SlideShare a Scribd company logo
โครงการสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียน
โดย
นางสาวกัญติมา เอียดชูทอง
นางสาวพัชรศรี สิงห์ สุ้น
นางสาว
ครูที่ปรึกษา
นายโสภณ เพชรสุ ทธิ์
โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์ อนุสรณ์ จังหวัดตรัง
สานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 13
้ ่
พ.ศ. 2556
บทคัดย่ อ
โครงการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรี ยนนี้ จัดทาขึ้นมีจุดมุ่งหมายสาคัญเบื้องต้น เพื่อสารวจชนิดพรรณไม้ที่ข้ ึนกระจายพันธุในโรงเรี ยนรัษฎานุ ประดิษฐ์อนุสรณ์
์
จังหวัดตรัง มีขอบเขตการสารวจในกลุ่มไม้พุ่มและไม้ยนต้น ซึ่งเป็ นไม้ที่ข้ ึนเจริ ญเติบโตในพื้นที่ด้งเดิมนี้ โดยวิธีการสารวจพรรณไม้ทุกต้นที่บริ เวณสวนป่ าหน้าอาคาร
ื
ั
เรี ยนศรี ตรัง พื้นที่โดยรวม 1,870 ตารางเมตร และบางต้นที่ข้ ึนบริ เวณอื่นของโรงเรี ยน โดยทาการติดหมายเลข เก็บเพื่อทาตัวอย่างแห้ง ถ่ายรู ป หาชื่อท้องถิ่น ชื่อสามัญ
ชื่อพฤกษศาสตร์ ผลปรากฏว่าสารวจพบพรรณไม้จานวน 31 หมายเลข ทราบชื่อ 25 หมายเลข ไม่ทราบชื่อ 6 หมายเลข พรรณไม้ที่ทราบชื่อเช่น หมายเลข RA.1 ต้น
สะท้อนรอก RA. 2 ต้นยอ RA.3 ต้นพลา เป็ นต้น
กิตติกรรมประกาศ
โครงงาน สวนพฤกษศาสตร์ในโรงเรี ยน คณะผูจดทาได้รับการสนับสนุน จากผูอานวยการชอบ มุกดา ผูอานวยการโรงเรี ยนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์
้ั
้
้
ผูปกครองของผูจดทา เพื่อนๆร่ วมห้องเรี ยน ม. 5/1 รวมทั้งคุณครู ที่ปรึ กษา ได้ให้ความช่วยเหลือแนะนาในการทางาน
้
้ั
คณะผูจดทาขอขอบคุณทุกท่านที่กล่าวมาไว้ ณ โอกาสนี้ดวย
้ั
้

คณะผู้จดทา
ั
สารบัญ
เนือหา
้

หน้ า

บทคัดย่อ

(1)

กิตติกรรมประกาศ

(2)

สารบัญ

(3)

สารบัญตาราง

(4)

บทที่ 1 บทนา

1

บทที่ ๒ บทเอกสาร

2-9

บทที่ ๓ อุปกรณ์และวิธีการดาเนินงาน

10

บทที่ ๔ ผลการสารวจ

11-16

บทที่ ๕ สรุ ปผลการสารวจ

17

บทบรรณานุกรม

18

ภาคผนวก

19-28
สารบัญตาราง

หน้า

ตารางที่
1 แสดงพรรณไม้ที่สารวจพบ

11
บทที่ 1
บทนา
1. ที่มาและความสาคัญของโครงการ
โรงเรี ยนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์ ประกาศจัดตั้งเมื่อ 21 กุมภาพันธ์ 2529 พื้นที่ 55 ไร่ 1 งาน 60 ตารางวา ที่ดินราชพัสดุเลขที่ ตง 122(24708)
สถานที่ต้ง เลขที่ 3 หมู่ที่ 4 ตาบล
ั
วังมะปรางเหนือ อาเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง ในพื้นที่มีอาคารเรี ยน ๕ หลัง อาคารโรงฝึ กงาน โรงอาหาร อาคารกีฬา บ้านพักครู สนามฟุตบอล สนาม
บาสเกตบอล ลานหน้าเสาธง ส่วนบริ เวณอื่นเป็ นสระน้ า และพื้นที่สีเขียวที่ได้จดตกแต่งต้นไม้เพื่อความสวยงาม มีสวนสมุนไพร สวนปาล์มน้ ามัน สวนป่ า
ั
และพื้นที่พกผ่อนอื่น
ั
สวนป่ าอยูหน้าอาคารเรี ยนศรี ตรังมีพ้นที่ประมาณ ๑,๘๗๐-ตารางเมตร(๒.๕๐ไร่ ) เป็ นป่ าไม้ด้งเดิมที่มีอยูในพื้นที่ ซึ่งปัจจุบนเพื่อป่ าไม้ด้งเดิมจริ งๆได้
่
ื
ั
่
ั
ั
ถูกบุกรุ กลดปริ มาณลงทุกปี ทาให้พรรณไม้ถิ่นเดิม โดยเฉพาะชนิดที่มการกระจายพันธุในพื้นที่แคบๆมีโอกาสสูญพันธุสูง ทั้งที่ยงไม่ทราบชื่อและประโยชน์
ี
์
์
ั
ในการใช้งาน
2. จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า
เพื่อสารวจชนิดพรรณไม้ที่ข้ ึนกระจายพันธุในโรงเรี ยนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์
์
3. ขอบเขตการศึกษาค้นคว้า
ไม้พุ่มสูงและไม้ยนต้น
ื
บทที่ 2
บทเอกสาร
ประเภทของป่ าไม้ในประเทศไทย
ป่ าไม้เป็ นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสาคัญอย่างยิงต่อสิ่งมีชีวิต ไม่ว่าจะเป็ นมนุษย์หรื อสัตว์อื่นๆ เพราะป่ าไม้มีประโยชน์ท้งการเป็ นแหล่งวัตถุดิบของปัจจัย
ั
่
สี่ คือ อาหาร เครื่ องนุ่งห่ม ที่อยูอาศัยและยารักษาโรคสาหรับมนุษย์ และยังมีประโยชน์ในการรักษาสมดุลของสิ่งแวดล้อม ถ้าป่ าไม้ถกทาลายลงไปมาก ๆ ย่อมส่งผล
่
ู
กระทบต่อสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ เช่น สัตว์ป่า ดิน น้ า อากาศ ฯลฯ เมื่อป่ าไม้ถกทาลาย จะส่งผลไปถึงดินและแหล่งน้ าด้วย เพราะเมื่อเผาหรื อถางป่ าไป
ู
แล้ว พื้นดินจะโล่งขาดพืชปกคลุม เมื่อฝนตกลงมาก็จะชะล้างหน้าดินและความอุดมสมบูรณ์ของดินไป นอกจากนั้นเมื่อขาดต้นไม้คอยดูดซับน้ าไว้น้ าก็จะไหลบ่าท่วม
บ้านเรื อน
และที่ลุ่มในฤดูน้ าหลากพอถึงฤดูแล้งก็ไม่มีน้ าซึมใต้ดินไว้หล่อเลี้ยงต้นน้ าลาธารทาให้แม่น้ ามีน้ าน้อย ส่งผลกระทบต่อมาถึงระบบเศรษฐกิจและ
สังคม เช่น การขาดแคลนน้ าในการการชลประทานทาให้ทานาไม่ได้ผลขาดน้ ามาผลิตกระแสไฟฟ้ า
ประเภทของป่ าไม้ในประเทศไทย
ประเภทของป่ าไม้จะแตกต่างกันไปขึ้นอยูกบการกระจายของฝน ระยะเวลาที่ฝนตกรวมทั้งปริ มาณน้ าฝนทาให้ป่าแต่ละแห่งมีความชุ่มชื้นต่างกัน สามารถจาแนกได้
่ ั
เป็ น 2 ประเภทใหญ่ๆคือ
ก. ป่ าประเภทที่ไม่ผลัดใบ (Evergreen)
ข. ป่ าประเภทที่ผลัดใบ (Deciduous)
ป่ าประเภททีไม่ผลัดใบ (Evergreen)
่
ป่ าประเภทนี้มองดูเขียวชอุ่มตลอดปี เนื่องจากต้นไม้แทบทั้งหมดที่ข้ ึนอยูเ่ ป็ นประเภทที่ไม่ผลัดใบ ป่ าชนิดสาคัญซึ่งจัดอยูในประเภท นี้ ได้แก่
่
1. ป่ าดงดิบ(TropicalEvergreenForestorRainForest)
ป่ าดงดิบที่มีอยูทวในทุกภาคของประเทศ แต่ที่มีมากที่สุด ได้แก่ ภาคใต้และภาคตะวันออก ในบริ เวณนี้มีฝนตกมากและมีความชื้นมากในท้องที่ภาคอื่น ป่ า
่ ั่
ดงดิบมักกระจายอยูบริ เวณที่มความชุ่มชื้นมาก ๆ เช่น ตามหุบเขาริ มแม่น้ าลาธาร ห้วย แหล่งน้ า และบนภูเขา ซึ่งสามารถแยกออกเป็ นป่ าดงดิบชนิดต่าง
่
ี
ๆ ดังนี้
1.1 ป่ าดิบชื้น (Moist Evergreen Forest) เป็ นป่ ารกทึบมองดูเขียวชอุ่มตลอดปี มีพนธุไม้หลายร้อยชนิดขึ้นเบียดเสียดกันอยูมกจะพบกระจัดกระจายตั้งแต่ความ
ั ์
่ ั
สูง 600 เมตร จากระดับน้ าทะเล ไม้ที่สาคัญก็คือ ไม้ตระกูลยางต่าง ๆ เช่น ยางนา ยางเสียน ส่วนไม้ช้นรอง คือ พวกไม้กอ เช่น กอน้ า กอเดือย
ั
1.2 ป่ าดิบแล้ง (Dry Evergreen Forest) เป็ นป่ าที่อยูในพื้นที่ค่อนข้างราบมีความชุ่มชื้นน้อย เช่น ในแถบภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือมักอยูสูงจาก
่
่
ระดับน้ าทะเลประมาณ 300-600 เมตร ไม้ที่สาคัญได้แก่ มะคาโมง ยางนา พยอม ตะเคียนแดง กระเบากลักและตาเสือ
1.3 ป่ าดิบเขา(Hill EvergreenForest)
ป่ าชนิดนี้เกิดขึ้นในพื้นที่สูง ๆ หรื อบนภูเขาตั้งแต่ 1,000-1,200 เมตร ขึ้นไปจากระดับน้ าทะเล ไม้ส่วนมากเป็ นพวก Gymonosperm ได้แก่ พวกไม้ขน
ุ
และสนสามพันปี นอกจากนี้ยงมีไม้ตระกูลกอขึ้นอยู่ พวกไม้ช้นที่สองรองลงมา ได้แก่ เป้ ง สะเดาช้างและขมิ้นต้น
ั
ั
2. ป่ าสนเขา(Pine Forest)
ป่ าสนเขามักปรากฎอยูตามภูเขาสูงส่วนใหญ่เป็ นพื้นที่ซ่ึงมีความสูงประมาณ 200-1800 เมตร ขึ้นไปจากระดับน้ าทะเลในภาคเหนือ ภาคกลาง
่
และภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ บางทีอาจปรากฎในพื้นที่สูง 200-300 เมตร จากระดับน้ าทะเลในภาคตะวันออกเฉียงใต้ ป่ าสนเขามีลกษณะเป็ นป่ าโปร่ ง ชนิดพันธุไม้ที่
ั
์
สาคัญของป่ าชนิดนี้คือ สนสองใบ และสนสามใบ ส่วนไม้ชนิดอื่นที่ข้ ึนอยูดวยได้แก่พนธุไม้ป่าดิบเขา เช่น กอชนิดต่าง ๆ หรื อพันธุไม้ป่าแดงบางชนิด คือ
่ ้
ั ์
์
เต็ง รัง เหียง พลวง เป็ นต้น
3. ป่ าชายเลน(Mangrove Forest)
บางทีเรี ยกว่า
"ป่ าเลนน้ าเค็ม”หรื อป่ าเลน มีตนไม้ข้ ึนหนาแน่นแต่ละชนิดมีรากค้ ายันและรากหายใจ ป่ าชนิดนี้ปรากฎอยูตามที่ดินเลนริ มทะเลหรื อบริ เวณ
้
่
ปากน้ าแม่น้ าใหญ่ ๆ ซึ่งมีน้ าเค็มท่วมถึงในพื้นที่ภาคใต้มอยูตามชายฝั่งทะเลทั้งสองด้าน ตามชายทะเลภาคตะวันออกมีอยูทุกจังหวัดแต่ที่มากที่สุดคือ บริ เวณ
ี ่
่
ปากน้ าเวฬุ อาเภอลุง จังหวัดจันทบุรี
พันธุไม้ที่ข้ ึนอยูตามป่ าชายเลน ส่วนมากเป็ นพันธุไม้ขนาดเล็กใช้ประโยชน์สาหรับการเผาถ่านและทาฟื นไม้ชนิดที่สาคัญ คือ โกงกาง ประสัก ถัวขาว ถัว
์
่
์
่
่
ขา โปรง ตะบูน แสมทะเล ลาพูนและลาแพน ฯลฯ ส่วนไม้พ้ืนล่างมักเป็ นพวก ปรงทะเลเหงือกปลายหมอ ปอทะเล และเป้ ง เป็ นต้น
4. ป่ าพรุ หรื อป่ าบึงน้ าจืด(Swamp Forest)
ป่ าชนิดนี้มกปรากฎในบริ เวณที่มน้ าจืดท่วมมาก
ั
ี
ๆ ดินระบายน้ าไม่ดีป่าพรุ ในภาคกลาง มีลกษณะโปร่ งและมีตนไม้ข้ ึนอยูห่าง
ั
้
่
ๆ เช่น ครอ
เทียน สนุ่น จิก โมกบ้าน หวายน้ า หวายโปร่ ง ระกา อ้อ และแขม ในภาคใต้ป่าพรุ มข้ ึนอยูตามบริ เวณที่มน้ าขังตลอดปี ดินป่ าพรุ ที่มีเนื้อที่มากที่สุดอยูใน
ี
่
ี
่
บริ เวณจังหวัดนราธิวาสดินเป็ นพีท ซึ่งเป็ นซากพืชผุสลายทับถมกัน เป็ นเวลานานป่ าพรุ แบ่งออกได้ 2 ลักษณะ คือ ตามบริ เวณซึ่งเป็ นพรุ น้ ากร่ อยใกล้ชายทะเล
ต้นเสม็ดจะขึ้นอยูหนาแน่นพื้นที่มีตนกกชนิดต่าง ๆ เรี ยก "ป่ าพรุ เสม็ด หรื อ ป่ าเสม็ด " อีกลักษณะเป็ นป่ าที่มีพนธุไม้ต่าง ๆ มากชนิดขึ้นปะปนกันชนิดพันธุไม้
่
้
ั ์
์
ที่สาคัญของป่ าพรุ ได้แก่ อินทนิล น้ าหว้า จิก โสกน้ า กระทุ่มน้ าภันเกรา โงงงันกะทังหัน ไม้พ้ืนล่างประกอบด้วย หวาย ตะค้าทอง หมากแดง และหมาก
่
ชนิดอื่น ๆ
5. ป่ าชายหาด(Beach Forest)
เป็ นป่ าโปร่ งไม่ผลัดใบขึ้นอยูตามบริ เวณหาดชายทะเล น้ าไม่ท่วมตามฝั่งดินและชายเขาริ มทะเล ต้นไม้สาคัญที่ข้ ึนอยูตามหาดชายทะเล ต้องเป็ นพืชทนเค็ม
่
่
และมักมีลกษณะไม้เป็ นพุ่มลักษณะต้นคดงอ ใบหนาแข็ง ได้แก่ สนทะเล หูกวาง โพธิ์ทะเล กระทิง ตีนเป็ ดทะเล หยีน้ า มักมีตนเตยและหญ้าต่าง ๆ ขึ้นอยู่
ั
้
เป็ นไม้พ้ืนล่าง ตามฝั่งดินและชายเขา มักพบไม้เกตลาบิด มะคาแต้ กระบองเพชร เสมา
และไม้หนามชนิดต่างๆ เช่น ซิงซี่ หนามหัน กาจาย มะดัน
ขอ เป็ นต้น

