SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
นักคณิตศาสตร์ของโลก นายนุกูล  แจ้งสว่าง ชั้นปี  2  โปรแกรมวิชาคณิตศาสตร์  คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
ยูคลิด  ( Euclid )
ยูคลิด  ( Euclid )  ยูคลิดเป็นนักคณิตศาสตร์ที่สำคัญ และเป็นที่รู้จักกันดี ยูคลิดเกิดที่เมืองอเล็กซานเดรีย ประเทศอิยิปต์ เมื่อราว  365   ปี ก่อนคริสตกาล เมื่อมีชีวิตอยู่จนกระทั่งประมาณปี  300   ก่อนคริสตกาล สิ่งที่มีชื่อเสียงคือผลงานเรื่อง  The Elements หลักฐานและเรื่องราวเกี่ยวกับตัวยูคลิดยังคงสับสน เพราะมีผู้เขียนไว้หลายรูปแบบ อย่างไรก็ตามผลงานเรื่อง  The Elements  ยังคงหลงเหลืออยู่จนถึงทุกวันนี้ จากหลักฐานที่สับสนทำให้สันนิษฐานที่เกี่ยวกับยูคลิดมีหลายแนวทาง เช่น ยูคลิดเป็นบุคคลที่เขียนเรื่อง  The Element  หรือยูคลิดเป็นหัวหน้าทีมนักคณิตศาสตร์ที่อาศัยอยู่ที่อเล็กซานเดรีย และได้ช่วยกันเขียนเรื่อง  The Elements  อย่างไรก็ดีส่วนใหญ่ก็มั่นใจว่ายูคลิดมีตัวตนจริง และเป็นปราชญ์อัจฉริยะทางด้านคณิตศาสตร์ที่มีชีวิตในยุคกว่า  2,000   ปี
ผลงาน  ผลงานชิ้นสำคัญของยุคลิดคือการเขียนตำราทางคณิตศาสตร์และดาราศาสตร์ ผลงานที่ยังคงอยู่ในปัจจุบัน  5  ชิ้น คือ  Division of Figures , Data  , Phaenomena , Optic  และ  Elements   Elements  ประกอบด้วยหนังสือ  13  เล่ม และทฤษฎีบท  465  ทฤษฎีบท เป็นต้น แบบของตำราคณิตศาสตร์ โดยใช้วิธีนิรนัย  ( Deduction )  เนื้อหาส่วนใหญ่จะเกี่ยวกับเรขาคณิต แบบยุคลิด แต่ก็มีเนื้อหาคณิตศาสตร์อื่นๆ ด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งทฤษฎีจำนวน
ปีทาโกรัส  ( Pythagoras )
ประวัติ  ปีทาโกรัสเป็นชาวกรีก เกิดที่เกาะซามอสใกล้กับเอเซียไมเนอร์ เนื่องจากทรราช  Polycrates  ท่านจำต้องออกจากเกาะซามอส กล่าวกันว่าท่านเคยศึกษาที่อียิปต์และ เป็นศิษย์ของทาลิส ปีทาโกรัสได้ก่อตั้งสำนักปิทาโกเรียน ที่เมือง  Crotona  ซึ่งอยู่ทางตอนใต้ของ ประเทศอิตาลี ปีทาโกรัสคิดว่าปริมาณต่าง ๆ ในธรรมชาติสามารถเขียนในรูปเศษส่วนของ จำนวนนับ จนมีคำขวัญของสำนักว่า  " ทุกสิ่งคือจำนวนนับ "  เมื่อมีการค้นพบจำนวนอตรรกยะขึ้น ทำให้ปีทาโกรัสและศิษย์ทั้งหลายเสียขวัญและกำลังใจ เมื่อทางราชการขับไล่เพราะกล่าวหาว่า สำนักปีทาโกเรียนเป็นสถาบันศักดินา สำนักปีทาโกเรียนก็สูญสลายไป 
ผลงาน  เราไม่ทราบแน่ชัดว่าผลงานชิ้นใดเป็นของปีทาโกรัส ชิ้นใดเป็นของลูกศิษย์ จึงกล่าวรวม ๆ ว่าเป็นของสำนักปีทาโกเรียน ซึ่งมีดังนี้  1 .  จำนวนคู่และจำนวนคี่  2 .  ค้นพบความสัมพันธ์ระหว่างเศษส่วนกับทฤษฎีของดนตรี  3 .  จำนวนเชิงรูปเหลี่ยม เช่น จำนวนเชิงสามเหลี่ยม  ,  จำนวนเชิงจตุรัส  4 .  จำนวนอตรรกยะ  5 .  พีชคณิตเชิงเรขาคณิต  6 .  พิสูจน์ทฤษฎีบทปีทาโกรัส
ปิแยร์ เดอ แฟร์มาต์  ( Pierre de Fermat ) 
ประวัติ  แฟร์มาต์เกิดใกล้เมือง  Toulouse  ประเทศฝรั่งเศส ในปี  1601  และถึง แก่กรรมที่เมือง  Castres  ในปี  1665  บิดาเป็นพ่อค้าเครื่องหนัง ในวัยเด็กศึกษาอยู่ กับบ้าน แฟร์มาต์มีอาชีพเป็นนักกฎหมาย เมื่ออายุ  30  ปี ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นที่ ปรึกษากฎหมายอขงองค์การบริหารส่อนท้องถิ่นของเมือง  Toulouse  ท่านได้ใช้ เวลาว่างศึกษาค้นคว้าคณิตศาสตร์ เป็นสื่อกลางในการติดต่อกับนักคณิตศาสตร์ ที่มีชื่อเสียงในสมัยนั้น มีส่วนในการพัฒนาคณิตศาสตร์ในหลายสาขา นับได้ว่าเป็น นักคณิตศาสตร์สมัครเล่นที่มีชื่อเสียงที่สุด
ผลงาน  1 .  ริเริ่มพัฒนาเรขาคณิตวิเคราะห์ ในระยะเวลาใกล้กันกับเดส์การ์ตส์  2 .  ริเริ่มวิธีหาเส้นสัมผัสเส้นโค้ง หาค่าสูงสุดและต่ำสุดของฟังก์ชัน  3 .  ริเริ่มพัฒนาทฤษฎีความน่าจะเป็น ร่วมกับปาสกาล  4 .  พัฒนาทฤษฎีบทต่าง ในทฤษฎีจำนวน เช่น  Fermat's two square theorem  :  ทุกจำนวนเฉพาะในรูป  4n  +  1   สามารถเขียน ในรูปผลบวกของจำนวนเต็มยกกำลังสองได้คู่หนึ่งและคู่เดียวเท่านั้น  Fermat's theorem  :  ถ้า  p  เป็นจำนวนเฉพาะและ  n  เป็นจำนวนเต็มบวก จำได้ว่า  p  หาร  n p  -  n  ลงตัว
แบลส ปาสกาล  ( Blaise Pascal )
