SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
ชื่อเรื่อง การประเมินโครงการการปลูกพืชเศรษฐกิจ (ยางพารา)
ผูวิจัย นายวัฒนา จันทะวงษ
โรงเรียน โรงเรียนบานนาตราว ตําบลดงรัก อําเภอภูสิงห จังหวัดศรีสะเกษ
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 3
ปการศึกษา ภาคเรียนที่ 1 และภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2555
บทคัดยอ
โครงการการปลูกพืชเศรษฐกิจ (ยางพารา) โรงเรียนบานนาตราว ตําบลดงรัก อําเภอภูสิงห
จังหวัดศรีสะเกษ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 3 เปนโครงการที่บริหาร
จัดการที่ดินที่ใหเกิดประโยชนตอกิจกรรมการเรียนการสอน พัฒนาหลักสูตรการจัดการเรียนรูเพื่อ
สงเสริมอัตลักษณ พัฒนาครูใหมีความรูความสามารถในการจัดการเรียนการสอนดานงานอาชีพอยางมือ
อาชีพ มีการสรางเครือขาย และเผยแพรผลงานเปนที่ประจักษ ฝกทักษะใหนักเรียนมีพื้นฐานและ
ประสบการณในการประกอบอาชีพที่มีในชุมชน ตามความถนัดและความสนใจ สามารถนําองคความรู
ประสบการณเชื่อมโยงสูการประกอบชีพในชุมชน สรางรายไดกับตนเอง ครอบครัวเปนการพัฒนาชีวิต
ของนักเรียน การวิจัยเชิงประเมินครั้งนี้มีจุดมุงหมายเพื่อประเมินโครงการโดยใชรูปแบบซิป (CIPP
Model) ประกอบดวยการประเมินดานบริบท (Context) ดานปจจัยนําเขา (Input) ดานกระบวนการ
(Process) และดานผลผลิต (Product) คือ 1เพื่อประเมินโครงการการปลูกพืชเศรษฐกิจ (ยางพารา)
โรงเรียนบานนาตราว ตําบลดงรัก อําเภอภูสิงห จังหวัดศรีสะเกษ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 3 ดานสภาวะแวดลอม สําหรับผูบริหาร ครูและคณะกรรมการสถานศึกษา
ขั้นพื้นฐาน 2 เพื่อประเมินโครงการการปลูกพืชเศรษฐกิจ (ยางพารา) โรงเรียนบานนาตราว ตําบลดงรัก
อําเภอภูสิงห จังหวัดศรีสะเกษ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 3 ดานปจจัย
นําเขา สําหรับผูบริหาร ครูและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 3เพื่อประเมินโครงการการปลูกพืช
เศรษฐกิจ (ยางพารา) โรงเรียนบานนาตราว ตําบลดงรัก อําเภอภูสิงห จังหวัดศรีสะเกษ สํานักงานเขต
พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 3 ดานกระบวนการ สําหรับผูบริหาร ครูและคณะกรรมการ
สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 4เพื่อประเมินโครงการการปลูกพืชเศรษฐกิจ (ยางพารา) โรงเรียนบานนาตราว
ตําบลดงรัก อําเภอภูสิงห จังหวัดศรีสะเกษ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 3
ดานผลผลิต สําหรับผูบริหาร ครูและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สําหรับนักเรียน และสําหรับ
ผูปกครองนักเรียน 5 เพื่อเสนอแนะปญหา อุปสรรค และแนวทางพัฒนาการดําเนินงานของโครงการการ
ปลูกพืชเศรษฐกิจ (ยางพารา) โรงเรียนบานนาตราว ตําบลดงรัก อําเภอภูสิงห จังหวัดศรีสะเกษ สํานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 3 กลุมตัวอยางที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลในการวิจัย
เชิงประเมินครั้งนี้ ประกอบดวย ผูบริหาร คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และครู จํานวน 36 คน
ไดมาโดยการสุมอยางอยางงาย (Simple random sampling) นักเรียนจํานวน 87 คน ไดมาโดยการสุม
แบบแบงชั้นภูมิ (Stratify random sampling) และผูปกครอง จํานวน 87 คน ไดมาโดยใชวิธีการสุม
อยางงาย (Simple random sampling) ตามสูตรของทาโร ยามาเน (Yamane) และกลุมตัวอยาง
สําหรับการสนทนากลุม (Focus group) ใชวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Selection)
จํานวน 12 คน ระยะเวลาที่ใชในการวิจัยคือ ปการศึกษา 2555 เครื่องมือที่ใชในการวิจัยมีลักษณะเปน
แบบมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) มี 3 ฉบับ คือ ฉบับที่ 1 ใชสอบถามความคิดเห็นผูบริหาร
ครู และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ใชสอบถาม 4 ดาน คือ ดานบริบท ดานปจจัยนําเขา
ดานกระบวนการ และดานผลผลิต จํานวน 65 ขอ มีคาอํานาจจําแนกอยูระหวาง 0.21 – 0.71 และ
มีคาความเชื่อมั่นทั้งฉบับเทากับ 0.94 ฉบับที่ 2 ใชสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนผูเขารวมโครงการ
คือ ดานผลผลิตสําหรับนักเรียน จํานวน 20 ขอ มีคาอํานาจจําแนกอยูระหวาง 0.36 – 0.81 และมีคา