ป่ าประเภททีผลัดใบ (Declduous)
่
ต้นไม้ที่ข้ ึนอยูในป่ าประเภทนี้เป็ นจาพวกผลัดใบแทบทั้งสิ้น ในฤดูฝนป่ าประเภทนี้จะมองดูเขียวชอุ่มพอถึงฤดูแล้งต้นไม้ ส่วนใหญ่จะพากันผลัดใบทาให้ป่า
่
มองดูโปร่ งขึ้น
และมักจะเกิดไฟป่ าเผาไหม้ใบไม้และต้นไม้เล็กๆ ป่ าชนิดสาคัญซึ่งอยูในประเภทนี้ ได้แก่
่
1. ป่ าเบญจพรรณ (Mixed Declduous Forest)
ป่ าผลัดใบผสม หรื อป่ าเบญจพรรณมีลกษณะเป็ นป่ าโปร่ งและยังมีไม้ไผ่ชนิดต่าง ๆ ขึ้นอยูกระจัดกระจายทัวไปพื้นที่ดินมักเป็ นดินร่ วนปนทราย ป่ าเบญจ
ั
่
่
พรรณ ในภาคเหนือมักจะมีไม้สกขึ้นปะปนอยูทวไปครอบคลุมลงมาถึงจังหวัดกาญจนบุรี ในภาคกลางในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออก มีป่า
ั
่ ั่
เบญจพรรณน้อยมากและกระจัดกระจาย พันธุไม้ชนิดสาคัญได้แก่ สัก ประดู่แดง มะค่าโมง ตะแบก เสลา อ้อยช้าง ส้าน ยม หอม ยม
์
หิน มะเกลือ สมพง เก็ดดา เก็ดแดง ฯลฯ นอกจากนี้มีไม้ไผ่ที่สาคัญ เช่น ไผ่ป่า ไผ่บง ไผ่ซาง ไผ่รวก ไผ่ไร เป็ นต้น
2. ป่ าเต็งรัง (Declduous Dipterocarp Forest)
หรื อที่เรี ยกกันว่าป่ าแดง ป่ าแพะ ป่ าโคก ลักษณะทัวไปเป็ นป่ าโปร่ ง ตามพื้นป่ ามักจะมีโจด ต้นแปรง และหญ้าเพ็ก พื้นที่แห้งแล้งดินร่ วนปนทราย หรื อ
่
กรวด ลูกรัง พบอยูทวไปในที่ราบและที่ภูเขา ในภาคเหนือส่วนมากขึ้นอยูบนเขาที่มีดินตื้นและแห้งแล้งมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีป่าแดงหรื อป่ าเต็ง
่ ั่
่
รังนี้มากที่สุด ตามเนินเขาหรื อที่ราบดินทรายชนิดพันธุไม้ที่สาคัญในป่ าแดง
์
หรื อป่ าเต็งรัง ได้แก่ เต็ง รัง เหียง พลวง กราด พะยอม ติ้ว แต้ว มะค่า
แต ประดู่ แดง สมอไทย ตะแบก เลือดแสลงใจ รกฟ้ า ฯลฯ ส่วนไม้พ้ืนล่างที่พบมาก ได้แก่ มะพร้าวเต่า ปุ่ มแป้ ง หญ้าเพ็ก โจด ปรงและหญ้าชนิดอื่นๆ
3. ป่ าหญ้า (Savannas Forest)
ป่ าหญ้าที่อยูทุกภาคบริ เวณป่ าที่ถกแผ้วถางทาลายบริ เวณพืนดินที่ขาดความสมบูรณ์และถูกทอดทิ้ง หญ้าชนิดต่าง ๆ จึงเกิดขึ้นทดแทนและพอถึงหน้าแล้งก็เกิด
่
ู
้
ไฟไหม้ทาให้ตนไม้บริ เวณข้างเคียงล้มตาย พื้นที่ป่าหญ้าจึงขยายมากขึ้นทุกปี พืชที่พบมากที่สุดในป่ าหญ้าก็คือ หญ้าคา หญ้าขนตาช้าง หญ้าโขมง หญ้าเพ็ก
้
และปุ่ มแป้ ง บริ เวณที่พอจะมีความชื้นอยูบาง และการระบายน้าได้ดีก็มกจะพบพงและแขมขึ้นอยู่ และอาจพบต้นไม้ทนไฟขึ้นอยู่ เช่น ตับเต่า รกฟ้ าตาน
่ ้
ั
เหลือ ติ้วและแต้ว
ประโยชน์ ของทรัพยากรป่ าไม้
ป่ าไม้มีประโยชน์มากมายต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ท้งทางตรงและทางอ้อม ได้แก่.
ั
ประโยชน์ทางตรง (Direct Benefits)
ได้แก่ ปัจจัย 4 ประการ
1. จากการนาไม้มาสร้างอาคารบ้านเรื อนและผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น เฟอร์นิเจอร์ กระดาษ ไม้ขีดไฟ ฟื น เป็ นต้น
2. ใช้เป็ นอาหารจากส่วนต่าง ๆ ของพืชและผล
3. ใช้เส้นใย ที่ได้จากเปลือกไม้และเถาวัลย์มาถักทอ เป็ นเครื่ องนุ่งห่ม เชือกและอื่น ๆ
4. ใช้ทายารักษาโรคต่างๆ
ประโยชน์ทางอ้อม (IndirectBenefits)
1. ป่ าไม้เป็ นเป็ นแหล่งกาเนิดต้นน้ าลาธารเพราะต้นไม้จานวนมากในป่ าจะทาให้น้ าฝนที่ตกลงมาค่อย ๆ ซึมซับลงในดินกลายเป็ นน้ าใต้ดินซึ่งจะไหลซึมมา
หล่อเลี้ยงให้แม่น้ า ลาธารมีน้ าไหลอยูตลอดปี
่
2. ป่ าไม้ทาให้เกิดความชุ่มชื้นและควบคุมสภาวะอากาศ ไอน้ าซึ่งเกิดจากการหายใจของพืช ซึ่งเกิดขึ้นอยูมากมายในป่ าทาให้อากาศเหนือป่ ามีความชื้นสูงเมื่อ
่
อุณหภูมิลดต่าลงไอน้ าเหล่านั้นก็จะกลันตัวกลายเป็ นเมฆแล้วกลายเป็ นฝนตกลงมา ทาให้บริ เวณที่มีพ้ืนป่ าไม้มความชุ่มชื้นอยูเ่ สมอ ฝนตกต้องตามฤดูกาล
ี
่
และไม่เกิดความแห้งแล้ง
3. ป่ าไม้เป็ นแหล่งพักผ่อนและศึกษาความรู้
บริ เวณป่ าไม้จะมีภูมิประเทศที่สวยงามจากธรรมชาติรวมทั้งสัตว์ป่าจึงเป็ นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจได้
ดี นอกจากนั้นป่ าไม้ยงเป็ นที่รวมของพันธุพืชและพันธุสตว์จานวนมาก จึงเป็ นแหล่งให้มนุษย์ได้ศกษาหาความรู้
ั
์
์ ั
ึ
4. ป่ าไม้ช่วยบรรเทาความรุ นแรงของลมพายุและป้ องกันอุทกภัย โดยช่วยลดความเร็ วของลมพายุที่พดผ่านได้ต้งแต่ ๑๑-๔๔ % ตามลักษณะของป่ าไม้แต่ละ
ั
ั
ชนิด จึงช่วยให้บานเมืองรอดพ้นจากวาตภัยได้ซ่ึงเป็ นการป้ องกันและควบคุมน้ าตามแม่น้ าไม่ให้สูงขึ้นมารวดเร็ วล้นฝั่งกลายเป็ นอุทกภัย
้
5. ป่ าไม้ช่วยป้ องกันการกัดเซาะและพัดพาหน้าดิน จากน้ าฝนและลมพายุโดยลดแรงปะทะลงการหลุดเลือนของดินจึงเกิดขึ้นน้อย
และยังเป็ นการช่วยให้
แม่น้ าลาธารต่าง
ๆ ไม่ต้ืนเขินอีกด้วย นอกจากนี้ป่าไม้จะเป็ นเสมือนเครื่ องกีดขวางตามธรรมชาติ จึงนับว่ามีประโยชน์ในทางยุทธศาสตร์ดวยเช่นกัน
้
สาเหตุสาคัญของวิกฤตการณ์ป่าไม้ในประเทศไทย
1. การลักลอบตัดไม้ทาลายป่ า ตัวการของปัญหานี้คือนายทุนพ่อค้าไม้ เจ้าของโรงเลื่อย เจ้าของโรงงานแปรรู ปไม้ ผูรับสัมปทานทาไม้และชาวบ้าน
้
ทัวไป ซึ่งการตัดไม้เพื่อเอาประโยชน์จากเนื้อไม้ท้งวิธีที่ถกและผิดกฎหมาย ปริ มาณป่ าไม้ที่ถกทาลายนี้นบวันจะเพิมขึ้นเรื่ อย ๆ ตามอัตราเพิ่มของจานวน
ั
ู
ู
ั
่
่
ประชากร ยิงมีประชากรเพิ่มขึ้นเท่าใด ความต้องการในการใช้ไม้ก็เพิ่มมากขึ้น เช่น ใช้ไม้ในการปลูกสร้างบ้านเรื อนเครื่ องมือเครื่ องใช้ในการเกษตรกรรม
่
เครื่ องเรื อนและถ่านในการหุงต้ม เป็ นต้น
2. การบุกรุ กพื้นที่ป่าไม้เพื่อเข้าครอบครองที่ดิน เมื่อประชากรเพิ่มสูงขึ้น ความต้องการใช้ที่ดินเพื่อปลูกสร้างที่อยูอาศัยและที่ดินทากินก็อยูสูงขึ้น เป็ นผล
่
่
ผลักดันให้ราษฎรเข้าไปบุกรุ กพื้นที่ป่าไม้ แผ้วถางป่ า หรื อเผาป่ าทาไร่ เลื่อนลอย นอกจากนี้ ยงมีนายทุนที่ดินที่จางวานให้ราษฎรเข้าไปทาลายป่ าเพื่อจับจอง
ั
้
ที่ดินไว้ขายต่อไป
3. การส่งเสริ มการปลูกพืชหรื อเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจเพื่อการส่งออก เช่น มันสาปะหลัง ปอ เป็ นต้น โดยไม่ส่งเสริ มการใช้ที่ดินอย่างเต็มประสิทธิภาพทั้ง ๆ ที่
พื้นที่ป่าบางแห่งไม่เหมาะสมที่จะนามาใช้ในการเกษตร
4. การกาหนดแนวเขตพื้นที่ป่ากระทาไม่ชดเจนหรื อไม่กระทาเลยในหลาย ๆ พื้นที่ ทาให้ราษฎรเกิดความสับสนทั้งโดยเจตนาและไม่เจตนา ทาให้เกิดการ
ั
พิพาทในเรื่ องที่ดินทากินและที่ดินป่ าไม้อยูตลอดเวลาและมักเกิดการร้องเรี ยนต่อต้านในเรื่ องกรรมสิทธิ์ที่ดิน
่
5. การจัดสร้างสาธารณูปโภคของรัฐ เช่น เขื่อน อ่างเก็บน้ า เส้นทางคมนาคม การสร้างเขื่อนขวางลาน้ าจะทาให้พ้ืนที่เก็บน้ าหน้าเขื่อนที่อุดมสมบูรณ์ถกตัด
ู
โค่นมาใช้ประโยชน์ ส่วนต้นไม้ขนาดเล็กหรื อที่ทาการย้ายออกมาไม่ทนจะถูกน้ าท่วมยืนต้นตาย เช่น การสร้างเขื่อนรัชชประภาเพื่อกั้นคลองพระแสงอันเป็ นสาขา
ั
ของแม่น้ าพุมดวง-ตาปี ทาให้น้ าท่วมบริ เวณป่ าดงดิบซึ่งมีพนธุไม้หนาแน่นประกอบด้วยสัตว์นานาชนิดนับแสนไร่ ต่อมาจึงเกิดปัญหาน้ าเน่าไหลลงลาน้ าพุมดวง
ั ์
6. ไฟไหม้ป่ามักจะเกิดขึ้นในช่วงฤดูแล้ง ซึ่งอากาศแห้งและร้อนจัด ทั้งโดยธรรมชาติและจากการกระทาของมะม่วงที่อาจลักลอบเผาป่ าหรื อเผลอ จุดไฟทิ้ง
ไว้โดยเฉพาะในป่ าไม้เป็ นจานวนมาก
7. การทาเหมืองแร่ แหล่งแร่ ที่พบในบริ เวณที่มีป่าไม้ปกคลุมอยู่ มีความจาเป็ นที่จะต้องเปิ ดหน้าดินก่อนจึงทาให้ป่าไม้ที่ข้ ึนปกคลุมถูกทาลายลง เส้นทางขน
ย้ายแร่ ในบางครั้งต้องทาลายป่ าไม้ลงเป็ นจานวนมาก เพื่อสร้าง
ถนน
หนทาง การระเบิดหน้าดิน เพื่อให้ได้มาซึ่งแร่ ธาตุ ส่งผลถึงการทาลายป่ า
การอนุรักษ์ ป่าไม้
ป่ าไม้ถกทาลายไปจานวนมาก จึงทาให้เกิดผลกระทบต่อสภาพภูมิอากาศไปทัวโลกรวมทั้งความสมดุลในแง่อื่นด้วย ดังนั้น การฟื้ นฟูสภาพป่ าไม้จึงต้องดาเนินการ
ู
่
เร่ งด่วน ทั้งภาครัฐภาคเอกชนและ ประชาชน ซึ่งมีแนวทางในการกาหนดแนวนโยบายด้านการจัดการป่ าไม้ ดังนี้
1. นโยบายด้านการกาหนดเขตการใช้ประโยชน์ที่ดินป่ าไม้
2. นโยบายด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรป่ าไม้เกี่ยวกับงานป้ องกันรักษาป่ าการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและสันทนาการ
3. นโยบายด้านการจัดการที่ดินทากินให้แก่ราษฎรผูยากไร้ในท้องถิ่น
้
4. นโยบายด้านการพัฒนาป่ าไม้ เช่น การทาไม้และการเก็บหาของป่ า การปลูก
และการบารุ งป่ าไม้ การค้นคว้าวิจยและด้านการอุตสาหกรรม
ั
5. นโยบายการบริ หารทัวไปจากนโยบายดังกล่าวข้างต้นเป็ นแนวทางในการพัฒนาและการจัดการทรัพยากรป่ าไม้ของชาติให้ได้รับผลประโยชน์ ทั้งทางด้านการ
่
อนุรักษ์และด้านเศรษฐกิจอย่างผสมผสาน
ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความสมดุลของธรรมชาติและมีทรัพยากรป่ าไม้ไว้อย่างยังยืนต่อไปในอนาคต
่
การจัดการป่ าเศรษฐกิจ
มีกิจกรรมหลายอย่างที่จะดาเนินการในพื้นที่ป่าเศรษฐกิจ ได้แก่
1. การพัฒนาป่ าธรรมชาติในพื้นที่ ๆ ยังมีป่าธรรมชาติปกคลุมสามารถวางโครงการทาป่ าไม้ต่าง ๆ และป่ าไม้ชุมชนเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อภาคอุตสาหกรรม
และการใช้สอยในครัวเรื อนของราษฎรได้
2. การพัฒนาทรัพยากรป่ าไม้ในพื้นที่ ๆ ว่างเปล่าสามารถพัฒนาโดยให้รัฐและเอกชนทาการปลูกป่ าในพื้นที่ ๆ ว่างเปล่า เพื่อผลิตไม้ในภาคอุตสาหกรรมและ
ใช้สอยในครัวเรื อน
3. การพัฒนาตามหลักศาสตร์ชุมชนใช้พ้ืนที่ป่าเศรษฐกิจในโครงการพระราชดาริ โครงการพัฒนาเพื่อความมันคงโครงการหมู่บานป่ าไม้และโครงการ สกท.
้
่
4. การพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ ใช้พ้ืนที่เขตป่ าเศรษฐกิจดาเนินงานในกิจกรรมเหมืองแร่ ระเบิดหินย่อย และขอใช้ประโยชน์อื่น ๆ
สวนพฤกษศาสตร์ คือ แหล่งที่รวบรวมพันธุพืชชนิดต่างๆ ที่มีชีวิต จัดปลูกตามความเหมาะสมกับสภาพถิ่นอาศัยเดิม มีหองสมุด สถานที่เก็บรวบรวมตัวอย่าง
์
้
พรรณไม้รักษาสภาพ อาจเป็ นตัวอย่างแห้ง ตัวอย่างดอง หรื อเก็บรักษาโดยวิธีอื่นๆ พันธุพืชที่ทาการเก็บรวบรวมไว้น้ น จะเป็ นแหล่งข้อมูลและเผยแพร่ ความรู้
์
ั
นอกจากนี้สามารถใช้เป็ นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจ

สวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียน
สวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียน คือ ทุกสิ่งทุกอย่างที่มีอยูในโรงเรี ยน ที่ใช้เพื่อการเรี ยนรู้โดยมีพืชเป็ นปัจจัยหลัก ชีวภาพอื่นเป็ นปัจจัยรอง กายภาพเป็ นปัจจัย
่
เสริ ม
และวัสดุอุปกรณ์เป็ นปัจจัยประกอบ
งานสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียน คือ งานสร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์พนธุกรรมพืช ทรัพยากรชีวภาพ และกายภาพ โดยมีการสัมผัส การเรี ยนรู้ การสร้าง
ั
และปลูกฝังคุณธรรม การเสริ มสร้างปัญญาและภูมิปัญญา
วัตถุประสงค์ของการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียน เพื่อสร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์พนธุกรรมพืชและทรัพยากร
ั
ผลของการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียน
 เกิดจิตสานึกในการอนุ รักษ์พนธุกรรมพืช และทรัพยากร
ั
 มีขอมูลการเรี ยนรู ้ทรัพยากรที่สามารถสื่ อกันได้ทวประเทศ
้
ั่
 มีคุณธรรมจริ ยธรรมเป็ นฐานของวิทยาการและปั ญญา
 เกิดนักอนุ รักษ์ พัฒนาบนฐานคุณธรรม
 เสริ มสร้างการเรี ยนรู ้บนฐาน ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
บทที่ 3
วัสดุอุปกรณ์ และวิธีการดาเนินงาน
1.