ประวัติ  ปาสกาลเกิดที่เมือง  Chermont  มณฑล  Auvergne  ประเทศฝรั่งเศส เมื่อวันที่  16  มิถุนายน ค . ศ . 1623  บิดาเป็นนักคณิตศาสตร์และผู้พิพากษา ปาสกาล มีความเป็นอัจฉริยะทางคณิตศาสตร์ตั้งแต่เด็ก  อายุ  12  ปี ท่านได้พัฒนาเรขาคณิต เบื้องต้นด้วยตนเอง  อายุ  14  ปี ท่านได้เข้าร่วมประชุมกับนักคณิตศาสตร์ฝรั่งเศส  อายุ  16  ปี ท่านได้พัฒนาทฤษฎีบทที่สำคัญในวิชาเราขาคณิตโพรเจคตีฟ  และเมื่ออายุ  19  ปี ท่านได้พัฒนาเครื่องคิดเลข  ภายหลังจากที่ท่านประสบอุบัติเหตุที่  Neuilly  ท่านหันความสนใจไปทางศาสนา และปรัชญา ไม่เช่นนั้นท่านคงเป็นนักคณิตศาสตร์ ที่รุ่งโรจน์ที่สุดคนหนึ่ง
ผลงาน  1.   งานเขียน  Essay pour les coniques  (1640 )  ซึ่งสรุปทฤษฎีบท เกี่ยวกับเรขาคณิตโพรเจกตีฟ ที่ท่านได้พัฒนามาแล้วเมื่ออายุได้  16  ปี  2.   งานเขียน  Traite du traingle arithmetique  (1665)  ซึ่งเกี่ยวกับ  " Chinese triangle "  หรือในอดีตนิยมเรียกว่า  " Pascal triangle "  เพราะคิดว่า  Pascal  เป็นผู้คิดเป็นคนแรก แต่ที่แท้จริงได้มีชาวจีนพัฒนามาก่อนแล้ว  3 .  ริเริ่มพัฒนาทฤษฎีความน่าจะเป็นในปี ค . ศ . 1654  ร่วมกับ  Fermat  โดยใช้วิธีที่แตกต่างกัน  4 .  ศึกษาเส้นโค้ง  Cycloid
เลออนฮาร์ด ออยเลอร์  ( Leonhard Euler )
เลออนฮาร์ด ออยเลอร์  ( Leonhard Euler ) [ oi'l?r ] ( 15  เมษายน พ . ศ . 2250 -18  กันยายน พ . ศ . 2326 )  เป็น นักคณิตศาสตร์ และ นักฟิสิกส์ ชาวสวิส เขาได้ชื่อว่าเป็นนักคณิตศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดคนหนึ่งเท่าที่เคยมี เลออนฮาร์ด ออยเลอร์ เป็นคนแรกที่ใช้คำว่า  "  ฟังก์ชัน  " ( ตามคำนิยามของ ไลบ์นิซ ใน ค . ศ . 1694)  ในการบรรยายถึงความสัมพันธ์ ที่เกี่ยวข้องกับตัวแปร เช่น  y = f (x)  เขายังได้ชื่อว่าเป็นคนแรกที่ประยุกต์ แคลคูลัส เข้าไปยังวิชา ฟิสิกส์
ออยเลอร์เกิดและโตในเมือง บาเซิล เขาเป็นเด็กที่มีความเป็นอัจริยะทางคณิตศาสตร์ เขาเป็นศาสตราจารย์สอนวิชาคณิตศาสตร์ที่ เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก และต่อมาก็สอนที่ เบอร์ลิน และได้ย้อนกลับไปยังเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กอีกครั้ง เขาเป็นนักคณิตศาสตร์มีผลงานมากมายที่สุดคนหนึ่ง ผลงานทั้งหมดของเขารวบรวมได้ถึง  75  เล่ม ผลงานของเขามีอิทธิพลอย่างมากต่อผลงานทางคณิตศาสตร์ในศตวรรษที่  18  เขาต้องสูญเสียการมองเห็น และตาบอดสนิทตลอด  17  ปีสุดท้ายในชีวิตของเขา ซึ่งในช่วงนี้เองที่เขาสามารถผลิตผลงานได้ถึงเกือบครึ่งหนึ่งของผลงานทั้งหมดของเขา ดาวเคราะห์น้อย  2002  ออยเลอร์ ได้ถูกตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่เขา
กอทท์ฟรีด วิลเฮล์ม ฟอน ไลบ์นิซ
กอทท์ฟรีด วิลเฮล์ม ฟอน ไลบ์นิซ   ( อังกฤษ   Gottfried Wilhelm von Leibniz ) (1  กรกฎาคม ค . ศ . 1646 ( พ . ศ . 2189)  ในเมืองไลป์ซิก ประเทศเยอรมนี  1  กรกฎาคม ค . ศ . 1646 - 4  พฤศจิกายน ค . ศ . 1716 ( พ . ศ . 2259))  เป็นนักปรัชญา ,   นักวิทยาศาสตร์ ,   นักคณิตศาสตร์ ,   นักการทูต ,   บรรณารักษ์ และ นักกฎหมาย ชาวเยอรมันเชื้อสายเซิบ เขาเป็นคนที่เริ่มใช้คำว่า  " ฟังก์ชัน "  สำหรับอธิบายปริมาณที่เกี่ยวกับเส้นโค้ง เช่น ความชันของเส้นโค้ง หรือจุดบางจุดของเส้นโค้งดังกล่าว ไลบ์นิซและนิวตันได้รับการยกย่องร่วมกันว่าเป็นผู้เริ่มพัฒนาแคลคูลัส โดยเฉพาะส่วนของไลบ์นิซในการพัฒนาปริพันธ์และกฎผลคูณ
เซอร์ไอแซก นิวตัน  ( Sir Isaac Newton )
เซอร์ไอแซก นิวตัน  ( Sir Isaac Newton ) (4  มกราคม พ . ศ . 2186 - 31  มีนาคม พ . ศ . 2270 ( ตามปฏิทินเกรกอเรียน )  หรือ  25  ธันวาคม พ . ศ . 2185- 20  มีนาคม พ . ศ . 2270  ตามปฏิทินจูเลียน )   นักฟิสิกส์ นักคณิตศาสตร์และนักดาราศาสตร์ชาวอังกฤษผู้มีชื่อเสียงที่สุดในประวัติศาสตร์ของอังกฤษ นิวตันเกิดที่เมืองวูลสธอร์ป ลิงคอนไชร์ ประเทศอังกฤษ
แบร์นฮาร์ด รีมันน์  ( Bernhard Riemann )
  รีมันน์เกิดที่  Breselenz  ใน  Hanover  ประเทศเยอรมนี บิดาเป็นนักบวชนิกายลูเธอร์แลนด์ รัมันน์เป็นคนสงบเสงี่ยมและขี้โรค ถึงแม้ว่าฐานนะทางบ้านของรีมันน์จะไม่ดีนัก แต่ก็ได้รับการศึกษาอย่างดีเยี่ยม ท่านเริ่มศึกษาเทวศาสตร์ที่มหาวิทยาลัย  Gottingen  แล้วเปลี่ยนเป็นนักคณิตศาสตร์ ศึกษาอยู่ที่นี่เพียง  1  ปี ก็ย้ายไปเป็นลูกศิษย์ของ  Dirichlet  ที่มหาวิทยาลัย  Berlin 2   ปีต่อมาท่านกลับไปศึกษาที่มหาวิทยาลัย  Gottingen  และได้รับปริญญาเอกเมื่อปี ค . ศ .1851            ในปี ค . ศ .1854  ท่านได้รับแต่งตั้งเป็นผู้บรรยายที่มหาวิทยาลัย  Gottingen  โดยไม่ได้เงินเดือน ต่อมาเมื่อ  Gauss  ซึ่งเป็นศาสตราจารย์ที่  Gottingen  ถึงแก่กรรม  Dirichlet  ได้เป็นศาสตราจารย์ที่  Gottingen  และสนับสนุนรีมันน์ให้ได้รับตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ และเมื่อ  Dirichlet  ถึงแก่กรรมในปี  1859  รัมมันน์ ก็ได้รับตำแหน่งเป็นศาสตราจารย์ รีมันน์ถึงแก่กรรมในปี  1866  เนื่องจากเป็นวัณโรคที่ภาคเหนือของอิตาลี  