ความเชื่อมั่นทั้งฉบับเทากับ 0.93 และฉบับที่ 3 ใชสอบถามความคิดเห็นของผูปกครองนักเรียนที่เขารวม
โครงการ คือ ดานผลผลิตสําหรับผูปกครองนักเรียน จํานวน 20 ขอ มีคาอํานาจจําแนกอยูระหวาง
0.37 – 0.81 และมีคาความเชื่อมั่นทั้งฉบับเทากับ 0.92 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล คือ คารอยละ
(Percentage) คาเฉลี่ย (Mean) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
ผลการวิจัยพบวา
1. การประเมินโครงการการปลูกพืชเศรษฐกิจ (ยางพารา) โรงเรียนบานนาตราว ตําบลดง
รัก อําเภอภูสิงห จังหวัดศรีสะเกษ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 3 ดาน
สภาวะแวดลอม ภาพรวม อยูในระดับ มาก (x = 4.15, S.D. = 0.93) เมื่อพิจารณาโดยเรียงจาก
คาเฉลี่ยระดับ ความเหมาะสมสูงสุด 3 อันดับ พบวา อันดับแรก คือ ขอที่ 5 กิจกรรมของโครงการ
เหมาะสมกับสภาพ ปญหาและสามารถสงเสริมการศึกษาดานอาชีพ อยูในระดับ มาก (x = 4.41, S.D.
= 0.94) รองลงมาคือ ขอที่ 2 วัตถุประสงคของโครงการที่กําหนดไวมีความชัดเจน สามารถนําไปปฏิบัติ
ไดจริง อยูในระดับ มาก (x = 4.24, S.D. = 0.83) และขอที่ 6 กิจกรรมที่กําหนดไวในโครงการสามารถ
พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อสงเสริมอัตลักษณ อยูในระดับ มาก (x = 4.19, S.D. = 1.11) ตามลําดับ
สวนขอที่มีคาเฉลี่ยต่ําสุด คือ ขอที่ 7 เปาหมายโครงการที่กําหนดสอดคลองกับความตองการจําเปนใน
การพัฒนาการจัดการศึกษา อยูในระดับ มาก (x = 3.88, S.D. = 0.93)
2. การประเมินโครงการการปลูกพืชเศรษฐกิจ (ยางพารา) โรงเรียนบานนาตราว ตําบลดงรัก
อําเภอภูสิงห จังหวัดศรีสะเกษ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 3 ดานปจจัย
นําเขา ภาพรวม อยูในระดับ มาก (x = 3.63, S.D. = 1.13) เมื่อพิจารณาโดยเรียงจากคาเฉลี่ยระดับ
ความเหมาะสมสูงสุด 3 อันดับ พบวา อันดับแรก คือ ขอที่ 1 ผูบริหารมีวิสัยทัศน เห็นความสําคัญและ
ใหการสนับสนุนการจัดกิจกรรม อยูในระดับ มาก (x = 4.29, S.D. = 0.99) รองลงมาคือ ขอที่ 5 ครูมี
เจตคติที่ดีตอการจัดกิจกรรมการเรียนรูดานอาชีพ อยูในระดับ มาก (x = 4.24, S.D. = 0.90) และขอ
ที่ 4 ครูเสียสละและอุทิศเวลาในการดําเนินงาน อยูในระดับ มาก (x = 3.88, S.D. = 1.17) สวนขอที่มี
คาเฉลี่ยต่ําสุด คือ ขอที่ 21 คุณภาพของสื่อ วัสดุ อุปกรณมีความเหมาะสมในการดําเนินโครงการ อยูใน
ระดับ ปานกลาง (x = 3.29, S.D. = 1.16)
3. การประเมินโครงการการปลูกพืชเศรษฐกิจ (ยางพารา) โรงเรียนบานนาตราว ตําบลดงรัก
อําเภอภูสิงห จังหวัดศรีสะเกษ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 3 ดาน
กระบวนการ สําหรับผูบริหารโรงเรียน ครู และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาพรวม อยูใน
ระดับ มาก (x =3.54, S.D. = 1.12) เมื่อพิจารณาโดยเรียงจากคาเฉลี่ยระดับ ความเหมาะสมสูงสุด 3
อันดับ พบวา อันดับแรก คือ ขอที่ 4 โรงเรียนกําหนดโครงสรางหลักสูตรการจัดการศึกษาสอดคลองกับ
สภาพผูเรียนและทองถิ่น (x =3.88, S.D. = 0.99) รองลงมา คือ ขอที่ 3 โรงเรียนกําหนดผูรับผิดชอบใน
การพัฒนาหลักสูตรการจัดการศึกษา (x =3.82, S.D. = 1.07) และขอที่ 1 โรงเรียนดําเนินการศึกษา
วิเคราะหสภาพ ปญหา และความตองการในการพัฒนาหลักสูตรการจัดการศึกษา (x =3.71, S.D. =
1.31) สวนขอที่มีคาเฉลี่ยต่ําสุด คือ ขอที่ 14 โรงเรียนสามารถดําเนินการวิจัยตามแผนงานที่กําหนด (x
=3.29, S.D. = 0.99)
4. การประเมินโครงการการปลูกพืชเศรษฐกิจ (ยางพารา) โรงเรียนบานนาตราว ตําบลดงรัก
อําเภอภูสิงห จังหวัดศรีสะเกษ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 3 ดานผลผลิต
สําหรับผูบริหาร ครูและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สําหรับนักเรียน และสําหรับผูปกครอง
นักเรียน ปรากฏดังนี้
4.1 การประเมินโครงการการปลูกพืชเศรษฐกิจ (ยางพารา) โรงเรียนบานนาตราว ตําบล
ดงรัก อําเภอภูสิงห จังหวัดศรีสะเกษ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 3 ดาน
ผลผลิต สําหรับผูบริหารโรงเรียน ครู และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาพรวม อยูในระดับ
มาก (x =3.49, S.D. = 1.19) เมื่อพิจารณาโดยเรียงจากคาเฉลี่ยระดับ ความเหมาะสมสูงสุด 3 อันดับ
พบวา อันดับแรก คือ ขอที่ 1 โรงเรียนมีหลักสูตรที่มีความเหมาะสม และสอดคลองกับศักยภาพของ