วัสดุอุปกรณ์
1. กล้องถ่ายรู ป
2. สมุดบันทึก
3. แผงอัดพรรณไม้
4. กรรไกร, มีด

2.

วิธีการดาเนินงาน
1. กาหนดพื้นที่สารวจโดยใช้พ้ืนหลักเป็ นสวนป่ าหน้าอาคารเรี ยนศรี ตรัง
2. สารวจเก็บข้อมูลชนิดไม้
3. ถ่ายรู ปไม้แต่ละชนิด
4. นาไม้แต่ละชนิดจัดทาตัวอย่างแห้ง
5. ค้นคว้าชื่อชนิดพรรณไม้และการใช้ประโยชน์เบื้องต้น
บทที่ 4
ผลการสารวจ
จากการสารวจพบพืชทั้งหมดจานวน 31 ชนิดดังแสดงไว้ในตารางที่ 1 และรู ปถ่ายของพืชแต่ละชนิด
ตารางที่ 1 แสดงชนิดพรรณไม้ ที่สารวจพบ
หมายเลข

RA.1
RA.2
RA.3
RA.4
RA.5
RA.6
RA.7
RA.8
RA.9
RA.10
RA.11
RA.12

ชื่อท้องถิ่น
ท้อนรอก
ยอ
พลา
พลับ
ข่อย
ปรง
ไม่ทราบชื่อ1
สอม
เมา
ไม่ทราบชื่อ2
เชียด
แซะ

ชื่อสามัญ
สะท้อนรอก
ยอบ้าน
พลับพลา
มะพลับ
ข่อย
โปรง

ชื่อพฤกษศาสตร์
Elaeocarpus robustus
Morinda citrifolia
Grewia paniculata
Diopyros sp.
Streblus asper
Brownlowia peltata

ชื่อวงศ์(family)
Elaeocarpaceae
Rubiaceae
Tiliaceae
ไม้มะพลับ(Ebenaceae)
Moraceae
Tiliaceae

การใช้ประโยชน์
เนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้าง
ใบใช้ทาห่อหมก
เนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้าง
เนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้าง

กะอาม
-

Crypteronia paniculata
Eugenia sp.

Crypteroniaceae
Myrtaceae

เนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้าง
เนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้าง

แซะ

Cinnamomum sp.
Millettia atropurpurea

Lauraceae
Legumiosae

เนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้าง
ยอดอ่อนใช้จิ้มน้ าพริ ก

เนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้าง
หมายเลข

RA.13
RA.14
RA.15
RA.16
RA.17
RA.18
RA.19
RA.20
RA.21
RA.22
RA.23
RA.24
RA.25
RA.26
RA.27
RA.28
RA.29
RA.30
RA.31

ชื่อท้องถิน
่
ไม่ทราบชื่อ3
ไม่ทราบชื่อ4
ไม่ทราบชื่อ5
แบก
จิกเขา
ขี้ไต้
ไข่เน่า
ก่อหลับเต้าปูน
ส้าน
วา
ไม่ทราบชื่อ6
เนียน
กาซา
ทัง
รักน้ า
เจตมูลต้น
ส้มเม่า
พะยอม
พังตาน

ชื่อสามัญ

ชื่อพฤกษศาสตร์

ชื่อวงศ์(family)

การใช้ประโยชน์

ตะแบก
จิกเขา
ไข่เน่า
ก่อหลับเต้าปูน
ส้าน
พวา

Lagerstroemia sp.
Barringotnia sp.
Syzygium sp.
Vitex glabrata
Lithocarpus finetii
Dillenia sp.
Garinia speciosa

Lythraceae

เนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้าง

Myrtaceae
Verbenaceae
Fagaceae
Dilleniaceae
Guttiferae

เนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้าง

มะหวด
กะทังใบใหญ่
รักน้ า
ไกรทอง
พะยอม
มังตาน

Diospyros sp.
Lepisanthes rubrinosa
Litsea grandis
Gluta velytina
Erythroxylum cuneatum
Antidesma sp.
Shorea roxburghii
Schima wallichii

Ebenaceae
Sapindaceae
Lauraceae
Anacardiaceae
Erythoxylum
Euphorbiaceae
Dipterocapaceae
Theaceae

เนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้าง

เนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้าง
เนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้าง
เนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้าง
ยอดอ่อนใช้ทากับข้าว
เนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้าง
เนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้าง
บทที่ 5
สรุปผลการสารวจ
สรุปผล
ผลการสารวจสามารถติดหมายเลขรหัสต้นไม้ได้ 31 ต้น เป็ นพรรณไม้ที่รู้จกชื่อ จานวน 25 ต้นอีก 6 ต้นไม่รู้จกชื่อ ซึ่งเป็ นไม้ในกลุ่ม
ั
ั
ไม้พุ่ม ไม้พุ่มสูง และไม้ยนต้น และยังมีตนไม้อกหลายต้นที่เป็ นชนิดเดียวกันแต่ไม่ติดหมายเลขทุกต้น
ื
้
ี
ข้ อเสนอแนะ
จากการสารวจพบไม้บางชนิดพบจานวนมากต้นบางชนิดพบเพียง ต้นเดียว เช่น ต้นขี้ไต้ ,ต้นเจตมูลต้น ซึ่งพืชที่พบเพียงต้นเดียวหรื อ
สองต้น มีโอกาสสูญพันธุสูง ต้องหาวิธีการอนุรักษ์ การปลูกเสริ มพืชบางชนิดในถินเดิมแต่ในสวนป่ าโรงเรี ยนไม่มี โดยเฉพาะกลุ่มพืชพื้นล่าง เช่น ต้นตาเป็ ดตาไก่ ต้น
์
่
เฒ่าหลังลาย เป็ นต้น เพื่อความสมบูรณ์และหลากหลายของสังคมป่ า
ประโยชน์ ทได้ รับ
ี่
ได้รู้จกพรรณไม้ รู้จกนิเวศนิสย การใช้ประโยชน์ทางตรงและทางอ้อม เป็ นข้อมูลเบื้องต้นในการสมัครสมาชิกโครงการอนุรักษ์
ั
ั
ั
พันธุกรรมพืชต่อไป
บทบรรณานุกรม
ณพพร ดารงศิริ.2530. พฤกษอนุกรมวิธาน.สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคาแหง,กรุ งเทพฯ.763 น.
ยุพา วรยศ.2534.พันธุ์ไม้นา.สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคาแหง,กรุ งเทพฯ.489 น.
้
www//web3.drp.go.th/botany/thaiPlantName/
www//biogang.net/biodiversity
www//drp.go.th/patani-botany/พันธุไม้/ป่ าพรุ
์
ภาคผนวก
ภาพแสดงการจัดทาตัวอย่างแห้ง

ภาพที่ 1 การเขียนบันทึกป้ ายตัวแห้งพรรณไม้
ภาพที่ 2 การติดตัวอย่างบนกระดาษขาว
ภาพที่ 3 การติดตัวอย่างไม้สาน
้
ภาพ 4 ตัวอย่างพรรณไม้ที่ทาเสร็ จแล้ว
ปกใน

More Related Content

What's hot

โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1nananattie
 
สถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยวสถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยว
siriyakon14
 
โครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนโครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนtawinee
 
เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1mingpimon
 
ป่าชายเลน
ป่าชายเลนป่าชายเลน
ป่าชายเลน
Supitchaya Tuntada
 
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึงอุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
pipatchai
 

What's hot (8)

โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1
 
สถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยวสถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยว
 
โครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนโครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลน
 
เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1
 
ป่าชายเลน
ป่าชายเลนป่าชายเลน
ป่าชายเลน
 
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึงอุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
 
ว30103
ว30103ว30103
ว30103
 
ว30103
ว30103ว30103
ว30103
 

Similar to ปกใน

ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
เติ้ล ดาว'เหนือ
 
โครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจโครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจsisirada
 
กุหลาบ
กุหลาบกุหลาบ
กุหลาบnangna
 
ไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับWanlop Chimpalee
 
งานSh
งานShงานSh
งานShdekbao
 
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์Duangsuwun Lasadang
 
ท่องเที่ยว
ท่องเที่ยวท่องเที่ยว
ท่องเที่ยวToeykhanittha
 
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีPowerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22Nongruk Srisukha
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22Nongruk Srisukha
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Kanjanarut II
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Kanjanarut II
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Kanjanarut II
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2
Wan Ngamwongwan
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPornthip Nabnain
 

Similar to ปกใน (20)

Forest
ForestForest
Forest
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 
โครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจโครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจ
 
กุหลาบ
กุหลาบกุหลาบ
กุหลาบ
 
ไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับ
 
งานSh
งานShงานSh
งานSh
 
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
 
ท่องเที่ยว
ท่องเที่ยวท่องเที่ยว
ท่องเที่ยว
 
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีPowerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 
3.2 ornamental plant
3.2  ornamental plant3.2  ornamental plant
3.2 ornamental plant
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2
 
The best conservation
The best conservationThe best conservation
The best conservation
 
The best conservation
The best conservationThe best conservation
The best conservation
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 

More from Guntima NaLove

บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลGuntima NaLove
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มGuntima NaLove
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
เนื้อหาทั้งหมด
เนื้อหาทั้งหมดเนื้อหาทั้งหมด
เนื้อหาทั้งหมดGuntima NaLove
 
นิทานอีสปเรื่องลาโง่ผู้หลงผิด2
นิทานอีสปเรื่องลาโง่ผู้หลงผิด2นิทานอีสปเรื่องลาโง่ผู้หลงผิด2
นิทานอีสปเรื่องลาโง่ผู้หลงผิด2Guntima NaLove
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงGuntima NaLove
 

More from Guntima NaLove (8)

บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผล
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
ห้องน้ำ
ห้องน้ำห้องน้ำ
ห้องน้ำ
 
เนื้อหาทั้งหมด
เนื้อหาทั้งหมดเนื้อหาทั้งหมด
เนื้อหาทั้งหมด
 
เนื้อหา
เนื้อหาเนื้อหา
เนื้อหา
 
นิทานอีสปเรื่องลาโง่ผู้หลงผิด2
นิทานอีสปเรื่องลาโง่ผู้หลงผิด2นิทานอีสปเรื่องลาโง่ผู้หลงผิด2
นิทานอีสปเรื่องลาโง่ผู้หลงผิด2
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 