ผลงาน                    1. พัฒนาทฤษฎีบทฟังก์ชันเชิงซ้อน                    2. เสนอมโนมติเกี่ยวกับ  Riemann surface  ซึ่งนำทอพอโลยีมาใช้ในการวิเคราะห์                    3. พัฒนามโนมติของอินทิกรัลอย่างแจ่มชัด ซึ่งมีชื่อเรียกในปัจจุบันว่า  Riemann integral                    4. เสนอสัจพจน์ที่เป็นรากฐานของเรขาคณิตและแสดงข้อแตกต่างระหว่างการต่อไปเรื่อยๆ และความยาวไม่จำกัดของเส้นและระนาบ ก่อให้เกิดเรขาคณิตแนวใหม่ชื่อ  Riemann geometry  หรือ  Elliptic Geometry                    5. คิดทฤษฎีบทเกี่ยวกับจำนวนเฉพาะ
โยฮันน์ คาร์ล ฟรีดริช เกาส์
โยฮันน์ คาร์ล ฟรีดริช เกาส์   ( Johann Carl Friedrich Gauß )  นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน เกิดเมื่อวันที่  30  เมษายน  พ . ศ . 2302 ( ค . ศ . 1777)  เสียชีวิต  23  กุมภาพันธ์ พ . ศ . 2398 ( ค . ศ . 1855)  เป็นหนึ่งในตำนานนักคณิตศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์  ( นักคณิตศาสตร์บางท่านกล่าวว่าสี่ผู้ยิ่งใหญ่ของวงการคณิตศาสตร์มี อาร์คิมิดีส นิวตัน เกาส์ และออยเลอร์ )  ได้รับฉายาว่า  " เจ้าชายแห่งคณิตศาสตร์ " ( Prince of Mathematics )  เนื่องจากอุทิศผลงานในทุก ๆ ด้านของคณิตศาสตร์ในยุคสมัยของเขา นอกจากนี้เกาส์ยังมีผลงานสำคัญทางด้านฟิสิกส์ โดยเฉพาะด้านดาราศาสตร์อีกด้วย
อาร์คีมีดีส
  อาร์คิมีดีสเป็นนักปราชญ์ชาวกรีก เกิดที่ เมืองไซราคิวส์  ( Syracuse )  บนเกาะซิซิลี  ( Sicily )  เมื่อประมาณ  287  ก่อนคริสต์ศักราชบิดาของเขาเป็นนักดาราศาสตร์ชื่อ ไฟดาส  ( Pheidias )  อาร์คิมีดีสมีความสนใจในวิชาคณิตศาสตร์เป็นอย่างมาก เขาจึง เดินทางไปศึกษาวิชาคณิตศาสตร์กับอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญด้านคณิตศาสตร์นามว่า ซีนอนแห่งซามอส ซึ่งก็เป็นลูกศิษย์คนเก่งของนักปราชญ์เลื่องชื่อลือนามว่า ยูคลิด  ( Euclid )  ที่เมืองอาเล็กซานเดรีย  ( Alexandria )  ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นศูนย์กลางแห่งวิชาการของกรีกในสมัยนั้น  ผลงาน      -  กฎของอาร์คิมีดีส  ( Archimedes Principle )  ที่กล่าวว่า  " ปริมาตรของวัตถุส่วนที่จมลงในน้ำย่อมเท่ากับปริมาตรของน้ำที่ถูกแทนที่ด้วยวัตถุ "  ซึ่งกฎข้อนี้ได้นำไปใช้ประโยชน์ในการหาความถ่วงจำเพาะของวัตถุ               -  ประดิษฐ์เครื่องทุ่นแรง ได้แก่ คานดีดคานงัด รอก ระหัดวิดน้ำ และล้อกับเพลา               -  อาวุธสงคราม
อันเดรย์ นิโคลาเยวิช คอลโมโกรอฟ
อันเดรย์ นิโคลาเยวิช คอลโมโกรอฟ (1903 - 1987) (  อังกฤษ :  Andrey Nikolaevich Kolmogorov),  เกิดเมื่อวันที่  25   เมษายน ค . ศ . 1903   เสียชีวิต  20   ตุลาคม ค . ศ . 1987 ,  เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวรัสเซีย ยักษ์ใหญ่ในวงการคณิตศาสตร์ในคริสต์ศตวรรษที่  20   โดยมีผลงานโดดเด่นมากในงาน ทฤษฎีความน่าจะเป็นและทอพอโลยี .  อันที่จริงแล้ว คอลโมโกรอฟมีผลงานในแทบทุกแขนงของคณิตศาสตร์ เช่น ตรรกศาสตร์ ,  อนุกรมฟูเรียร์ ,  ความปั่นป่วน  ( turbulence),  กลศาสตร์คลาสสิก นอกจากนี้ยังเป็นหนึ่งในผู้คิดค้น ความซับซ้อนแบบคอลโมโกรอฟ ร่วมกับ เกรโกรี ไชตัง และ เรย์ โซโลโมนอฟ ในช่วงช่วงปี ค . ศ . 1960  ถึง ค . ศ . 1970
บารอนชอง แบบทิสต์ โจเซฟ ฟูร์เยร์
         บารอนชอง แบบทิสต์ โจเซฟ ฟูร์เยร ์  ( Jean Baptiste Joseph Fourier  พ . ศ . 2311 – 2373  )  นักคณิตศาสตร์ ได้หันมาสนใจคณิตศาสตร์ประยุกต์เป็นครั้งแรก ในขณะที่กำลังทดลองเกี่ยวกับการไหลของความร้อน ฟูร์เยร์ก็ได้ค้นพบสมการการไหลนี้ ซึ่งต่อมาได้ตั้งชื่อเป็น สมการฟูร์เยร์ เพื่อแก้ปัญหาและพิสูจน์สมการนี้ ฟูร์เยร์ได้แสดงให้เห็นว่าฟังค์ชันหลายฟังค์ชันของตัวแปรเดี่ยวสามารถขยายออก เป็นอนุกรมของ ไซน์  ( sines)  เชิงซ้อนของตัวแปร                          ที่เรียกในภายหลังว่า   " อนุกรมฟูร์เยร์ "