นักเรียนและบริบทของโรงเรียน (x =3.76, S.D. = 1.03) รองลงมา คือ ขอที่ 9 นักเรียนมีความพึง
พอใจตอการจัดการศึกษา (x =3.71, S.D. = 1.10) และขอที่ 8 นักเรียนมีความรู ทักษะ และเจตคติที่ดี
ในการประกอบอาชีพ (x =3.59, S.D. = 1.12) สวนขอที่มีคาเฉลี่ยต่ําสุด คือ ขอที่ 7 โรงเรียนนํา
ผลการวิจัยไปพัฒนา ปรับปรุงการดําเนินงาน (x =3.24, S.D. = 1.35)
4.2 การประเมินโครงการการปลูกพืชเศรษฐกิจ (ยางพารา) โรงเรียนบานนาตราว ตําบล
ดงรัก อําเภอภูสิงห จังหวัดศรีสะเกษ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 3 ดาน
ผลผลิต สําหรับนักเรียน ภาพรวมอยูในระดับ มาก (x = 3.57, S.D. = 1.10) เมื่อพิจารณาโดยเรียงจาก
คาเฉลี่ยระดับ ความเหมาะสมสูงสุด 3 อันดับ พบวา อันดับแรก คือ ขอที่ 6 นักเรียนมีความรู ทักษะ
และประสบการณในงานอาชีพ (x = 3.74, S.D. = 1.09) รองลงมาคือ ขอที่ 20 นักเรียนมีความ
ตองการพัฒนาอาชีพในทองถิ่นใหกาวทันยุคสมัย (x = 3.73, S.D. = 1.33) และขอที่ 13 นักเรียนมี
ความเขาใจในการจัดกิจกรรมการเรียนรูของโรงเรียน (x = 3.72, S.D. = 1.08) ตามลําดับ สวนขอที่มี
คาเฉลี่ยต่ําสุด คือ ขอที่ 12 นักเรียนมีรายไดระหวางเรียนจากการจัดกิจกรรมตามโครงการ (x = 3.15,
S.D. = 1.20)
4.3 การประเมินโครงการการปลูกพืชเศรษฐกิจ (ยางพารา) โรงเรียนบานนาตราว ตําบล
ดงรัก อําเภอภูสิงห จังหวัดศรีสะเกษ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 3 ดาน
ผลผลิต สําหรับผูปกครองนักเรียน ภาพรวมอยูในระดับ มากที่สุด (x = 4.49, S.D. = 0.65) เมื่อ
พิจารณาโดยเรียงจากคาเฉลี่ยระดับ ความเหมาะสมสูงสุด 3 อันดับ พบวา อันดับแรก คือ ขอที่ 15 การ
จัดกิจกรรมตามโครงการปลูกพืชเศรษฐกิจ (ยางพารา) สงผลใหนักเรียนมีความขยัน อดทน ซื่อสัตย ใฝรู
ใฝเรียน อยูในระดับ มากที่สุด (x = 4.77, S.D. = 0.50) รองลงมาคือ ขอที่ 17 การจัดกิจกรรมตาม
โครงการปลูกพืชเศรษฐกิจ (ยางพารา) สงเสริมใหนักเรียนมีความสามารถตรงกับความตองการของ
ผูปกครอง ชุมชน และสถานประกอบการ อยูในระดับ มากที่สุด (x = 4.70, S.D. = 0.60) และขอที่ 2
การจัดกิจกรรมตามโครงการปลูกพืชเศรษฐกิจ (ยางพารา) ชวยใหนักเรียนไดรับโอกาสมีงานทํา อยูใน
ระดับ มากที่สุด (x = 4.67, S.D. = 0.61) ตามลําดับ สวนรายขอที่มีคาเฉลี่ยต่ําสุด คือ ขอที่ 9 การจัด
กิจกรรมตามโครงการปลูกพืชเศรษฐกิจ (ยางพารา) สงผลตอการเรียนรูวิชาอื่น อยูในระดับ มาก (x =
4.27, S.D. = 0.64)
การประเมินโครงการการปลูกพืชเศรษฐกิจ (ยางพารา) โรงเรียนบานนาตราว ในภาพรวม
ทั้ง 4 ดาน โดยรวมอยูในระดับมาก (x = 3.79, S.D. = 1.04) เมื่อพิจารณาโดยเรียงจากคาเฉลี่ยระดับ
ความเหมาะสมสูงสุด 3 อันดับ พบวา อันดับแรก คือ สภาวะแวดลอม (x = 4.15, S.D. = 0.93)
รองลงมาคือ ดานผลผลิต (x = 3.85, S.D. = 0.98) และดานปจจัยนําเขา (x = 3.63, S.D. = 1.13)
ตามลําดับ สวนรายขอที่มีคาเฉลี่ยต่ําสุด คือ ดานกระบวนการ (x = 3.54, S.D. = 0.12)
5. ปญหา อุปสรรค และแนวทางพัฒนาการดําเนินงานของโครงการการปลูกพืชเศรษฐกิจ
(ยางพารา) โรงเรียนบานนาตราว ตําบลดงรัก อําเภอภูสิงห จังหวัดศรีสะเกษ สํานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 3 ปรากฏดังนี้ 1) ปญหา อุปสรรค คือ ขาดนโยบายที่ชัดเจน
บุคลากรยังขาดความสนใจและตระหนัก ขาดความรูความชํานาญ นักเรียนขาดคานิยมในการประกอบ
อาชีพ ขาดวิธีการที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ ขาดความตอเนื่อง การจัดสรรรายไดยังไมชัดเจนทําใหขาด
แรงจูงใจในการทํางาน 2) แนวทางการปรับปรุงหรือพัฒนา การสํารวจความตองการของนักเรียน
วิเคราะห ความรู ความสามารถ ถนัดดาน มีการพัฒนาครูใหเปนครูมืออาชีพ สามารถประกอบอาชีพ
จริงได ปลูกจิตสํานึกทั้งวิชาการและวิชาชีพ กําหนดบทบาทหนาที่ คณะกรรมการดําเนินงาน มี
ผูรับผิดชอบและขับเคลื่อนกิจกรรมที่เปนรูปธรรม สรางเครือขายประสานความรวมมือชุมชน
4) ขอเสนอแนะอื่น ๆ ควรมีเพิ่มเติมดานความรูความเขาใจเกี่ยวกับแนวทางการประกอบอาชีพใหเปน
ปจจุบันเทาทันสังคมที่เปลี่ยนแปลง มีการสนับสนุนทรัพยากรจัดใหมีการแขงขัน ยกยอง เชิดชูเกียรติ
สรางความภาคภูมิใจ คานิยม เจตคติที่ดีดานอาชีพเพื่อสรางแรงจูงใจ และความกระตือรือรนใหกับ
ผูเรียน สงเสริมใหงานอาชีพใหเปนงานประจํา ปฏิบัติใหถึงแกนใหมีความรูประสบการณ ฝกฝนจนเกิด
ความยั่งยืน อยูในวิถีชีวิตประจําวัน