ปกใน

  • 1. โครงการสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียน โดย นางสาวกัญติมา เอียดชูทอง นางสาวพัชรศรี สิงห์ สุ้น นางสาว ครูที่ปรึกษา นายโสภณ เพชรสุ ทธิ์ โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์ อนุสรณ์ จังหวัดตรัง สานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 13 ้ ่ พ.ศ. 2556
  • 2. บทคัดย่ อ โครงการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรี ยนนี้ จัดทาขึ้นมีจุดมุ่งหมายสาคัญเบื้องต้น เพื่อสารวจชนิดพรรณไม้ที่ข้ ึนกระจายพันธุในโรงเรี ยนรัษฎานุ ประดิษฐ์อนุสรณ์ ์ จังหวัดตรัง มีขอบเขตการสารวจในกลุ่มไม้พุ่มและไม้ยนต้น ซึ่งเป็ นไม้ที่ข้ ึนเจริ ญเติบโตในพื้นที่ด้งเดิมนี้ โดยวิธีการสารวจพรรณไม้ทุกต้นที่บริ เวณสวนป่ าหน้าอาคาร ื ั เรี ยนศรี ตรัง พื้นที่โดยรวม 1,870 ตารางเมตร และบางต้นที่ข้ ึนบริ เวณอื่นของโรงเรี ยน โดยทาการติดหมายเลข เก็บเพื่อทาตัวอย่างแห้ง ถ่ายรู ป หาชื่อท้องถิ่น ชื่อสามัญ ชื่อพฤกษศาสตร์ ผลปรากฏว่าสารวจพบพรรณไม้จานวน 31 หมายเลข ทราบชื่อ 25 หมายเลข ไม่ทราบชื่อ 6 หมายเลข พรรณไม้ที่ทราบชื่อเช่น หมายเลข RA.1 ต้น สะท้อนรอก RA. 2 ต้นยอ RA.3 ต้นพลา เป็ นต้น
  • 3. กิตติกรรมประกาศ โครงงาน สวนพฤกษศาสตร์ในโรงเรี ยน คณะผูจดทาได้รับการสนับสนุน จากผูอานวยการชอบ มุกดา ผูอานวยการโรงเรี ยนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์ ้ั ้ ้ ผูปกครองของผูจดทา เพื่อนๆร่ วมห้องเรี ยน ม. 5/1 รวมทั้งคุณครู ที่ปรึ กษา ได้ให้ความช่วยเหลือแนะนาในการทางาน ้ ้ั คณะผูจดทาขอขอบคุณทุกท่านที่กล่าวมาไว้ ณ โอกาสนี้ดวย ้ั ้ คณะผู้จดทา ั
  • 4. สารบัญ เนือหา ้ หน้ า บทคัดย่อ (1) กิตติกรรมประกาศ (2) สารบัญ (3) สารบัญตาราง (4) บทที่ 1 บทนา 1 บทที่ ๒ บทเอกสาร 2-9 บทที่ ๓ อุปกรณ์และวิธีการดาเนินงาน 10 บทที่ ๔ ผลการสารวจ 11-16 บทที่ ๕ สรุ ปผลการสารวจ 17 บทบรรณานุกรม 18 ภาคผนวก 19-28
  • 6. บทที่ 1 บทนา 1. ที่มาและความสาคัญของโครงการ โรงเรี ยนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์ ประกาศจัดตั้งเมื่อ 21 กุมภาพันธ์ 2529 พื้นที่ 55 ไร่ 1 งาน 60 ตารางวา ที่ดินราชพัสดุเลขที่ ตง 122(24708) สถานที่ต้ง เลขที่ 3 หมู่ที่ 4 ตาบล ั วังมะปรางเหนือ อาเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง ในพื้นที่มีอาคารเรี ยน ๕ หลัง อาคารโรงฝึ กงาน โรงอาหาร อาคารกีฬา บ้านพักครู สนามฟุตบอล สนาม บาสเกตบอล ลานหน้าเสาธง ส่วนบริ เวณอื่นเป็ นสระน้ า และพื้นที่สีเขียวที่ได้จดตกแต่งต้นไม้เพื่อความสวยงาม มีสวนสมุนไพร สวนปาล์มน้ ามัน สวนป่ า ั และพื้นที่พกผ่อนอื่น ั สวนป่ าอยูหน้าอาคารเรี ยนศรี ตรังมีพ้นที่ประมาณ ๑,๘๗๐-ตารางเมตร(๒.๕๐ไร่ ) เป็ นป่ าไม้ด้งเดิมที่มีอยูในพื้นที่ ซึ่งปัจจุบนเพื่อป่ าไม้ด้งเดิมจริ งๆได้ ่ ื ั ่ ั ั ถูกบุกรุ กลดปริ มาณลงทุกปี ทาให้พรรณไม้ถิ่นเดิม โดยเฉพาะชนิดที่มการกระจายพันธุในพื้นที่แคบๆมีโอกาสสูญพันธุสูง ทั้งที่ยงไม่ทราบชื่อและประโยชน์ ี ์ ์ ั ในการใช้งาน 2. จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า เพื่อสารวจชนิดพรรณไม้ที่ข้ ึนกระจายพันธุในโรงเรี ยนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์ ์ 3. ขอบเขตการศึกษาค้นคว้า ไม้พุ่มสูงและไม้ยนต้น ื
  • 7. บทที่ 2 บทเอกสาร ประเภทของป่ าไม้ในประเทศไทย ป่ าไม้เป็ นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสาคัญอย่างยิงต่อสิ่งมีชีวิต ไม่ว่าจะเป็ นมนุษย์หรื อสัตว์อื่นๆ เพราะป่ าไม้มีประโยชน์ท้งการเป็ นแหล่งวัตถุดิบของปัจจัย ั ่ สี่ คือ อาหาร เครื่ องนุ่งห่ม ที่อยูอาศัยและยารักษาโรคสาหรับมนุษย์ และยังมีประโยชน์ในการรักษาสมดุลของสิ่งแวดล้อม ถ้าป่ าไม้ถกทาลายลงไปมาก ๆ ย่อมส่งผล ่ ู กระทบต่อสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ เช่น สัตว์ป่า ดิน น้ า อากาศ ฯลฯ เมื่อป่ าไม้ถกทาลาย จะส่งผลไปถึงดินและแหล่งน้ าด้วย เพราะเมื่อเผาหรื อถางป่ าไป ู แล้ว พื้นดินจะโล่งขาดพืชปกคลุม เมื่อฝนตกลงมาก็จะชะล้างหน้าดินและความอุดมสมบูรณ์ของดินไป นอกจากนั้นเมื่อขาดต้นไม้คอยดูดซับน้ าไว้น้ าก็จะไหลบ่าท่วม บ้านเรื อน และที่ลุ่มในฤดูน้ าหลากพอถึงฤดูแล้งก็ไม่มีน้ าซึมใต้ดินไว้หล่อเลี้ยงต้นน้ าลาธารทาให้แม่น้ ามีน้ าน้อย ส่งผลกระทบต่อมาถึงระบบเศรษฐกิจและ สังคม เช่น การขาดแคลนน้ าในการการชลประทานทาให้ทานาไม่ได้ผลขาดน้ ามาผลิตกระแสไฟฟ้ า ประเภทของป่ าไม้ในประเทศไทย ประเภทของป่ าไม้จะแตกต่างกันไปขึ้นอยูกบการกระจายของฝน ระยะเวลาที่ฝนตกรวมทั้งปริ มาณน้ าฝนทาให้ป่าแต่ละแห่งมีความชุ่มชื้นต่างกัน สามารถจาแนกได้ ่ ั เป็ น 2 ประเภทใหญ่ๆคือ ก. ป่ าประเภทที่ไม่ผลัดใบ (Evergreen) ข. ป่ าประเภทที่ผลัดใบ (Deciduous)
  • 8. ป่ าประเภททีไม่ผลัดใบ (Evergreen) ่ ป่ าประเภทนี้มองดูเขียวชอุ่มตลอดปี เนื่องจากต้นไม้แทบทั้งหมดที่ข้ ึนอยูเ่ ป็ นประเภทที่ไม่ผลัดใบ ป่ าชนิดสาคัญซึ่งจัดอยูในประเภท นี้ ได้แก่ ่ 1. ป่ าดงดิบ(TropicalEvergreenForestorRainForest) ป่ าดงดิบที่มีอยูทวในทุกภาคของประเทศ แต่ที่มีมากที่สุด ได้แก่ ภาคใต้และภาคตะวันออก ในบริ เวณนี้มีฝนตกมากและมีความชื้นมากในท้องที่ภาคอื่น ป่ า ่ ั่ ดงดิบมักกระจายอยูบริ เวณที่มความชุ่มชื้นมาก ๆ เช่น ตามหุบเขาริ มแม่น้ าลาธาร ห้วย แหล่งน้ า และบนภูเขา ซึ่งสามารถแยกออกเป็ นป่ าดงดิบชนิดต่าง ่ ี ๆ ดังนี้ 1.1 ป่ าดิบชื้น (Moist Evergreen Forest) เป็ นป่ ารกทึบมองดูเขียวชอุ่มตลอดปี มีพนธุไม้หลายร้อยชนิดขึ้นเบียดเสียดกันอยูมกจะพบกระจัดกระจายตั้งแต่ความ ั ์ ่ ั สูง 600 เมตร จากระดับน้ าทะเล ไม้ที่สาคัญก็คือ ไม้ตระกูลยางต่าง ๆ เช่น ยางนา ยางเสียน ส่วนไม้ช้นรอง คือ พวกไม้กอ เช่น กอน้ า กอเดือย ั 1.2 ป่ าดิบแล้ง (Dry Evergreen Forest) เป็ นป่ าที่อยูในพื้นที่ค่อนข้างราบมีความชุ่มชื้นน้อย เช่น ในแถบภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือมักอยูสูงจาก ่ ่ ระดับน้ าทะเลประมาณ 300-600 เมตร ไม้ที่สาคัญได้แก่ มะคาโมง ยางนา พยอม ตะเคียนแดง กระเบากลักและตาเสือ 1.3 ป่ าดิบเขา(Hill EvergreenForest) ป่ าชนิดนี้เกิดขึ้นในพื้นที่สูง ๆ หรื อบนภูเขาตั้งแต่ 1,000-1,200 เมตร ขึ้นไปจากระดับน้ าทะเล ไม้ส่วนมากเป็ นพวก Gymonosperm ได้แก่ พวกไม้ขน ุ และสนสามพันปี นอกจากนี้ยงมีไม้ตระกูลกอขึ้นอยู่ พวกไม้ช้นที่สองรองลงมา ได้แก่ เป้ ง สะเดาช้างและขมิ้นต้น ั ั 2. ป่ าสนเขา(Pine Forest) ป่ าสนเขามักปรากฎอยูตามภูเขาสูงส่วนใหญ่เป็ นพื้นที่ซ่ึงมีความสูงประมาณ 200-1800 เมตร ขึ้นไปจากระดับน้ าทะเลในภาคเหนือ ภาคกลาง ่ และภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ บางทีอาจปรากฎในพื้นที่สูง 200-300 เมตร จากระดับน้ าทะเลในภาคตะวันออกเฉียงใต้ ป่ าสนเขามีลกษณะเป็ นป่ าโปร่ ง ชนิดพันธุไม้ที่ ั ์
  • 9. สาคัญของป่ าชนิดนี้คือ สนสองใบ และสนสามใบ ส่วนไม้ชนิดอื่นที่ข้ ึนอยูดวยได้แก่พนธุไม้ป่าดิบเขา เช่น กอชนิดต่าง ๆ หรื อพันธุไม้ป่าแดงบางชนิด คือ ่ ้ ั ์ ์ เต็ง รัง เหียง พลวง เป็ นต้น 3. ป่ าชายเลน(Mangrove Forest) บางทีเรี ยกว่า "ป่ าเลนน้ าเค็ม”หรื อป่ าเลน มีตนไม้ข้ ึนหนาแน่นแต่ละชนิดมีรากค้ ายันและรากหายใจ ป่ าชนิดนี้ปรากฎอยูตามที่ดินเลนริ มทะเลหรื อบริ เวณ ้ ่ ปากน้ าแม่น้ าใหญ่ ๆ ซึ่งมีน้ าเค็มท่วมถึงในพื้นที่ภาคใต้มอยูตามชายฝั่งทะเลทั้งสองด้าน ตามชายทะเลภาคตะวันออกมีอยูทุกจังหวัดแต่ที่มากที่สุดคือ บริ เวณ ี ่ ่ ปากน้ าเวฬุ อาเภอลุง จังหวัดจันทบุรี พันธุไม้ที่ข้ ึนอยูตามป่ าชายเลน ส่วนมากเป็ นพันธุไม้ขนาดเล็กใช้ประโยชน์สาหรับการเผาถ่านและทาฟื นไม้ชนิดที่สาคัญ คือ โกงกาง ประสัก ถัวขาว ถัว ์ ่ ์ ่ ่ ขา โปรง ตะบูน แสมทะเล ลาพูนและลาแพน ฯลฯ ส่วนไม้พ้ืนล่างมักเป็ นพวก ปรงทะเลเหงือกปลายหมอ ปอทะเล และเป้ ง เป็ นต้น 4. ป่ าพรุ หรื อป่ าบึงน้ าจืด(Swamp Forest) ป่ าชนิดนี้มกปรากฎในบริ เวณที่มน้ าจืดท่วมมาก ั ี ๆ ดินระบายน้ าไม่ดีป่าพรุ ในภาคกลาง มีลกษณะโปร่ งและมีตนไม้ข้ ึนอยูห่าง ั ้ ่ ๆ เช่น ครอ เทียน สนุ่น จิก โมกบ้าน หวายน้ า หวายโปร่ ง ระกา อ้อ และแขม ในภาคใต้ป่าพรุ มข้ ึนอยูตามบริ เวณที่มน้ าขังตลอดปี ดินป่ าพรุ ที่มีเนื้อที่มากที่สุดอยูใน ี ่ ี ่ บริ เวณจังหวัดนราธิวาสดินเป็ นพีท ซึ่งเป็ นซากพืชผุสลายทับถมกัน เป็ นเวลานานป่ าพรุ แบ่งออกได้ 2 ลักษณะ คือ ตามบริ เวณซึ่งเป็ นพรุ น้ ากร่ อยใกล้ชายทะเล ต้นเสม็ดจะขึ้นอยูหนาแน่นพื้นที่มีตนกกชนิดต่าง ๆ เรี ยก "ป่ าพรุ เสม็ด หรื อ ป่ าเสม็ด " อีกลักษณะเป็ นป่ าที่มีพนธุไม้ต่าง ๆ มากชนิดขึ้นปะปนกันชนิดพันธุไม้ ่ ้ ั ์ ์ ที่สาคัญของป่ าพรุ ได้แก่ อินทนิล น้ าหว้า จิก โสกน้ า กระทุ่มน้ าภันเกรา โงงงันกะทังหัน ไม้พ้ืนล่างประกอบด้วย หวาย ตะค้าทอง หมากแดง และหมาก ่ ชนิดอื่น ๆ 5. ป่ าชายหาด(Beach Forest)