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”กอฟ กอฟ
 
รูปเล่มโครงงานคอมพิวเตอร์
รูปเล่มโครงงานคอมพิวเตอร์รูปเล่มโครงงานคอมพิวเตอร์
รูปเล่มโครงงานคอมพิวเตอร์krunueng1
 
การเงินและการธนาคาร
การเงินและการธนาคารการเงินและการธนาคาร
การเงินและการธนาคารtumetr1
 
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กจานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กBenz Paengpipat
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานtongkesmanee
 
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพรโครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพรNattakarntick
 
นักคณิตศาสตร์ของโลก
นักคณิตศาสตร์ของโลกนักคณิตศาสตร์ของโลก
นักคณิตศาสตร์ของโลกguesta30f391
 
การใช้แผนที่
การใช้แผนที่การใช้แผนที่
การใช้แผนที่thnaporn999
 
บทคัดย่อ กิติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ กิติกรรมประกาศบทคัดย่อ กิติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ กิติกรรมประกาศAtsada Pasee
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อKruthai Kidsdee
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง พลังงานแสงและระบบสุริยะ
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง พลังงานแสงและระบบสุริยะเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง พลังงานแสงและระบบสุริยะ
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง พลังงานแสงและระบบสุริยะKan Pan
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด Utai Sukviwatsirikul
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทPadvee Academy
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กPloy Siriwanna
 
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)Aom S
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นRitthinarongron School
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์Jiraporn
 
การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์
การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์
การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์Jintana Kujapan
 

What's hot (20)

เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”
 
รูปเล่มโครงงานคอมพิวเตอร์
รูปเล่มโครงงานคอมพิวเตอร์รูปเล่มโครงงานคอมพิวเตอร์
รูปเล่มโครงงานคอมพิวเตอร์
 
การเงินและการธนาคาร
การเงินและการธนาคารการเงินและการธนาคาร
การเงินและการธนาคาร
 
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กจานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพรโครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
 
นักคณิตศาสตร์ของโลก
นักคณิตศาสตร์ของโลกนักคณิตศาสตร์ของโลก
นักคณิตศาสตร์ของโลก
 
การใช้แผนที่
การใช้แผนที่การใช้แผนที่
การใช้แผนที่
 
บทคัดย่อ กิติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ กิติกรรมประกาศบทคัดย่อ กิติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ กิติกรรมประกาศ
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง พลังงานแสงและระบบสุริยะ
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง พลังงานแสงและระบบสุริยะเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง พลังงานแสงและระบบสุริยะ
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง พลังงานแสงและระบบสุริยะ
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้ก
 
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
 
การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์
การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์
การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์
 

Viewers also liked

ประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลกประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลกguest694cc9f
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลกประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลกguest694cc9f
 
นักคณิตศาสตร์โลก
นักคณิตศาสตร์โลกนักคณิตศาสตร์โลก
นักคณิตศาสตร์โลกguest694cc9f
 
ร้อยละดอกเบี้ย
ร้อยละดอกเบี้ยร้อยละดอกเบี้ย
ร้อยละดอกเบี้ยkroojaja
 
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละ
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละ
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละmakotosuwan
 
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนโจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนNok Yupa
 
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละหน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละfern1707
 

Viewers also liked (7)

ประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลกประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลกประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
 
นักคณิตศาสตร์โลก
นักคณิตศาสตร์โลกนักคณิตศาสตร์โลก
นักคณิตศาสตร์โลก
 
ร้อยละดอกเบี้ย
ร้อยละดอกเบี้ยร้อยละดอกเบี้ย
ร้อยละดอกเบี้ย
 
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละ
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละ
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละ
 
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนโจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
 
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละหน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
 

