชนโดย อาศัยกลไกตลาดดังเชนสินคาเอกชนได หากแตในความเปนจริง รัฐดําเนินการผลิตหรือสงมอบสินคาบริการ เหลานี้โดยอาศัยการระดมทรัพยากรจากประชาชนในรูปของ “ภาษี” ทั้งนี้ ภาษีเหลานี้มีความแตกตางจาก ราคาที่ใชในการซื้อขายสินคาภาคเอกชนเนื่องจากภาษีมีลักษณะของการบังคับจัดเก็บ (Compulsory) และ ประโยชนที่ ประชาชนจะไดรับจากบริการสาธารณะไมจําเปน ตอ งเปนสั ดสวนเดียวกับจํ านวนเงิน ภาษี ที่ ประชาชนจายใหแกรัฐ13 ดังนั้น โดยทั่วไปแลว การจัดเก็บภาษีจึงมักจะกอใหเกิดความไมพอใจแกประชาชนผู เสียภาษี ทั้งนี้ จากประสบการณในการจัดเก็บภาษีของนานาประเทศและของไทย การตอตานของประชาชน ที่มีตอการจัดเก็บภาษี (Tax Revolts) เปนสิ่งที่เกิดไดบอยครั้ง14 และยอมสงผลใหรัฐไมสามารถระดม ทรัพยากรในระดับที่เพียงพอตอการจัดบริการสาธารณะตามที่ตองการได ดวยเหตุดังกลาว สิ่งที่ทาทายนัก บริหารงานภาครัฐในปจจุบันเปนอยางมากคือการสรางความเขาใจและการยอมรับของประชาชนวาการเสีย ภาษีใหแกรัฐเปนสิ่งที่จําเปนที่นําไปสูการจัดสินคาหรือบริการสาธารณะตามที่ประชาชนตองการ นอกจากนี้ ปญหาสําคัญในการบริหารจัดเก็บรายไดโดยเฉพาะในระดับองคกรปกครองสวนทองถิ่น คือปญหาประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดําเนินการ สาเหตุประการสําคัญไดแกการขาดฐานขอมูลภาษี อากรที่มีคุณภาพเพียงพอสําหรับใชในการบริหารจัดเก็บภาษี ซึ่งก็คือฐานขอมูลที่สามารถแสดงใหเห็นไดวา ใครเปนผูที่เขาขายมีหนาที่ตองเสียภาษี ตองเสียภาษีประเภทใด มีภาระภาษีที่จะตองจายเปนจํานวนเทาใด และเมื่อใด หากการบริหารการจัดเก็บรายไดปราศจากซึ่งฐานขอมูลดังกลาว ยอมไมสามารถนําไปสูการ ตรวจสอบหรือติดตามผลการจัดเก็บภาษีไดแตอยางใด และยอมสงผลกระทบตอระดับทรัพยากรและขีด ความสามารถในการจัดบริการสาธารณะของทองถิ่นอยางหลีกเลี่ยงมิได ดวยเหตุผลทั้งสองประการขางตน การวางแผนจัดเก็บรายไดใหแกรัฐและการบริหารการจัดเก็บภาษี จึ ง เป น สิ่ ง ที่ ค วรดํ า เนิ น การอย า งยิ่ ง ในระยะสั้ น รั ฐ จะต อ งคํ านึ ง ถึ ง ระดั บ การจั ด เก็ บ ภาษี ที่ ส อดคล อ งกั บ ความสามารถในการแบกรับภาษีของประชาชน และสอดคลองกับระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคม ประกอบกับมีการพัฒนาฐานขอมูลเพื่อการบริหารและการจัดเก็บภาษีที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และใน ระยะยาว รัฐจะตองดําเนินภารกิจที่กอใหเกิดประโยชนคุมคาแกประชาชนที่จายภาษีใหแกรัฐ และรัฐจะตอง สรางความรูความเขาใจและสรางการยอมรับของประชาชนที่มีตอการเสียภาษีอากรที่สอดคลองกับความ 12 สินคาสาธารณะหมายถึง สินคาที่ไมสามารถแบงแยกหนวยของการบริโภค (Nonexcludable) และไมเปนการบริโภคที่ทําใหอรรถประโยชนของ ผูอื่นลดลง (Nonrival consumption) รายละเอียดอานเพิ่มเติมไดจาก Harvey S. Rosen. Public Finance. New York: McGraw-Hill. 2002. บทที่ 4. 13 รังสรรค ธนะพรพันธุ. ทฤษฎีการภาษีอากร. พระนคร: สํานักพิมพเคล็ดไทย. 2516 หนา 7-8. 14 ตัวอยางประสบการณของการตอตานการจัดเก็บภาษีทั้งในตางประเทศและในประเทศไทย อานไดจาก เชน James Adams (1984) , Irene S. Rubin (1998), และ อรนันท กลันทปุระ (2546) เปนตน. หนา 7