  • 10. เป็ นป่ าโปร่ งไม่ผลัดใบขึ้นอยูตามบริ เวณหาดชายทะเล น้ าไม่ท่วมตามฝั่งดินและชายเขาริ มทะเล ต้นไม้สาคัญที่ข้ ึนอยูตามหาดชายทะเล ต้องเป็ นพืชทนเค็ม ่ ่ และมักมีลกษณะไม้เป็ นพุ่มลักษณะต้นคดงอ ใบหนาแข็ง ได้แก่ สนทะเล หูกวาง โพธิ์ทะเล กระทิง ตีนเป็ ดทะเล หยีน้ า มักมีตนเตยและหญ้าต่าง ๆ ขึ้นอยู่ ั ้ เป็ นไม้พ้ืนล่าง ตามฝั่งดินและชายเขา มักพบไม้เกตลาบิด มะคาแต้ กระบองเพชร เสมา และไม้หนามชนิดต่างๆ เช่น ซิงซี่ หนามหัน กาจาย มะดัน ขอ เป็ นต้น ป่ าประเภททีผลัดใบ (Declduous) ่ ต้นไม้ที่ข้ ึนอยูในป่ าประเภทนี้เป็ นจาพวกผลัดใบแทบทั้งสิ้น ในฤดูฝนป่ าประเภทนี้จะมองดูเขียวชอุ่มพอถึงฤดูแล้งต้นไม้ ส่วนใหญ่จะพากันผลัดใบทาให้ป่า ่ มองดูโปร่ งขึ้น และมักจะเกิดไฟป่ าเผาไหม้ใบไม้และต้นไม้เล็กๆ ป่ าชนิดสาคัญซึ่งอยูในประเภทนี้ ได้แก่ ่ 1. ป่ าเบญจพรรณ (Mixed Declduous Forest) ป่ าผลัดใบผสม หรื อป่ าเบญจพรรณมีลกษณะเป็ นป่ าโปร่ งและยังมีไม้ไผ่ชนิดต่าง ๆ ขึ้นอยูกระจัดกระจายทัวไปพื้นที่ดินมักเป็ นดินร่ วนปนทราย ป่ าเบญจ ั ่ ่ พรรณ ในภาคเหนือมักจะมีไม้สกขึ้นปะปนอยูทวไปครอบคลุมลงมาถึงจังหวัดกาญจนบุรี ในภาคกลางในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออก มีป่า ั ่ ั่ เบญจพรรณน้อยมากและกระจัดกระจาย พันธุไม้ชนิดสาคัญได้แก่ สัก ประดู่แดง มะค่าโมง ตะแบก เสลา อ้อยช้าง ส้าน ยม หอม ยม ์ หิน มะเกลือ สมพง เก็ดดา เก็ดแดง ฯลฯ นอกจากนี้มีไม้ไผ่ที่สาคัญ เช่น ไผ่ป่า ไผ่บง ไผ่ซาง ไผ่รวก ไผ่ไร เป็ นต้น 2. ป่ าเต็งรัง (Declduous Dipterocarp Forest) หรื อที่เรี ยกกันว่าป่ าแดง ป่ าแพะ ป่ าโคก ลักษณะทัวไปเป็ นป่ าโปร่ ง ตามพื้นป่ ามักจะมีโจด ต้นแปรง และหญ้าเพ็ก พื้นที่แห้งแล้งดินร่ วนปนทราย หรื อ ่ กรวด ลูกรัง พบอยูทวไปในที่ราบและที่ภูเขา ในภาคเหนือส่วนมากขึ้นอยูบนเขาที่มีดินตื้นและแห้งแล้งมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีป่าแดงหรื อป่ าเต็ง ่ ั่ ่ รังนี้มากที่สุด ตามเนินเขาหรื อที่ราบดินทรายชนิดพันธุไม้ที่สาคัญในป่ าแดง ์ หรื อป่ าเต็งรัง ได้แก่ เต็ง รัง เหียง พลวง กราด พะยอม ติ้ว แต้ว มะค่า
  • 11. แต ประดู่ แดง สมอไทย ตะแบก เลือดแสลงใจ รกฟ้ า ฯลฯ ส่วนไม้พ้ืนล่างที่พบมาก ได้แก่ มะพร้าวเต่า ปุ่ มแป้ ง หญ้าเพ็ก โจด ปรงและหญ้าชนิดอื่นๆ 3. ป่ าหญ้า (Savannas Forest) ป่ าหญ้าที่อยูทุกภาคบริ เวณป่ าที่ถกแผ้วถางทาลายบริ เวณพืนดินที่ขาดความสมบูรณ์และถูกทอดทิ้ง หญ้าชนิดต่าง ๆ จึงเกิดขึ้นทดแทนและพอถึงหน้าแล้งก็เกิด ่ ู ้ ไฟไหม้ทาให้ตนไม้บริ เวณข้างเคียงล้มตาย พื้นที่ป่าหญ้าจึงขยายมากขึ้นทุกปี พืชที่พบมากที่สุดในป่ าหญ้าก็คือ หญ้าคา หญ้าขนตาช้าง หญ้าโขมง หญ้าเพ็ก ้ และปุ่ มแป้ ง บริ เวณที่พอจะมีความชื้นอยูบาง และการระบายน้าได้ดีก็มกจะพบพงและแขมขึ้นอยู่ และอาจพบต้นไม้ทนไฟขึ้นอยู่ เช่น ตับเต่า รกฟ้ าตาน ่ ้ ั เหลือ ติ้วและแต้ว ประโยชน์ ของทรัพยากรป่ าไม้ ป่ าไม้มีประโยชน์มากมายต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ท้งทางตรงและทางอ้อม ได้แก่. ั ประโยชน์ทางตรง (Direct Benefits) ได้แก่ ปัจจัย 4 ประการ 1. จากการนาไม้มาสร้างอาคารบ้านเรื อนและผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น เฟอร์นิเจอร์ กระดาษ ไม้ขีดไฟ ฟื น เป็ นต้น 2. ใช้เป็ นอาหารจากส่วนต่าง ๆ ของพืชและผล 3. ใช้เส้นใย ที่ได้จากเปลือกไม้และเถาวัลย์มาถักทอ เป็ นเครื่ องนุ่งห่ม เชือกและอื่น ๆ 4. ใช้ทายารักษาโรคต่างๆ ประโยชน์ทางอ้อม (IndirectBenefits)
  • 12. 1. ป่ าไม้เป็ นเป็ นแหล่งกาเนิดต้นน้ าลาธารเพราะต้นไม้จานวนมากในป่ าจะทาให้น้ าฝนที่ตกลงมาค่อย ๆ ซึมซับลงในดินกลายเป็ นน้ าใต้ดินซึ่งจะไหลซึมมา หล่อเลี้ยงให้แม่น้ า ลาธารมีน้ าไหลอยูตลอดปี ่ 2. ป่ าไม้ทาให้เกิดความชุ่มชื้นและควบคุมสภาวะอากาศ ไอน้ าซึ่งเกิดจากการหายใจของพืช ซึ่งเกิดขึ้นอยูมากมายในป่ าทาให้อากาศเหนือป่ ามีความชื้นสูงเมื่อ ่ อุณหภูมิลดต่าลงไอน้ าเหล่านั้นก็จะกลันตัวกลายเป็ นเมฆแล้วกลายเป็ นฝนตกลงมา ทาให้บริ เวณที่มีพ้ืนป่ าไม้มความชุ่มชื้นอยูเ่ สมอ ฝนตกต้องตามฤดูกาล ี ่ และไม่เกิดความแห้งแล้ง 3. ป่ าไม้เป็ นแหล่งพักผ่อนและศึกษาความรู้ บริ เวณป่ าไม้จะมีภูมิประเทศที่สวยงามจากธรรมชาติรวมทั้งสัตว์ป่าจึงเป็ นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจได้ ดี นอกจากนั้นป่ าไม้ยงเป็ นที่รวมของพันธุพืชและพันธุสตว์จานวนมาก จึงเป็ นแหล่งให้มนุษย์ได้ศกษาหาความรู้ ั ์ ์ ั ึ 4. ป่ าไม้ช่วยบรรเทาความรุ นแรงของลมพายุและป้ องกันอุทกภัย โดยช่วยลดความเร็ วของลมพายุที่พดผ่านได้ต้งแต่ ๑๑-๔๔ % ตามลักษณะของป่ าไม้แต่ละ ั ั ชนิด จึงช่วยให้บานเมืองรอดพ้นจากวาตภัยได้ซ่ึงเป็ นการป้ องกันและควบคุมน้ าตามแม่น้ าไม่ให้สูงขึ้นมารวดเร็ วล้นฝั่งกลายเป็ นอุทกภัย ้ 5. ป่ าไม้ช่วยป้ องกันการกัดเซาะและพัดพาหน้าดิน จากน้ าฝนและลมพายุโดยลดแรงปะทะลงการหลุดเลือนของดินจึงเกิดขึ้นน้อย และยังเป็ นการช่วยให้ แม่น้ าลาธารต่าง ๆ ไม่ต้ืนเขินอีกด้วย นอกจากนี้ป่าไม้จะเป็ นเสมือนเครื่ องกีดขวางตามธรรมชาติ จึงนับว่ามีประโยชน์ในทางยุทธศาสตร์ดวยเช่นกัน ้ สาเหตุสาคัญของวิกฤตการณ์ป่าไม้ในประเทศไทย 1. การลักลอบตัดไม้ทาลายป่ า ตัวการของปัญหานี้คือนายทุนพ่อค้าไม้ เจ้าของโรงเลื่อย เจ้าของโรงงานแปรรู ปไม้ ผูรับสัมปทานทาไม้และชาวบ้าน ้ ทัวไป ซึ่งการตัดไม้เพื่อเอาประโยชน์จากเนื้อไม้ท้งวิธีที่ถกและผิดกฎหมาย ปริ มาณป่ าไม้ที่ถกทาลายนี้นบวันจะเพิมขึ้นเรื่ อย ๆ ตามอัตราเพิ่มของจานวน ั ู ู ั ่ ่ ประชากร ยิงมีประชากรเพิ่มขึ้นเท่าใด ความต้องการในการใช้ไม้ก็เพิ่มมากขึ้น เช่น ใช้ไม้ในการปลูกสร้างบ้านเรื อนเครื่ องมือเครื่ องใช้ในการเกษตรกรรม ่ เครื่ องเรื อนและถ่านในการหุงต้ม เป็ นต้น 2. การบุกรุ กพื้นที่ป่าไม้เพื่อเข้าครอบครองที่ดิน เมื่อประชากรเพิ่มสูงขึ้น ความต้องการใช้ที่ดินเพื่อปลูกสร้างที่อยูอาศัยและที่ดินทากินก็อยูสูงขึ้น เป็ นผล ่ ่ ผลักดันให้ราษฎรเข้าไปบุกรุ กพื้นที่ป่าไม้ แผ้วถางป่ า หรื อเผาป่ าทาไร่ เลื่อนลอย นอกจากนี้ ยงมีนายทุนที่ดินที่จางวานให้ราษฎรเข้าไปทาลายป่ าเพื่อจับจอง ั ้
  • 13. ที่ดินไว้ขายต่อไป 3. การส่งเสริ มการปลูกพืชหรื อเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจเพื่อการส่งออก เช่น มันสาปะหลัง ปอ เป็ นต้น โดยไม่ส่งเสริ มการใช้ที่ดินอย่างเต็มประสิทธิภาพทั้ง ๆ ที่ พื้นที่ป่าบางแห่งไม่เหมาะสมที่จะนามาใช้ในการเกษตร 4. การกาหนดแนวเขตพื้นที่ป่ากระทาไม่ชดเจนหรื อไม่กระทาเลยในหลาย ๆ พื้นที่ ทาให้ราษฎรเกิดความสับสนทั้งโดยเจตนาและไม่เจตนา ทาให้เกิดการ ั พิพาทในเรื่ องที่ดินทากินและที่ดินป่ าไม้อยูตลอดเวลาและมักเกิดการร้องเรี ยนต่อต้านในเรื่ องกรรมสิทธิ์ที่ดิน ่ 5. การจัดสร้างสาธารณูปโภคของรัฐ เช่น เขื่อน อ่างเก็บน้ า เส้นทางคมนาคม การสร้างเขื่อนขวางลาน้ าจะทาให้พ้ืนที่เก็บน้ าหน้าเขื่อนที่อุดมสมบูรณ์ถกตัด ู โค่นมาใช้ประโยชน์ ส่วนต้นไม้ขนาดเล็กหรื อที่ทาการย้ายออกมาไม่ทนจะถูกน้ าท่วมยืนต้นตาย เช่น การสร้างเขื่อนรัชชประภาเพื่อกั้นคลองพระแสงอันเป็ นสาขา ั ของแม่น้ าพุมดวง-ตาปี ทาให้น้ าท่วมบริ เวณป่ าดงดิบซึ่งมีพนธุไม้หนาแน่นประกอบด้วยสัตว์นานาชนิดนับแสนไร่ ต่อมาจึงเกิดปัญหาน้ าเน่าไหลลงลาน้ าพุมดวง ั ์ 6. ไฟไหม้ป่ามักจะเกิดขึ้นในช่วงฤดูแล้ง ซึ่งอากาศแห้งและร้อนจัด ทั้งโดยธรรมชาติและจากการกระทาของมะม่วงที่อาจลักลอบเผาป่ าหรื อเผลอ จุดไฟทิ้ง ไว้โดยเฉพาะในป่ าไม้เป็ นจานวนมาก 7. การทาเหมืองแร่ แหล่งแร่ ที่พบในบริ เวณที่มีป่าไม้ปกคลุมอยู่ มีความจาเป็ นที่จะต้องเปิ ดหน้าดินก่อนจึงทาให้ป่าไม้ที่ข้ ึนปกคลุมถูกทาลายลง เส้นทางขน ย้ายแร่ ในบางครั้งต้องทาลายป่ าไม้ลงเป็ นจานวนมาก เพื่อสร้าง ถนน หนทาง การระเบิดหน้าดิน เพื่อให้ได้มาซึ่งแร่ ธาตุ ส่งผลถึงการทาลายป่ า
  • 14. การอนุรักษ์ ป่าไม้ ป่ าไม้ถกทาลายไปจานวนมาก จึงทาให้เกิดผลกระทบต่อสภาพภูมิอากาศไปทัวโลกรวมทั้งความสมดุลในแง่อื่นด้วย ดังนั้น การฟื้ นฟูสภาพป่ าไม้จึงต้องดาเนินการ ู ่ เร่ งด่วน ทั้งภาครัฐภาคเอกชนและ ประชาชน ซึ่งมีแนวทางในการกาหนดแนวนโยบายด้านการจัดการป่ าไม้ ดังนี้ 1. นโยบายด้านการกาหนดเขตการใช้ประโยชน์ที่ดินป่ าไม้ 2. นโยบายด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรป่ าไม้เกี่ยวกับงานป้ องกันรักษาป่ าการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและสันทนาการ 3. นโยบายด้านการจัดการที่ดินทากินให้แก่ราษฎรผูยากไร้ในท้องถิ่น ้ 4. นโยบายด้านการพัฒนาป่ าไม้ เช่น การทาไม้และการเก็บหาของป่ า การปลูก และการบารุ งป่ าไม้ การค้นคว้าวิจยและด้านการอุตสาหกรรม ั 5. นโยบายการบริ หารทัวไปจากนโยบายดังกล่าวข้างต้นเป็ นแนวทางในการพัฒนาและการจัดการทรัพยากรป่ าไม้ของชาติให้ได้รับผลประโยชน์ ทั้งทางด้านการ ่ อนุรักษ์และด้านเศรษฐกิจอย่างผสมผสาน ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความสมดุลของธรรมชาติและมีทรัพยากรป่ าไม้ไว้อย่างยังยืนต่อไปในอนาคต ่ การจัดการป่ าเศรษฐกิจ มีกิจกรรมหลายอย่างที่จะดาเนินการในพื้นที่ป่าเศรษฐกิจ ได้แก่ 1. การพัฒนาป่ าธรรมชาติในพื้นที่ ๆ ยังมีป่าธรรมชาติปกคลุมสามารถวางโครงการทาป่ าไม้ต่าง ๆ และป่ าไม้ชุมชนเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อภาคอุตสาหกรรม และการใช้สอยในครัวเรื อนของราษฎรได้ 2. การพัฒนาทรัพยากรป่ าไม้ในพื้นที่ ๆ ว่างเปล่าสามารถพัฒนาโดยให้รัฐและเอกชนทาการปลูกป่ าในพื้นที่ ๆ ว่างเปล่า เพื่อผลิตไม้ในภาคอุตสาหกรรมและ ใช้สอยในครัวเรื อน 3. การพัฒนาตามหลักศาสตร์ชุมชนใช้พ้ืนที่ป่าเศรษฐกิจในโครงการพระราชดาริ โครงการพัฒนาเพื่อความมันคงโครงการหมู่บานป่ าไม้และโครงการ สกท. ้ ่ 4. การพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ ใช้พ้ืนที่เขตป่ าเศรษฐกิจดาเนินงานในกิจกรรมเหมืองแร่ ระเบิดหินย่อย และขอใช้ประโยชน์อื่น ๆ
  • 15. สวนพฤกษศาสตร์ คือ แหล่งที่รวบรวมพันธุพืชชนิดต่างๆ ที่มีชีวิต จัดปลูกตามความเหมาะสมกับสภาพถิ่นอาศัยเดิม มีหองสมุด สถานที่เก็บรวบรวมตัวอย่าง ์ ้ พรรณไม้รักษาสภาพ อาจเป็ นตัวอย่างแห้ง ตัวอย่างดอง หรื อเก็บรักษาโดยวิธีอื่นๆ พันธุพืชที่ทาการเก็บรวบรวมไว้น้ น จะเป็ นแหล่งข้อมูลและเผยแพร่ ความรู้ ์ ั นอกจากนี้สามารถใช้เป็ นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจ สวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียน สวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียน คือ ทุกสิ่งทุกอย่างที่มีอยูในโรงเรี ยน ที่ใช้เพื่อการเรี ยนรู้โดยมีพืชเป็ นปัจจัยหลัก ชีวภาพอื่นเป็ นปัจจัยรอง กายภาพเป็ นปัจจัย ่ เสริ ม และวัสดุอุปกรณ์เป็ นปัจจัยประกอบ งานสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียน คือ งานสร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์พนธุกรรมพืช ทรัพยากรชีวภาพ และกายภาพ โดยมีการสัมผัส การเรี ยนรู้ การสร้าง ั และปลูกฝังคุณธรรม การเสริ มสร้างปัญญาและภูมิปัญญา วัตถุประสงค์ของการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียน เพื่อสร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์พนธุกรรมพืชและทรัพยากร ั ผลของการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียน  เกิดจิตสานึกในการอนุ รักษ์พนธุกรรมพืช และทรัพยากร ั  มีขอมูลการเรี ยนรู ้ทรัพยากรที่สามารถสื่ อกันได้ทวประเทศ ้ ั่  มีคุณธรรมจริ ยธรรมเป็ นฐานของวิทยาการและปั ญญา  เกิดนักอนุ รักษ์ พัฒนาบนฐานคุณธรรม  เสริ มสร้างการเรี ยนรู ้บนฐาน ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
  • 16. บทที่ 3 วัสดุอุปกรณ์ และวิธีการดาเนินงาน 1. วัสดุอุปกรณ์ 1. กล้องถ่ายรู ป 2. สมุดบันทึก 3. แผงอัดพรรณไม้ 4. กรรไกร, มีด 2. วิธีการดาเนินงาน 1. กาหนดพื้นที่สารวจโดยใช้พ้ืนหลักเป็ นสวนป่ าหน้าอาคารเรี ยนศรี ตรัง 2. สารวจเก็บข้อมูลชนิดไม้ 3. ถ่ายรู ปไม้แต่ละชนิด 4. นาไม้แต่ละชนิดจัดทาตัวอย่างแห้ง 5. ค้นคว้าชื่อชนิดพรรณไม้และการใช้ประโยชน์เบื้องต้น
  • 17. บทที่ 4 ผลการสารวจ จากการสารวจพบพืชทั้งหมดจานวน 31 ชนิดดังแสดงไว้ในตารางที่ 1 และรู ปถ่ายของพืชแต่ละชนิด ตารางที่ 1 แสดงชนิดพรรณไม้ ที่สารวจพบ หมายเลข RA.1 RA.2 RA.3 RA.4 RA.5 RA.6 RA.7 RA.8 RA.9 RA.10 RA.11 RA.12 ชื่อท้องถิ่น ท้อนรอก ยอ พลา พลับ ข่อย ปรง ไม่ทราบชื่อ1 สอม เมา ไม่ทราบชื่อ2 เชียด แซะ ชื่อสามัญ สะท้อนรอก ยอบ้าน พลับพลา มะพลับ ข่อย โปรง ชื่อพฤกษศาสตร์ Elaeocarpus robustus Morinda citrifolia Grewia paniculata Diopyros sp. Streblus asper Brownlowia peltata ชื่อวงศ์(family) Elaeocarpaceae Rubiaceae Tiliaceae ไม้มะพลับ(Ebenaceae) Moraceae Tiliaceae การใช้ประโยชน์ เนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้าง ใบใช้ทาห่อหมก เนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้าง เนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้าง กะอาม - Crypteronia paniculata Eugenia sp. Crypteroniaceae Myrtaceae เนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้าง เนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้าง แซะ Cinnamomum sp. Millettia atropurpurea Lauraceae Legumiosae เนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้าง ยอดอ่อนใช้จิ้มน้ าพริ ก เนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้าง
  • 18. หมายเลข RA.13 RA.14 RA.15 RA.16 RA.17 RA.18 RA.19 RA.20 RA.21 RA.22 RA.23 RA.24 RA.25 RA.26 RA.27 RA.28 RA.29 RA.30 RA.31 ชื่อท้องถิน ่ ไม่ทราบชื่อ3 ไม่ทราบชื่อ4 ไม่ทราบชื่อ5 แบก จิกเขา ขี้ไต้ ไข่เน่า ก่อหลับเต้าปูน ส้าน วา ไม่ทราบชื่อ6 เนียน กาซา ทัง รักน้ า เจตมูลต้น ส้มเม่า พะยอม พังตาน ชื่อสามัญ ชื่อพฤกษศาสตร์ ชื่อวงศ์(family) การใช้ประโยชน์ ตะแบก จิกเขา ไข่เน่า ก่อหลับเต้าปูน ส้าน พวา Lagerstroemia sp. Barringotnia sp. Syzygium sp. Vitex glabrata Lithocarpus finetii Dillenia sp. Garinia speciosa Lythraceae เนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้าง Myrtaceae Verbenaceae Fagaceae Dilleniaceae Guttiferae เนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้าง มะหวด กะทังใบใหญ่ รักน้ า ไกรทอง พะยอม มังตาน Diospyros sp. Lepisanthes rubrinosa Litsea grandis Gluta velytina Erythroxylum cuneatum Antidesma sp. Shorea roxburghii Schima wallichii Ebenaceae Sapindaceae Lauraceae Anacardiaceae Erythoxylum Euphorbiaceae Dipterocapaceae Theaceae เนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้าง เนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้าง เนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้าง เนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้าง ยอดอ่อนใช้ทากับข้าว เนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้าง เนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้าง
  • 19. บทที่ 5 สรุปผลการสารวจ สรุปผล ผลการสารวจสามารถติดหมายเลขรหัสต้นไม้ได้ 31 ต้น เป็ นพรรณไม้ที่รู้จกชื่อ จานวน 25 ต้นอีก 6 ต้นไม่รู้จกชื่อ ซึ่งเป็ นไม้ในกลุ่ม ั ั ไม้พุ่ม ไม้พุ่มสูง และไม้ยนต้น และยังมีตนไม้อกหลายต้นที่เป็ นชนิดเดียวกันแต่ไม่ติดหมายเลขทุกต้น ื ้ ี ข้ อเสนอแนะ จากการสารวจพบไม้บางชนิดพบจานวนมากต้นบางชนิดพบเพียง ต้นเดียว เช่น ต้นขี้ไต้ ,ต้นเจตมูลต้น ซึ่งพืชที่พบเพียงต้นเดียวหรื อ สองต้น มีโอกาสสูญพันธุสูง ต้องหาวิธีการอนุรักษ์ การปลูกเสริ มพืชบางชนิดในถินเดิมแต่ในสวนป่ าโรงเรี ยนไม่มี โดยเฉพาะกลุ่มพืชพื้นล่าง เช่น ต้นตาเป็ ดตาไก่ ต้น ์ ่ เฒ่าหลังลาย เป็ นต้น เพื่อความสมบูรณ์และหลากหลายของสังคมป่ า ประโยชน์ ทได้ รับ ี่ ได้รู้จกพรรณไม้ รู้จกนิเวศนิสย การใช้ประโยชน์ทางตรงและทางอ้อม เป็ นข้อมูลเบื้องต้นในการสมัครสมาชิกโครงการอนุรักษ์ ั ั ั พันธุกรรมพืชต่อไป
  • 20. บทบรรณานุกรม ณพพร ดารงศิริ.2530. พฤกษอนุกรมวิธาน.สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคาแหง,กรุ งเทพฯ.763 น. ยุพา วรยศ.2534.พันธุ์ไม้นา.สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคาแหง,กรุ งเทพฯ.489 น. ้ www//web3.drp.go.th/botany/thaiPlantName/ www//biogang.net/biodiversity www//drp.go.th/patani-botany/พันธุไม้/ป่ าพรุ ์