Similar to นักคณิตศาสตร์ของโลก

ประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลกประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลกMuntana Pannil
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์-ออยเลอร์
ประวัตินักคณิตศาสตร์-ออยเลอร์ประวัตินักคณิตศาสตร์-ออยเลอร์
ประวัตินักคณิตศาสตร์-ออยเลอร์คุณครูพี่อั๋น
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์
ประวัตินักคณิตศาสตร์ประวัตินักคณิตศาสตร์
ประวัตินักคณิตศาสตร์guesta3302b1
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลกประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลกguest694cc9f
 
นักคณิตศาสตร์โลก
นักคณิตศาสตร์โลกนักคณิตศาสตร์โลก
นักคณิตศาสตร์โลกguest694cc9f
 
นักคณิตศาสตร์โลก
นักคณิตศาสตร์โลกนักคณิตศาสตร์โลก
นักคณิตศาสตร์โลกguest694cc9f
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์
ประวัตินักคณิตศาสตร์ประวัตินักคณิตศาสตร์
ประวัตินักคณิตศาสตร์guesta3302b1
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์
ประวัตินักคณิตศาสตร์ประวัตินักคณิตศาสตร์
ประวัตินักคณิตศาสตร์guesta3302b1
 
ประวัติย่อของคณิตศาสตร์
ประวัติย่อของคณิตศาสตร์ประวัติย่อของคณิตศาสตร์
ประวัติย่อของคณิตศาสตร์Anchalee Dhammakhun
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์ของโลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์ของโลกประวัตินักคณิตศาสตร์ของโลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์ของโลกเมธี วรรณวงค์
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์
ประวัตินักคณิตศาสตร์ประวัตินักคณิตศาสตร์
ประวัตินักคณิตศาสตร์kat katt
 
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรมความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรมguestf6be25a
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลกประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลกguest694cc9f
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลกประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลกguest694cc9f
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลกประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลกguest694cc9f
 

Similar to นักคณิตศาสตร์ของโลก (20)

ประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลกประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลก
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์-ออยเลอร์
ประวัตินักคณิตศาสตร์-ออยเลอร์ประวัตินักคณิตศาสตร์-ออยเลอร์
ประวัตินักคณิตศาสตร์-ออยเลอร์
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์
ประวัตินักคณิตศาสตร์ประวัตินักคณิตศาสตร์
ประวัตินักคณิตศาสตร์
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลกประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
 
นักคณิตศาสตร์โลก
นักคณิตศาสตร์โลกนักคณิตศาสตร์โลก
นักคณิตศาสตร์โลก
 
นักคณิตศาสตร์โลก
นักคณิตศาสตร์โลกนักคณิตศาสตร์โลก
นักคณิตศาสตร์โลก
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์
ประวัตินักคณิตศาสตร์ประวัตินักคณิตศาสตร์
ประวัตินักคณิตศาสตร์
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์
ประวัตินักคณิตศาสตร์ประวัตินักคณิตศาสตร์
ประวัตินักคณิตศาสตร์
 
ประวัติย่อของคณิตศาสตร์
ประวัติย่อของคณิตศาสตร์ประวัติย่อของคณิตศาสตร์
ประวัติย่อของคณิตศาสตร์
 
Math
MathMath
Math
 
Math
MathMath
Math
 
Miraculous Year by Prof.Dr.Pairash
Miraculous Year by Prof.Dr.PairashMiraculous Year by Prof.Dr.Pairash
Miraculous Year by Prof.Dr.Pairash
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์ของโลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์ของโลกประวัตินักคณิตศาสตร์ของโลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์ของโลก
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์
ประวัตินักคณิตศาสตร์ประวัตินักคณิตศาสตร์
ประวัตินักคณิตศาสตร์
 
Math
MathMath
Math
 
Math
MathMath
Math
 
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรมความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลกประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลกประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลกประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
 

More from guesta30f391

พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยพืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยguesta30f391
 
พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยพืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยguesta30f391
 
พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยพืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยguesta30f391
 
พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยพืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยguesta30f391
 
พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยพืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยguesta30f391
 
พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยพืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยguesta30f391
 
นักคณิตศาสตร์ของโลก
นักคณิตศาสตร์ของโลกนักคณิตศาสตร์ของโลก
นักคณิตศาสตร์ของโลกguesta30f391
 

More from guesta30f391 (7)

พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยพืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
 
พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยพืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
 
พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยพืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
 
พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยพืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
 
พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยพืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
 
พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยพืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
 