  • 9. การจัดการภาครัฐสมัยใหม วีระศักดิ์ เครือเทพ คาดหวังของประชาชนที่มีตอการจัดบริการสาธารณะของรัฐ15 มาตรการเหลานี้เปนสิ่งที่ทาทายนักบริหารใน ยุคปจจุบันที่ประชาชนมักจะสงสัยถึงเหตุผลความจําเปนในการจัดเก็บภาษีของรัฐเปนอยางมาก การพัฒนาประสิทธิภาพของการจัดเก็บรายไดเปนขั้นตอนเริ่มตนในการเพิ่มรายไดใหแกองคกร ปกครองสวนทองถิ่นโดยไมจําเปนตองปรับเปลี่ยนนโยบายภาษีหรือกฎระเบียบขององคกรปกครองสวน ทองถิ่นแตอยางใด องคการบริหารสวนตําบลบึงยี่โถ จังหวัดปทุมธานี ไดเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บ ภาษีโดยการพัฒนาและปรับปรุงฐานขอมูลผูมีหนาที่เสียภาษี เพื่อใชเปนเครื่องมือในการวางแผนการจัดเก็บ รายได และใชในการตรวจสอบและติดตามผลการจัดเก็บภาษีอากร ยอนกลับไปเมื่อป พ.ศ. 2541 อบต. บึงยี่โถ ไดรับถายโอนภารกิจในการจัดเก็บภาษีจากรัฐบาลกลาง ไดพบวาเกิดปญหาการจัดเก็บภาษีไดไมเต็มเม็ดเต็มหนวย และเกิดการสื่อสารกับประชาชนผิดพลาดอยู บอยครั้ง เมื่อคณะผูบริหารไดวิเคราะหถึงสาเหตุของปญหาก็พบวาเกิดจากการที่ฐานขอมูลผูเสียภาษีขาด ความถูกตอง และขอมูลที่มีอยูไมเปนปจจุบัน คณะผูบริหารจึงไดเริ่มดําเนินการพัฒนาฐานขอมูลผูเสียภาษีใน ราวเดือนพฤศจิกายนป 2544 โดยการจัดทํา “แผนที่ภาษี (Tax Map)” โดยใชบุคลากรของ อบต. จํานวน 12 คน ในการคัดลอกฐานขอมูลจากสํานักงานที่ดินอําเภอ และออกเดินสํารวจพื้นที่เพื่อพิจารณาการใชประโยชน จากพื้นที่จริงเปรียบเทียบกับสําเนาโฉนดที่ดินแตละแปลง จากนั้นคณะสํารวจจะนําขอมูลที่ไดจากการสํารวจ มาจัดทําแผนที่ภาษีและบันทึกขอมูลเขาระบบฐานขอมูลคอมพิวเตอรเพื่อใชในการบริหารการจัดเก็บภาษี ทองถิ่นในแตละป ทั้งนี้ ตําบลบึงยี่โถมีพื้นที่ประมาณ 15.39 ตารางกิโลเมตร กระบวนการในการสํารวจและ จัดทําแผนที่ภาษีใชเวลาดําเนินการราว 1 ปเศษ ผลที่ไดรับจากการพัฒนาฐานขอมูลดังกลาวทําให อบต. บึงยี่โถมีฐานขอมูลที่มีความถูกตองและมี ความทันสมัยเนื่องจากมีการปรับปรุงขอมูลเปนประจําทุกเดือน อบต. สามารถใชฐานขอมูลดังกลาวในการ วางแผนจัดเก็บรายได ติดตามเรงรัดการชําระภาษี และรวมถึงการตรวจสอบผลการจัดเก็บภาษีดวย จากการ พัฒนาฐานขอมูลดังกลาว ทําใหจํานวนผูมีหนาที่เสียภาษีในระบบฐานขอมูลเดิมจํานวน 235 รายในป 2544 เพิ่มขึ้นเปนจํานวน 370 รายในป 2546 และสามารถจัดเก็บภาษีทองถิ่นไดในป 2546 จํานวนทั้งสิ้น 7,808,709.12 บาท จากเดิมที่เก็บไดในป 2544 เทากับ 7,124,263.44 หรือจัดเก็บภาษีไดเพิ่มขึ้นประมาณ รอยละ 9.61 สํ า หรั บ องค ก รปกครองส ว นท อ งถิ่ น ที่ มี ข นาดใหญ ก็ ป ระสบผลสํ า เร็ จ ในการดํ า เนิ น การพั ฒ นา ฐานขอมูลภาษีเชนกัน เทศบาลนครนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี ไดพัฒนาประสิทธิภาพในการบริหารจัดเก็บ ภาษีอยางเปนระบบ ไดแก การปรับปรุงฐานขอมูลผูมีหนาที่เสียภาษีทองถิ่น การจัดทําบัญชีผูเสียภาษีแตละ ประเภทแยกออกจากกันเพื่อใหมีความชัดเจนและตรวจสอบไดงาย การพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพใน การใหบริการของเจาพนักงาน เชน เนนการใหบริการที่รวดเร็ว สุภาพและเปนกันเอง และสามารถใหบริการ ไดแบบเบ็ดเสร็จ (One-stop) เปนตน การใหความรูความเขาใจแกประชาชนเกี่ยวกับภาษีอากรประเภทตางๆ และการตรวจสอบผลการปฏิบัติงานในการจัดเก็บภาษีของเจาหนาที่อยางสม่ําเสมอ ในดานการปรับปรุงฐานขอมูลภาษี ราวป พ.ศ. 2544 เทศบาลนครไดเริ่มดําเนินการปรับปรุงขอมูล แผนที่ภาษีในเขตตําบลทาทรายซึ่งมีเนื้อที่ 8 ตารางกิโลเมตรเปนลําดับแรก โดยไดแบงพื้นที่ออกเปน 5 เขต (Block) และยังไดแบงยอยออกเปนเขตยอย 108 แหง (Zone) มีจํานวนแปลงที่ดิน 22,694 แปลง โดยไดแบง 15 Knut Wicksell เปนนักเศรษฐศาสตรการคลังคนแรกๆ ที่ไดเสนอแนวคิดวารัฐบาลจะตองจัดบริการสาธารณะใหแกประชาชนตามที่ประชาชน ตองการในลักษณะที่กอใหเกิดความคุมคากับภาษีอากรที่ประชาชนจาย และในทางกลับกัน เมื่อประชาชนคาดหวังสินคาหรือบริการใดจากรัฐ ก็ จําเปนจะตองใหการสนับสนุนแกรัฐในรูปของการจายภาษีอากรเชนกัน รายละเอียดอานเพิ่มเติมไดจาก Knut Wicksell (1896) อางใน James M. Buchanan, and Richard A. Musgrave. 1999. Public Finance and Public Choice. Massachusetts: MIT Press. หนา 8
  • 10. การจัดการภาครัฐสมัยใหม วีระศักดิ์ เครือเทพ เจาหนาที่ในฝายการคลังออกเปน 4 กลุมๆ ละ 3 คนซึ่งประกอบไปดวยชางโยธา 1 คน และเจาหนาที่ฝาย ทะเบียน 2 คน มีเปาหมายในการสํารวจพื้นที่ใหไดประมาณ 100 แปลงตอสัปดาห และมีการติดตามผลการ ปฏิบัติงานทุก 3 เดือน การสํารวจขอมูลในเขตตําบลทาทรายทั้งหมดใชเวลาในการดําเนินการราว 1 ป 2 เดือน และปจจุบันกําลังขยายผลไปยังตําบลอื่น ผลจากการปรับปรุงฐานขอมูลดังกลาวทําใหจํานวนผูเสียภาษี ในระบบจากเดิมจํานวน 4,047 รายเพิ่มขึ้นเปน 5,551 ราย หรือคิดเปนรอยละ 37.16 และสงผลใหสามารถ จัดเก็บภาษีไดเพิ่มขึ้นจากเดิม 13,154,255 บาทในป 2543 เปนจํานวน 19,905,340 บาทในป 2546 หรือคิด เปนประมาณรอยละ 51.32 สวนในการปรับปรุงระบบการบริหารการจัดเก็บภาษี เทศบาลนครนนทบุรีเนนการประชาสัมพันธให ความรู ค วามเข า ใจกั บ ประชาชนในเรื่ อ งภาษี ท อ งถิ่ น เช น การทํ าป า ยประกาศ ทํ า แผ น พั บ เผยแพร ส ง จดหมายใหแกผูมีหนาที่เสียภาษี ใหบริการสอบถามขอมูลทางโทรศัพท เปนตน นอกจากนี้ยังใหบริการ ประชาชนในดานการตรวจสอบขอมูลฐานภาษีผานเทคโนโลยีสารสนเทศ ทั้งนี้ประชาชนสามารถตรวจสอบ ขอมูลทรัพยสินแตละประเภทกอนการเสียภาษีได เพื่อใหเกิดความมั่นใจวาการประเมินภาษีของเจาพนักงาน มีความถูกตองอยางแทจริง และในการใหบริการดานหนาสํานักงาน (Counter services) จะเนนการใหบริการ ที่รวดเร็วและเบ็ดเสร็จ และเนนการจัดเก็บที่มีความเปนธรรมและสามารถอธิบายได ทั้งนี้ เทศบาลไดพัฒนา ระบบการตรวจสอบผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่โดยการตรวจสอบความรูความเขาใจในงาน ทักษะการ ปฏิบัติงาน ตรวจสอบการประเมินภาษีของเจาพนักงานวามีความถูกตองหรือไม ตรวจสอบจํานวนเงินภาษีที่ จัดเก็บไดจริงเทียบกับการออกใบเสร็จรับเงิน ตรวจสอบผลการจัดเก็บภาษีจริงเทียบกับการประมาณการ และ จัดทําการสํารวจความพึงพอใจของประชาชนที่มีตอการใหบริการจัดเก็บภาษีของเทศบาล โดยจากการ สอบถามประชาชนจํานวน 200 คนในป 2545 พบวา ประชาชนจํานวนรอยละ 51 ติดตอเสียภาษีโดยใชเวลา นอยกวา 10 นาที และประชาชนจํานวนรอยละ 46 ใชเวลาประมาณ 10-30 นาที นอกจากนี้ ผูตอบ แบบสอบถามรอยละ 84 ตอบวาสามารถติดตอไดเสร็จในครั้งเดียว และผูตอบแบบสอบถามสวนใหญพอใจกับ การใหบริการของเจาหนาที่ที่ใหบริการอยางสุภาพ และตอบขอซักถามไดอยางชัดเจน นอกจากการพัฒนาประสิทธิภาพของการบริหารการจัดเก็บภาษีแลว การจัดการภาครัฐสมัยใหม ยังใหความสําคัญกับการสรางเสถียรภาพทางการคลังขององคกรของรัฐในระยะปานกลาง (Medium-term fiscal stability)16 ดวยเหตุผลดังกลาว การวางแผนการเงินการคลังขององคกรปกครองสวนทองถิ่นจึงมีสวน สําคัญที่จะชวยใหการบริหารการเงินและการบริหารสภาพคลองเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และชวยลดความ เสี่ยงทางการคลังที่จะกระทบตอระดับการจัดบริการสาธารณะที่ตอเนื่องขององคกรปกครองสวนทองถิ่นได เทศบาลนครระยอง จังหวัดระยอง ไดใหความสําคัญกับการสรางเสถียรภาพทางการคลังของ หนวยงานในระยะยาว ดวยความรวมมือทางวิชาการกับเมืองพอรตแลนด ประเทศสหรัฐอเมริกาในป 2543 เทศบาลจึงไดพัฒนาแบบจําลองประมาณการรายรับ-รายจายอยางงายสําหรับใชในการวางแผนการเงินการ คลังของเทศบาล แนวคิดหลักของตัวแบบการประมาณการรายรับ-รายจายแสดงในหนาถัดไป จากนั้น เมื่อไดพัฒนากรอบแนวคิดของตัวแบบนี้ขึ้นแลว เทศบาลนครระยองไดพัฒนาโปรแกรม คอมพิวเตอรแผนงาน (Excel Worksheet) ที่เชื่อมโยงการจัดทําแผนการประมาณการรายรับและรายจายเขา ดวยกัน โดยในทางปฏิบัตินั้น ผูปฏิบัติงานจะกรอกขอมูลของปฐาน (Based year) สําหรับใชเปนฐานเริ่มตน ในการประมาณการ จากนั้นจะกําหนดตัวเลขการประมาณการตัวแปรทางเศรษฐกิจ สังคม และประชากร เชน อัตราการขยายตัวหรืออัตราการเปลี่ยนแปลงของขนาดของกิจกรรมที่ใชเปนฐานในการจัดเก็บภาษี จากนั้น 16 สํานักงบประมาณในปจจุบันไดเนนการจัดทําแผนงบประมาณในระยะปานกลาง (Medium-Term Expenditure Framework: MTEF) สําหรับการ บริหารงานคลังของหนวยงานภาครัฐ หนา 9