More Related Content

Viewers also liked

モンブラン精密検査ブリーフケース
モンブラン精密検査ブリーフケースモンブラン精密検査ブリーフケース
モンブラン精密検査ブリーフケースqiuge1235
 
Nuevo presentación de microsoft office power point
Nuevo presentación de microsoft office power pointNuevo presentación de microsoft office power point
Nuevo presentación de microsoft office power pointMaria Munera
 
Eco travel in Thailand.Koh Nang Yuan.
Eco travel in Thailand.Koh Nang Yuan.Eco travel in Thailand.Koh Nang Yuan.
Eco travel in Thailand.Koh Nang Yuan.Sasiphaa Daoruang
 
Account manager
Account managerAccount manager
Account managerIvo Klys
 
διεύθυνση πρωτοβάθμιας εκπαίδευσης ηρακλείου βαλατίδης υπηρεσιακή κομποστοποίηση
διεύθυνση πρωτοβάθμιας εκπαίδευσης ηρακλείου βαλατίδης υπηρεσιακή κομποστοποίησηδιεύθυνση πρωτοβάθμιας εκπαίδευσης ηρακλείου βαλατίδης υπηρεσιακή κομποστοποίηση
διεύθυνση πρωτοβάθμιας εκπαίδευσης ηρακλείου βαλατίδης υπηρεσιακή κομποστοποίησηvalefantinou
 
July 24, 2013 City Council Freeway Aesthetic Concepts Presentation
July 24, 2013 City Council Freeway Aesthetic Concepts PresentationJuly 24, 2013 City Council Freeway Aesthetic Concepts Presentation
July 24, 2013 City Council Freeway Aesthetic Concepts PresentationCity of Corona
 
MyClient Presentation
MyClient PresentationMyClient Presentation
MyClient PresentationCindy Nguyen
 
Zumba Gold Letter (with card)-2
Zumba Gold Letter (with card)-2Zumba Gold Letter (with card)-2
Zumba Gold Letter (with card)-2Genalin Shea
 
Company introduction
Company introductionCompany introduction
Company introductionCandy Yan
 
Place, Housing & Opportunity: Fair Housing for Supporting Thriving Families a...
Place, Housing & Opportunity: Fair Housing for Supporting Thriving Families a...Place, Housing & Opportunity: Fair Housing for Supporting Thriving Families a...
Place, Housing & Opportunity: Fair Housing for Supporting Thriving Families a...Kristen Cuhran
 

Viewers also liked (18)

That Thing
That ThingThat Thing
That Thing
 
La guerra civil
La guerra civilLa guerra civil
La guerra civil
 
Museo Hirshhorn
Museo HirshhornMuseo Hirshhorn
Museo Hirshhorn
 
モンブラン精密検査ブリーフケース
モンブラン精密検査ブリーフケースモンブラン精密検査ブリーフケース
モンブラン精密検査ブリーフケース
 
Nuevo presentación de microsoft office power point
Nuevo presentación de microsoft office power pointNuevo presentación de microsoft office power point
Nuevo presentación de microsoft office power point
 
Eco travel in Thailand.Koh Nang Yuan.
Eco travel in Thailand.Koh Nang Yuan.Eco travel in Thailand.Koh Nang Yuan.
Eco travel in Thailand.Koh Nang Yuan.
 
Geometry2
Geometry2Geometry2
Geometry2
 
Account manager
Account managerAccount manager
Account manager
 
διεύθυνση πρωτοβάθμιας εκπαίδευσης ηρακλείου βαλατίδης υπηρεσιακή κομποστοποίηση
διεύθυνση πρωτοβάθμιας εκπαίδευσης ηρακλείου βαλατίδης υπηρεσιακή κομποστοποίησηδιεύθυνση πρωτοβάθμιας εκπαίδευσης ηρακλείου βαλατίδης υπηρεσιακή κομποστοποίηση
διεύθυνση πρωτοβάθμιας εκπαίδευσης ηρακλείου βαλατίδης υπηρεσιακή κομποστοποίηση
 
Types of solutions
Types of solutionsTypes of solutions
Types of solutions
 
July 24, 2013 City Council Freeway Aesthetic Concepts Presentation
July 24, 2013 City Council Freeway Aesthetic Concepts PresentationJuly 24, 2013 City Council Freeway Aesthetic Concepts Presentation
July 24, 2013 City Council Freeway Aesthetic Concepts Presentation
 
Phi phi island
Phi phi islandPhi phi island
Phi phi island
 
MyClient Presentation
MyClient PresentationMyClient Presentation
MyClient Presentation
 
Cultural forces
Cultural forcesCultural forces
Cultural forces
 
Zumba Gold Letter (with card)-2
Zumba Gold Letter (with card)-2Zumba Gold Letter (with card)-2
Zumba Gold Letter (with card)-2
 
Phu chi fha.
Phu chi fha.Phu chi fha.
Phu chi fha.
 
Company introduction
Company introductionCompany introduction
Company introduction
 
Place, Housing & Opportunity: Fair Housing for Supporting Thriving Families a...
Place, Housing & Opportunity: Fair Housing for Supporting Thriving Families a...Place, Housing & Opportunity: Fair Housing for Supporting Thriving Families a...
Place, Housing & Opportunity: Fair Housing for Supporting Thriving Families a...
 

Similar to การประเมินโครงการการปลูกพืชเศรษฐกิจ (ยางพารา) นายวัฒนา จันทะวงษ์

Math camp activity for development solving
Math camp activity for development solving Math camp activity for development solving
Math camp activity for development solving Rujroad Kaewurai
 
โครงงานคอมเวิด
โครงงานคอมเวิดโครงงานคอมเวิด
โครงงานคอมเวิดmaddemon madden
 
แผน 6 นวัตกรรม
แผน 6 นวัตกรรม แผน 6 นวัตกรรม
แผน 6 นวัตกรรม Jirathorn Buenglee
 
โครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวโครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวJirathorn Buenglee
 
โรงเรียนนานาชาติ อไจล์
โรงเรียนนานาชาติ อไจล์โรงเรียนนานาชาติ อไจล์
โรงเรียนนานาชาติ อไจล์Goal Maria
 
2บทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียน
2บทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียน2บทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียน
2บทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียนJeeraJaree Srithai
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดคุณครูพี่อั๋น
 
รายงานโครงการ inspiring science 57
รายงานโครงการ inspiring science 57รายงานโครงการ inspiring science 57
รายงานโครงการ inspiring science 57Satian Pantis
 
การบริหารการศึกษาPp
การบริหารการศึกษาPpการบริหารการศึกษาPp
การบริหารการศึกษาPpKamjornT
 
การศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลการศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลdtschool
 
เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่
เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่
เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่ครูเย็นจิตร บุญศรี
 
สมุดบันทึกความดี
สมุดบันทึกความดีสมุดบันทึกความดี
สมุดบันทึกความดีAon Narinchoti
 

Similar to การประเมินโครงการการปลูกพืชเศรษฐกิจ (ยางพารา) นายวัฒนา จันทะวงษ์ (20)

Thaijo2
Thaijo2Thaijo2
Thaijo2
 
Math camp activity for development solving
Math camp activity for development solving Math camp activity for development solving
Math camp activity for development solving
 
R wichuta
R wichutaR wichuta
R wichuta
 
Teachercom c
Teachercom cTeachercom c
Teachercom c
 
โครงงานคอมเวิด
โครงงานคอมเวิดโครงงานคอมเวิด
โครงงานคอมเวิด
 
แผน 6 นวัตกรรม
แผน 6 นวัตกรรม แผน 6 นวัตกรรม
แผน 6 นวัตกรรม
 
โครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวโครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไว
 
โรงเรียนนานาชาติ อไจล์
โรงเรียนนานาชาติ อไจล์โรงเรียนนานาชาติ อไจล์
โรงเรียนนานาชาติ อไจล์
 