นักคณิตศาสตร์ของโลก
นักคณิตศาสตร์ของโลกนักคณิตศาสตร์ของโลก
นักคณิตศาสตร์ของโลก
 

นักคณิตศาสตร์ของโลก

  • 1. นักคณิตศาสตร์ของโลก นายนุกูล แจ้งสว่าง ชั้นปี 2 โปรแกรมวิชาคณิตศาสตร์ คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
  • 3. ยูคลิด ( Euclid )  ยูคลิดเป็นนักคณิตศาสตร์ที่สำคัญ และเป็นที่รู้จักกันดี ยูคลิดเกิดที่เมืองอเล็กซานเดรีย ประเทศอิยิปต์ เมื่อราว 365 ปี ก่อนคริสตกาล เมื่อมีชีวิตอยู่จนกระทั่งประมาณปี 300 ก่อนคริสตกาล สิ่งที่มีชื่อเสียงคือผลงานเรื่อง The Elements หลักฐานและเรื่องราวเกี่ยวกับตัวยูคลิดยังคงสับสน เพราะมีผู้เขียนไว้หลายรูปแบบ อย่างไรก็ตามผลงานเรื่อง The Elements ยังคงหลงเหลืออยู่จนถึงทุกวันนี้ จากหลักฐานที่สับสนทำให้สันนิษฐานที่เกี่ยวกับยูคลิดมีหลายแนวทาง เช่น ยูคลิดเป็นบุคคลที่เขียนเรื่อง The Element หรือยูคลิดเป็นหัวหน้าทีมนักคณิตศาสตร์ที่อาศัยอยู่ที่อเล็กซานเดรีย และได้ช่วยกันเขียนเรื่อง The Elements อย่างไรก็ดีส่วนใหญ่ก็มั่นใจว่ายูคลิดมีตัวตนจริง และเป็นปราชญ์อัจฉริยะทางด้านคณิตศาสตร์ที่มีชีวิตในยุคกว่า 2,000 ปี
  • 4. ผลงาน  ผลงานชิ้นสำคัญของยุคลิดคือการเขียนตำราทางคณิตศาสตร์และดาราศาสตร์ ผลงานที่ยังคงอยู่ในปัจจุบัน 5 ชิ้น คือ Division of Figures , Data , Phaenomena , Optic และ Elements   Elements ประกอบด้วยหนังสือ 13 เล่ม และทฤษฎีบท 465 ทฤษฎีบท เป็นต้น แบบของตำราคณิตศาสตร์ โดยใช้วิธีนิรนัย ( Deduction ) เนื้อหาส่วนใหญ่จะเกี่ยวกับเรขาคณิต แบบยุคลิด แต่ก็มีเนื้อหาคณิตศาสตร์อื่นๆ ด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งทฤษฎีจำนวน
  • 6. ประวัติ  ปีทาโกรัสเป็นชาวกรีก เกิดที่เกาะซามอสใกล้กับเอเซียไมเนอร์ เนื่องจากทรราช Polycrates ท่านจำต้องออกจากเกาะซามอส กล่าวกันว่าท่านเคยศึกษาที่อียิปต์และ เป็นศิษย์ของทาลิส ปีทาโกรัสได้ก่อตั้งสำนักปิทาโกเรียน ที่เมือง Crotona ซึ่งอยู่ทางตอนใต้ของ ประเทศอิตาลี ปีทาโกรัสคิดว่าปริมาณต่าง ๆ ในธรรมชาติสามารถเขียนในรูปเศษส่วนของ จำนวนนับ จนมีคำขวัญของสำนักว่า " ทุกสิ่งคือจำนวนนับ " เมื่อมีการค้นพบจำนวนอตรรกยะขึ้น ทำให้ปีทาโกรัสและศิษย์ทั้งหลายเสียขวัญและกำลังใจ เมื่อทางราชการขับไล่เพราะกล่าวหาว่า สำนักปีทาโกเรียนเป็นสถาบันศักดินา สำนักปีทาโกเรียนก็สูญสลายไป 
  • 7. ผลงาน  เราไม่ทราบแน่ชัดว่าผลงานชิ้นใดเป็นของปีทาโกรัส ชิ้นใดเป็นของลูกศิษย์ จึงกล่าวรวม ๆ ว่าเป็นของสำนักปีทาโกเรียน ซึ่งมีดังนี้ 1 . จำนวนคู่และจำนวนคี่  2 . ค้นพบความสัมพันธ์ระหว่างเศษส่วนกับทฤษฎีของดนตรี  3 . จำนวนเชิงรูปเหลี่ยม เช่น จำนวนเชิงสามเหลี่ยม , จำนวนเชิงจตุรัส  4 . จำนวนอตรรกยะ  5 . พีชคณิตเชิงเรขาคณิต  6 . พิสูจน์ทฤษฎีบทปีทาโกรัส
  • 9. ประวัติ  แฟร์มาต์เกิดใกล้เมือง Toulouse ประเทศฝรั่งเศส ในปี 1601 และถึง แก่กรรมที่เมือง Castres ในปี 1665 บิดาเป็นพ่อค้าเครื่องหนัง ในวัยเด็กศึกษาอยู่ กับบ้าน แฟร์มาต์มีอาชีพเป็นนักกฎหมาย เมื่ออายุ 30 ปี ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นที่ ปรึกษากฎหมายอขงองค์การบริหารส่อนท้องถิ่นของเมือง Toulouse ท่านได้ใช้ เวลาว่างศึกษาค้นคว้าคณิตศาสตร์ เป็นสื่อกลางในการติดต่อกับนักคณิตศาสตร์ ที่มีชื่อเสียงในสมัยนั้น มีส่วนในการพัฒนาคณิตศาสตร์ในหลายสาขา นับได้ว่าเป็น นักคณิตศาสตร์สมัครเล่นที่มีชื่อเสียงที่สุด
  • 10. ผลงาน  1 . ริเริ่มพัฒนาเรขาคณิตวิเคราะห์ ในระยะเวลาใกล้กันกับเดส์การ์ตส์  2 . ริเริ่มวิธีหาเส้นสัมผัสเส้นโค้ง หาค่าสูงสุดและต่ำสุดของฟังก์ชัน  3 . ริเริ่มพัฒนาทฤษฎีความน่าจะเป็น ร่วมกับปาสกาล  4 . พัฒนาทฤษฎีบทต่าง ในทฤษฎีจำนวน เช่น  Fermat's two square theorem : ทุกจำนวนเฉพาะในรูป 4n + 1 สามารถเขียน ในรูปผลบวกของจำนวนเต็มยกกำลังสองได้คู่หนึ่งและคู่เดียวเท่านั้น  Fermat's theorem : ถ้า p เป็นจำนวนเฉพาะและ n เป็นจำนวนเต็มบวก จำได้ว่า p หาร n p - n ลงตัว
  • 11. แบลส ปาสกาล ( Blaise Pascal )