  • 11. การจัดการภาครัฐสมัยใหม วีระศักดิ์ เครือเทพ จะนําคาตัวแปรเหลานั้นกรอกลงแผนงาน โปรแกรมคอมพิวเตอรก็จะคํานวณตัวเลขการประมาณการรายรับ ประเภทตางๆ โดยอัตโนมัติ และสําหรับการจัดทําประมาณการรายจายก็ใชหลักการพื้นฐานเชนเดียวกันกับ หลักการในการประมาณการรายรับ ยกเวนในกรณีของรายจายเพื่อการลงทุน คณะผูบริหารจะคํานึงถึงการ จัดทําโครงการตามแผนพัฒนาของเทศบาลนครระยองเปนหลักในการจัดทํางบประมาณการลงทุน แนวคิดหลักของตัวแบบการประมาณการรายรับ-รายจาย เทศบาลนครระยอง สมมติฐาน ขอมูลวิเคราะหสภาพเศรษฐกิจ ประชากร และสังคม และผลการจัดเก็บภาษีและการใชจายในอดีต รายไดภาษีอากร คาธรรมเนียมและคาปรับ รายไดจากทรัพยสิน รายไดจากเทศพาณิชย เงินอุดหนุน เงินบริจาคและรายไดอื่น ประมาณการรายรับ 5 ป สมมติฐาน ประมาณการงบดําเนินการ 5 ป ประมาณการงบลงทุน 5 ป ประมาณการงบรายจาย 5 ป แผนประมาณการรายรับ-รายจาย 5 ป เงินสะสม (-) (+) ที่มา: คูมือแบบจําลองการประมาณการรายรับ-รายจาย เทศบาลนครระยอง, พฤศจิกายน 2545. ผลจากการดําเนินการดังกลาวทําใหการบริหารงานของเทศบาลอยูบนฐานการคลังที่มีเสถียรภาพ ใน กรณีที่เทศบาลคาดวาจะมีทรัพยากรเพิ่มขึ้น ก็สามารถจัดทําโครงการจัดบริการใหแกประชาชนเพิ่มเติมได อยางทันทวงที และในกรณีที่เทศบาลพบวาหากประสบปญหาการขาดดุลการคลัง ยอมทําใหผูบริหารสามารถ ดําเนินมาตรการเพื่อรองรับกับปญหาดังกลาวไดเปนการลวงหนา ซึ่งทายที่สุดยอมสงผลใหการจัดบริการ สาธารณะและการดําเนินโครงการตางๆ ไมประสบกับปญหาการหยุดชะงักแตประการใด และยอมสงผลให เทศบาลสามารถจัดบริการสาธารณะไดสอดคลองกับความตองการของประชาชนในสภาวการณตางๆ ได สําหรับการประยุกตใชแนวคิดการจัดการภาครัฐสมัยใหมในการสรางการยอมรับในการเสียภาษีของ ประชาชน นอกจากการใชความสามารถขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในการอธิบายถึงเหตุผลความจําเปน ในการเสียภาษีอากรใหแกประชาชนไดรับทราบและเขาใจแลว การเชื่อมโยงใหประชาชนเห็นถึงประโยชนที่ จะไดรับในรูปของบริการสาธารณะตางๆ ที่จะไดจากการเสียภาษีอากรใหแกรัฐอยางเปนรูปธรรมก็เปน มาตรการหนึ่งที่ชวยใหประสบความสําเร็จในการดําเนินการ องคการบริหารสวนตําบลหวยกะป จังหวัด ชลบุรี ไดดําเนินมาตรการหลายประการในการสรางความยอมรับในการเสียภาษีทองถิ่นใหแก อบต. อบต.หวยกะปเริ่มตนทิศทางการบริหารในยุคใหมโดยการจัดทําแบบสํารวจความตองการบริการ สาธารณะของประชาชน พรอมทั้ง ใหประชาชนจั ดลําดั บความสําคัญ เรงดวนของความตองการเหลานั้ น จากนั้น อบต. จะนําผลสํารวจความตองการดังกลาวมาประมวลผลและบรรจุเขาเปนแผนพัฒนาตําบล และ ตอจากนั้น คณะผูบริหารจะนําแผนพัฒนาดังกลาวมาพิจารณาถึงการจัดเก็บภาษีอากร ทั้งนี้มาตรการที่ได หนา 10