Radchaneeporn
RadchaneepornRadchaneeporn
Radchaneeporn
 
Algebra Castle
Algebra CastleAlgebra Castle
Algebra Castle
 
962
962962
962
 
2บทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียน
2บทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียน2บทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียน
2บทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียน
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
รายงานโครงการ inspiring science 57
รายงานโครงการ inspiring science 57รายงานโครงการ inspiring science 57
รายงานโครงการ inspiring science 57
 
2561 project 14
2561 project  142561 project  14
2561 project 14
 
การบริหารการศึกษาPp
การบริหารการศึกษาPpการบริหารการศึกษาPp
การบริหารการศึกษาPp
 
การศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลการศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกล
 
เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่
เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่
เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่
 
สมุดบันทึกความดี
สมุดบันทึกความดีสมุดบันทึกความดี
สมุดบันทึกความดี
 
Limit
LimitLimit
Limit
 

การประเมินโครงการการปลูกพืชเศรษฐกิจ (ยางพารา) นายวัฒนา จันทะวงษ์

  • 1. ชื่อเรื่อง การประเมินโครงการการปลูกพืชเศรษฐกิจ (ยางพารา) ผูวิจัย นายวัฒนา จันทะวงษ โรงเรียน โรงเรียนบานนาตราว ตําบลดงรัก อําเภอภูสิงห จังหวัดศรีสะเกษ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 3 ปการศึกษา ภาคเรียนที่ 1 และภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2555 บทคัดยอ โครงการการปลูกพืชเศรษฐกิจ (ยางพารา) โรงเรียนบานนาตราว ตําบลดงรัก อําเภอภูสิงห จังหวัดศรีสะเกษ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 3 เปนโครงการที่บริหาร จัดการที่ดินที่ใหเกิดประโยชนตอกิจกรรมการเรียนการสอน พัฒนาหลักสูตรการจัดการเรียนรูเพื่อ สงเสริมอัตลักษณ พัฒนาครูใหมีความรูความสามารถในการจัดการเรียนการสอนดานงานอาชีพอยางมือ อาชีพ มีการสรางเครือขาย และเผยแพรผลงานเปนที่ประจักษ ฝกทักษะใหนักเรียนมีพื้นฐานและ ประสบการณในการประกอบอาชีพที่มีในชุมชน ตามความถนัดและความสนใจ สามารถนําองคความรู ประสบการณเชื่อมโยงสูการประกอบชีพในชุมชน สรางรายไดกับตนเอง ครอบครัวเปนการพัฒนาชีวิต ของนักเรียน การวิจัยเชิงประเมินครั้งนี้มีจุดมุงหมายเพื่อประเมินโครงการโดยใชรูปแบบซิป (CIPP Model) ประกอบดวยการประเมินดานบริบท (Context) ดานปจจัยนําเขา (Input) ดานกระบวนการ (Process) และดานผลผลิต (Product) คือ 1เพื่อประเมินโครงการการปลูกพืชเศรษฐกิจ (ยางพารา) โรงเรียนบานนาตราว ตําบลดงรัก อําเภอภูสิงห จังหวัดศรีสะเกษ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 3 ดานสภาวะแวดลอม สําหรับผูบริหาร ครูและคณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน 2 เพื่อประเมินโครงการการปลูกพืชเศรษฐกิจ (ยางพารา) โรงเรียนบานนาตราว ตําบลดงรัก อําเภอภูสิงห จังหวัดศรีสะเกษ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 3 ดานปจจัย นําเขา สําหรับผูบริหาร ครูและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 3เพื่อประเมินโครงการการปลูกพืช เศรษฐกิจ (ยางพารา) โรงเรียนบานนาตราว ตําบลดงรัก อําเภอภูสิงห จังหวัดศรีสะเกษ สํานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 3 ดานกระบวนการ สําหรับผูบริหาร ครูและคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 4เพื่อประเมินโครงการการปลูกพืชเศรษฐกิจ (ยางพารา) โรงเรียนบานนาตราว ตําบลดงรัก อําเภอภูสิงห จังหวัดศรีสะเกษ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 3 ดานผลผลิต สําหรับผูบริหาร ครูและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สําหรับนักเรียน และสําหรับ ผูปกครองนักเรียน 5 เพื่อเสนอแนะปญหา อุปสรรค และแนวทางพัฒนาการดําเนินงานของโครงการการ ปลูกพืชเศรษฐกิจ (ยางพารา) โรงเรียนบานนาตราว ตําบลดงรัก อําเภอภูสิงห จังหวัดศรีสะเกษ สํานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 3 กลุมตัวอยางที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลในการวิจัย เชิงประเมินครั้งนี้ ประกอบดวย ผูบริหาร คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และครู จํานวน 36 คน ไดมาโดยการสุมอยางอยางงาย (Simple random sampling) นักเรียนจํานวน 87 คน ไดมาโดยการสุม แบบแบงชั้นภูมิ (Stratify random sampling) และผูปกครอง จํานวน 87 คน ไดมาโดยใชวิธีการสุม
  • 2. อยางงาย (Simple random sampling) ตามสูตรของทาโร ยามาเน (Yamane) และกลุมตัวอยาง สําหรับการสนทนากลุม (Focus group) ใชวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Selection) จํานวน 12 คน ระยะเวลาที่ใชในการวิจัยคือ ปการศึกษา 2555 เครื่องมือที่ใชในการวิจัยมีลักษณะเปน แบบมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) มี 3 ฉบับ คือ ฉบับที่ 1 ใชสอบถามความคิดเห็นผูบริหาร ครู และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ใชสอบถาม 4 ดาน คือ ดานบริบท ดานปจจัยนําเขา ดานกระบวนการ และดานผลผลิต จํานวน 65 ขอ มีคาอํานาจจําแนกอยูระหวาง 0.21 – 0.71 และ มีคาความเชื่อมั่นทั้งฉบับเทากับ 0.94 ฉบับที่ 2 ใชสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนผูเขารวมโครงการ คือ ดานผลผลิตสําหรับนักเรียน จํานวน 20 ขอ มีคาอํานาจจําแนกอยูระหวาง 0.36 – 0.81 และมีคา ความเชื่อมั่นทั้งฉบับเทากับ 0.93 และฉบับที่ 3 ใชสอบถามความคิดเห็นของผูปกครองนักเรียนที่เขารวม โครงการ คือ ดานผลผลิตสําหรับผูปกครองนักเรียน จํานวน 20 ขอ มีคาอํานาจจําแนกอยูระหวาง 0.37 – 0.81 และมีคาความเชื่อมั่นทั้งฉบับเทากับ 0.92 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล คือ คารอยละ (Percentage) คาเฉลี่ย (Mean) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ผลการวิจัยพบวา 1. การประเมินโครงการการปลูกพืชเศรษฐกิจ (ยางพารา) โรงเรียนบานนาตราว ตําบลดง รัก อําเภอภูสิงห จังหวัดศรีสะเกษ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 3 ดาน สภาวะแวดลอม ภาพรวม อยูในระดับ มาก (x = 4.15, S.D. = 0.93) เมื่อพิจารณาโดยเรียงจาก คาเฉลี่ยระดับ ความเหมาะสมสูงสุด 3 อันดับ พบวา อันดับแรก คือ ขอที่ 5 กิจกรรมของโครงการ เหมาะสมกับสภาพ ปญหาและสามารถสงเสริมการศึกษาดานอาชีพ อยูในระดับ มาก (x = 4.41, S.D. = 0.94) รองลงมาคือ ขอที่ 2 วัตถุประสงคของโครงการที่กําหนดไวมีความชัดเจน สามารถนําไปปฏิบัติ ไดจริง อยูในระดับ มาก (x = 4.24, S.D. = 0.83) และขอที่ 6 กิจกรรมที่กําหนดไวในโครงการสามารถ พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อสงเสริมอัตลักษณ อยูในระดับ มาก (x = 4.19, S.D. = 1.11) ตามลําดับ สวนขอที่มีคาเฉลี่ยต่ําสุด คือ ขอที่ 7 เปาหมายโครงการที่กําหนดสอดคลองกับความตองการจําเปนใน การพัฒนาการจัดการศึกษา อยูในระดับ มาก (x = 3.88, S.D. = 0.93) 2. การประเมินโครงการการปลูกพืชเศรษฐกิจ (ยางพารา) โรงเรียนบานนาตราว ตําบลดงรัก อําเภอภูสิงห จังหวัดศรีสะเกษ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 3 ดานปจจัย นําเขา ภาพรวม อยูในระดับ มาก (x = 3.63, S.D. = 1.13) เมื่อพิจารณาโดยเรียงจากคาเฉลี่ยระดับ ความเหมาะสมสูงสุด 3 อันดับ พบวา อันดับแรก คือ ขอที่ 1 ผูบริหารมีวิสัยทัศน เห็นความสําคัญและ ใหการสนับสนุนการจัดกิจกรรม อยูในระดับ มาก (x = 4.29, S.D. = 0.99) รองลงมาคือ ขอที่ 5 ครูมี เจตคติที่ดีตอการจัดกิจกรรมการเรียนรูดานอาชีพ อยูในระดับ มาก (x = 4.24, S.D. = 0.90) และขอ ที่ 4 ครูเสียสละและอุทิศเวลาในการดําเนินงาน อยูในระดับ มาก (x = 3.88, S.D. = 1.17) สวนขอที่มี คาเฉลี่ยต่ําสุด คือ ขอที่ 21 คุณภาพของสื่อ วัสดุ อุปกรณมีความเหมาะสมในการดําเนินโครงการ อยูใน ระดับ ปานกลาง (x = 3.29, S.D. = 1.16)