  • 12. ประวัติ  ปาสกาลเกิดที่เมือง Chermont มณฑล Auvergne ประเทศฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน ค . ศ . 1623 บิดาเป็นนักคณิตศาสตร์และผู้พิพากษา ปาสกาล มีความเป็นอัจฉริยะทางคณิตศาสตร์ตั้งแต่เด็ก  อายุ 12 ปี ท่านได้พัฒนาเรขาคณิต เบื้องต้นด้วยตนเอง  อายุ 14 ปี ท่านได้เข้าร่วมประชุมกับนักคณิตศาสตร์ฝรั่งเศส  อายุ 16 ปี ท่านได้พัฒนาทฤษฎีบทที่สำคัญในวิชาเราขาคณิตโพรเจคตีฟ  และเมื่ออายุ 19 ปี ท่านได้พัฒนาเครื่องคิดเลข  ภายหลังจากที่ท่านประสบอุบัติเหตุที่ Neuilly ท่านหันความสนใจไปทางศาสนา และปรัชญา ไม่เช่นนั้นท่านคงเป็นนักคณิตศาสตร์ ที่รุ่งโรจน์ที่สุดคนหนึ่ง
  • 13. ผลงาน  1. งานเขียน Essay pour les coniques (1640 ) ซึ่งสรุปทฤษฎีบท เกี่ยวกับเรขาคณิตโพรเจกตีฟ ที่ท่านได้พัฒนามาแล้วเมื่ออายุได้ 16 ปี  2. งานเขียน Traite du traingle arithmetique (1665) ซึ่งเกี่ยวกับ " Chinese triangle " หรือในอดีตนิยมเรียกว่า " Pascal triangle " เพราะคิดว่า Pascal เป็นผู้คิดเป็นคนแรก แต่ที่แท้จริงได้มีชาวจีนพัฒนามาก่อนแล้ว  3 . ริเริ่มพัฒนาทฤษฎีความน่าจะเป็นในปี ค . ศ . 1654 ร่วมกับ Fermat โดยใช้วิธีที่แตกต่างกัน  4 . ศึกษาเส้นโค้ง Cycloid
  • 15. เลออนฮาร์ด ออยเลอร์  ( Leonhard Euler ) [ oi'l?r ] ( 15 เมษายน พ . ศ . 2250 -18 กันยายน พ . ศ . 2326 ) เป็น นักคณิตศาสตร์ และ นักฟิสิกส์ ชาวสวิส เขาได้ชื่อว่าเป็นนักคณิตศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดคนหนึ่งเท่าที่เคยมี เลออนฮาร์ด ออยเลอร์ เป็นคนแรกที่ใช้คำว่า " ฟังก์ชัน " ( ตามคำนิยามของ ไลบ์นิซ ใน ค . ศ . 1694) ในการบรรยายถึงความสัมพันธ์ ที่เกี่ยวข้องกับตัวแปร เช่น  y = f (x) เขายังได้ชื่อว่าเป็นคนแรกที่ประยุกต์ แคลคูลัส เข้าไปยังวิชา ฟิสิกส์
  • 16. ออยเลอร์เกิดและโตในเมือง บาเซิล เขาเป็นเด็กที่มีความเป็นอัจริยะทางคณิตศาสตร์ เขาเป็นศาสตราจารย์สอนวิชาคณิตศาสตร์ที่ เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก และต่อมาก็สอนที่ เบอร์ลิน และได้ย้อนกลับไปยังเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กอีกครั้ง เขาเป็นนักคณิตศาสตร์มีผลงานมากมายที่สุดคนหนึ่ง ผลงานทั้งหมดของเขารวบรวมได้ถึง 75 เล่ม ผลงานของเขามีอิทธิพลอย่างมากต่อผลงานทางคณิตศาสตร์ในศตวรรษที่ 18 เขาต้องสูญเสียการมองเห็น และตาบอดสนิทตลอด 17 ปีสุดท้ายในชีวิตของเขา ซึ่งในช่วงนี้เองที่เขาสามารถผลิตผลงานได้ถึงเกือบครึ่งหนึ่งของผลงานทั้งหมดของเขา ดาวเคราะห์น้อย 2002 ออยเลอร์ ได้ถูกตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่เขา
  • 18. กอทท์ฟรีด วิลเฮล์ม ฟอน ไลบ์นิซ   ( อังกฤษ   Gottfried Wilhelm von Leibniz ) (1 กรกฎาคม ค . ศ . 1646 ( พ . ศ . 2189) ในเมืองไลป์ซิก ประเทศเยอรมนี  1 กรกฎาคม ค . ศ . 1646 - 4 พฤศจิกายน ค . ศ . 1716 ( พ . ศ . 2259)) เป็นนักปรัชญา ,   นักวิทยาศาสตร์ ,   นักคณิตศาสตร์ ,   นักการทูต ,   บรรณารักษ์ และ นักกฎหมาย ชาวเยอรมันเชื้อสายเซิบ เขาเป็นคนที่เริ่มใช้คำว่า " ฟังก์ชัน " สำหรับอธิบายปริมาณที่เกี่ยวกับเส้นโค้ง เช่น ความชันของเส้นโค้ง หรือจุดบางจุดของเส้นโค้งดังกล่าว ไลบ์นิซและนิวตันได้รับการยกย่องร่วมกันว่าเป็นผู้เริ่มพัฒนาแคลคูลัส โดยเฉพาะส่วนของไลบ์นิซในการพัฒนาปริพันธ์และกฎผลคูณ
  • 20. เซอร์ไอแซก นิวตัน  ( Sir Isaac Newton ) (4 มกราคม พ . ศ . 2186 - 31 มีนาคม พ . ศ . 2270 ( ตามปฏิทินเกรกอเรียน ) หรือ  25 ธันวาคม พ . ศ . 2185- 20 มีนาคม พ . ศ . 2270 ตามปฏิทินจูเลียน )   นักฟิสิกส์ นักคณิตศาสตร์และนักดาราศาสตร์ชาวอังกฤษผู้มีชื่อเสียงที่สุดในประวัติศาสตร์ของอังกฤษ นิวตันเกิดที่เมืองวูลสธอร์ป ลิงคอนไชร์ ประเทศอังกฤษ
  • 22.   รีมันน์เกิดที่ Breselenz ใน Hanover ประเทศเยอรมนี บิดาเป็นนักบวชนิกายลูเธอร์แลนด์ รัมันน์เป็นคนสงบเสงี่ยมและขี้โรค ถึงแม้ว่าฐานนะทางบ้านของรีมันน์จะไม่ดีนัก แต่ก็ได้รับการศึกษาอย่างดีเยี่ยม ท่านเริ่มศึกษาเทวศาสตร์ที่มหาวิทยาลัย Gottingen แล้วเปลี่ยนเป็นนักคณิตศาสตร์ ศึกษาอยู่ที่นี่เพียง 1 ปี ก็ย้ายไปเป็นลูกศิษย์ของ Dirichlet ที่มหาวิทยาลัย Berlin 2 ปีต่อมาท่านกลับไปศึกษาที่มหาวิทยาลัย Gottingen และได้รับปริญญาเอกเมื่อปี ค . ศ .1851            ในปี ค . ศ .1854 ท่านได้รับแต่งตั้งเป็นผู้บรรยายที่มหาวิทยาลัย Gottingen โดยไม่ได้เงินเดือน ต่อมาเมื่อ Gauss ซึ่งเป็นศาสตราจารย์ที่ Gottingen ถึงแก่กรรม Dirichlet ได้เป็นศาสตราจารย์ที่ Gottingen และสนับสนุนรีมันน์ให้ได้รับตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ และเมื่อ Dirichlet ถึงแก่กรรมในปี 1859 รัมมันน์ ก็ได้รับตำแหน่งเป็นศาสตราจารย์ รีมันน์ถึงแก่กรรมในปี 1866 เนื่องจากเป็นวัณโรคที่ภาคเหนือของอิตาลี  
  • 23. ผลงาน                  1. พัฒนาทฤษฎีบทฟังก์ชันเชิงซ้อน                  2. เสนอมโนมติเกี่ยวกับ Riemann surface ซึ่งนำทอพอโลยีมาใช้ในการวิเคราะห์                  3. พัฒนามโนมติของอินทิกรัลอย่างแจ่มชัด ซึ่งมีชื่อเรียกในปัจจุบันว่า Riemann integral                  4. เสนอสัจพจน์ที่เป็นรากฐานของเรขาคณิตและแสดงข้อแตกต่างระหว่างการต่อไปเรื่อยๆ และความยาวไม่จำกัดของเส้นและระนาบ ก่อให้เกิดเรขาคณิตแนวใหม่ชื่อ Riemann geometry หรือ Elliptic Geometry                  5. คิดทฤษฎีบทเกี่ยวกับจำนวนเฉพาะ
  • 25. โยฮันน์ คาร์ล ฟรีดริช เกาส์   ( Johann Carl Friedrich Gauß )  นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน เกิดเมื่อวันที่  30 เมษายน พ . ศ . 2302 ( ค . ศ . 1777) เสียชีวิต  23 กุมภาพันธ์ พ . ศ . 2398 ( ค . ศ . 1855) เป็นหนึ่งในตำนานนักคณิตศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ( นักคณิตศาสตร์บางท่านกล่าวว่าสี่ผู้ยิ่งใหญ่ของวงการคณิตศาสตร์มี อาร์คิมิดีส นิวตัน เกาส์ และออยเลอร์ ) ได้รับฉายาว่า " เจ้าชายแห่งคณิตศาสตร์ " ( Prince of Mathematics ) เนื่องจากอุทิศผลงานในทุก ๆ ด้านของคณิตศาสตร์ในยุคสมัยของเขา นอกจากนี้เกาส์ยังมีผลงานสำคัญทางด้านฟิสิกส์ โดยเฉพาะด้านดาราศาสตร์อีกด้วย
  • 27.   อาร์คิมีดีสเป็นนักปราชญ์ชาวกรีก เกิดที่ เมืองไซราคิวส์ ( Syracuse ) บนเกาะซิซิลี ( Sicily ) เมื่อประมาณ 287 ก่อนคริสต์ศักราชบิดาของเขาเป็นนักดาราศาสตร์ชื่อ ไฟดาส ( Pheidias ) อาร์คิมีดีสมีความสนใจในวิชาคณิตศาสตร์เป็นอย่างมาก เขาจึง เดินทางไปศึกษาวิชาคณิตศาสตร์กับอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญด้านคณิตศาสตร์นามว่า ซีนอนแห่งซามอส ซึ่งก็เป็นลูกศิษย์คนเก่งของนักปราชญ์เลื่องชื่อลือนามว่า ยูคลิด ( Euclid ) ที่เมืองอาเล็กซานเดรีย ( Alexandria ) ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นศูนย์กลางแห่งวิชาการของกรีกในสมัยนั้น ผลงาน     - กฎของอาร์คิมีดีส ( Archimedes Principle ) ที่กล่าวว่า " ปริมาตรของวัตถุส่วนที่จมลงในน้ำย่อมเท่ากับปริมาตรของน้ำที่ถูกแทนที่ด้วยวัตถุ " ซึ่งกฎข้อนี้ได้นำไปใช้ประโยชน์ในการหาความถ่วงจำเพาะของวัตถุ               - ประดิษฐ์เครื่องทุ่นแรง ได้แก่ คานดีดคานงัด รอก ระหัดวิดน้ำ และล้อกับเพลา               - อาวุธสงคราม
  • 29. อันเดรย์ นิโคลาเยวิช คอลโมโกรอฟ (1903 - 1987) ( อังกฤษ : Andrey Nikolaevich Kolmogorov), เกิดเมื่อวันที่ 25 เมษายน ค . ศ . 1903 เสียชีวิต 20 ตุลาคม ค . ศ . 1987 , เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวรัสเซีย ยักษ์ใหญ่ในวงการคณิตศาสตร์ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยมีผลงานโดดเด่นมากในงาน ทฤษฎีความน่าจะเป็นและทอพอโลยี . อันที่จริงแล้ว คอลโมโกรอฟมีผลงานในแทบทุกแขนงของคณิตศาสตร์ เช่น ตรรกศาสตร์ , อนุกรมฟูเรียร์ , ความปั่นป่วน ( turbulence), กลศาสตร์คลาสสิก นอกจากนี้ยังเป็นหนึ่งในผู้คิดค้น ความซับซ้อนแบบคอลโมโกรอฟ ร่วมกับ เกรโกรี ไชตัง และ เรย์ โซโลโมนอฟ ในช่วงช่วงปี ค . ศ . 1960 ถึง ค . ศ . 1970
  • 31.          บารอนชอง แบบทิสต์ โจเซฟ ฟูร์เยร ์ ( Jean Baptiste Joseph Fourier พ . ศ . 2311 – 2373 ) นักคณิตศาสตร์ ได้หันมาสนใจคณิตศาสตร์ประยุกต์เป็นครั้งแรก ในขณะที่กำลังทดลองเกี่ยวกับการไหลของความร้อน ฟูร์เยร์ก็ได้ค้นพบสมการการไหลนี้ ซึ่งต่อมาได้ตั้งชื่อเป็น สมการฟูร์เยร์ เพื่อแก้ปัญหาและพิสูจน์สมการนี้ ฟูร์เยร์ได้แสดงให้เห็นว่าฟังค์ชันหลายฟังค์ชันของตัวแปรเดี่ยวสามารถขยายออก เป็นอนุกรมของ ไซน์ ( sines) เชิงซ้อนของตัวแปร                       ที่เรียกในภายหลังว่า " อนุกรมฟูร์เยร์ "