  • 3. 3. การประเมินโครงการการปลูกพืชเศรษฐกิจ (ยางพารา) โรงเรียนบานนาตราว ตําบลดงรัก อําเภอภูสิงห จังหวัดศรีสะเกษ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 3 ดาน กระบวนการ สําหรับผูบริหารโรงเรียน ครู และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาพรวม อยูใน ระดับ มาก (x =3.54, S.D. = 1.12) เมื่อพิจารณาโดยเรียงจากคาเฉลี่ยระดับ ความเหมาะสมสูงสุด 3 อันดับ พบวา อันดับแรก คือ ขอที่ 4 โรงเรียนกําหนดโครงสรางหลักสูตรการจัดการศึกษาสอดคลองกับ สภาพผูเรียนและทองถิ่น (x =3.88, S.D. = 0.99) รองลงมา คือ ขอที่ 3 โรงเรียนกําหนดผูรับผิดชอบใน การพัฒนาหลักสูตรการจัดการศึกษา (x =3.82, S.D. = 1.07) และขอที่ 1 โรงเรียนดําเนินการศึกษา วิเคราะหสภาพ ปญหา และความตองการในการพัฒนาหลักสูตรการจัดการศึกษา (x =3.71, S.D. = 1.31) สวนขอที่มีคาเฉลี่ยต่ําสุด คือ ขอที่ 14 โรงเรียนสามารถดําเนินการวิจัยตามแผนงานที่กําหนด (x =3.29, S.D. = 0.99) 4. การประเมินโครงการการปลูกพืชเศรษฐกิจ (ยางพารา) โรงเรียนบานนาตราว ตําบลดงรัก อําเภอภูสิงห จังหวัดศรีสะเกษ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 3 ดานผลผลิต สําหรับผูบริหาร ครูและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สําหรับนักเรียน และสําหรับผูปกครอง นักเรียน ปรากฏดังนี้ 4.1 การประเมินโครงการการปลูกพืชเศรษฐกิจ (ยางพารา) โรงเรียนบานนาตราว ตําบล ดงรัก อําเภอภูสิงห จังหวัดศรีสะเกษ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 3 ดาน ผลผลิต สําหรับผูบริหารโรงเรียน ครู และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาพรวม อยูในระดับ มาก (x =3.49, S.D. = 1.19) เมื่อพิจารณาโดยเรียงจากคาเฉลี่ยระดับ ความเหมาะสมสูงสุด 3 อันดับ พบวา อันดับแรก คือ ขอที่ 1 โรงเรียนมีหลักสูตรที่มีความเหมาะสม และสอดคลองกับศักยภาพของ นักเรียนและบริบทของโรงเรียน (x =3.76, S.D. = 1.03) รองลงมา คือ ขอที่ 9 นักเรียนมีความพึง พอใจตอการจัดการศึกษา (x =3.71, S.D. = 1.10) และขอที่ 8 นักเรียนมีความรู ทักษะ และเจตคติที่ดี ในการประกอบอาชีพ (x =3.59, S.D. = 1.12) สวนขอที่มีคาเฉลี่ยต่ําสุด คือ ขอที่ 7 โรงเรียนนํา ผลการวิจัยไปพัฒนา ปรับปรุงการดําเนินงาน (x =3.24, S.D. = 1.35) 4.2 การประเมินโครงการการปลูกพืชเศรษฐกิจ (ยางพารา) โรงเรียนบานนาตราว ตําบล ดงรัก อําเภอภูสิงห จังหวัดศรีสะเกษ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 3 ดาน ผลผลิต สําหรับนักเรียน ภาพรวมอยูในระดับ มาก (x = 3.57, S.D. = 1.10) เมื่อพิจารณาโดยเรียงจาก คาเฉลี่ยระดับ ความเหมาะสมสูงสุด 3 อันดับ พบวา อันดับแรก คือ ขอที่ 6 นักเรียนมีความรู ทักษะ และประสบการณในงานอาชีพ (x = 3.74, S.D. = 1.09) รองลงมาคือ ขอที่ 20 นักเรียนมีความ ตองการพัฒนาอาชีพในทองถิ่นใหกาวทันยุคสมัย (x = 3.73, S.D. = 1.33) และขอที่ 13 นักเรียนมี ความเขาใจในการจัดกิจกรรมการเรียนรูของโรงเรียน (x = 3.72, S.D. = 1.08) ตามลําดับ สวนขอที่มี คาเฉลี่ยต่ําสุด คือ ขอที่ 12 นักเรียนมีรายไดระหวางเรียนจากการจัดกิจกรรมตามโครงการ (x = 3.15, S.D. = 1.20)
  • 4. 4.3 การประเมินโครงการการปลูกพืชเศรษฐกิจ (ยางพารา) โรงเรียนบานนาตราว ตําบล ดงรัก อําเภอภูสิงห จังหวัดศรีสะเกษ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 3 ดาน ผลผลิต สําหรับผูปกครองนักเรียน ภาพรวมอยูในระดับ มากที่สุด (x = 4.49, S.D. = 0.65) เมื่อ พิจารณาโดยเรียงจากคาเฉลี่ยระดับ ความเหมาะสมสูงสุด 3 อันดับ พบวา อันดับแรก คือ ขอที่ 15 การ จัดกิจกรรมตามโครงการปลูกพืชเศรษฐกิจ (ยางพารา) สงผลใหนักเรียนมีความขยัน อดทน ซื่อสัตย ใฝรู ใฝเรียน อยูในระดับ มากที่สุด (x = 4.77, S.D. = 0.50) รองลงมาคือ ขอที่ 17 การจัดกิจกรรมตาม โครงการปลูกพืชเศรษฐกิจ (ยางพารา) สงเสริมใหนักเรียนมีความสามารถตรงกับความตองการของ ผูปกครอง ชุมชน และสถานประกอบการ อยูในระดับ มากที่สุด (x = 4.70, S.D. = 0.60) และขอที่ 2 การจัดกิจกรรมตามโครงการปลูกพืชเศรษฐกิจ (ยางพารา) ชวยใหนักเรียนไดรับโอกาสมีงานทํา อยูใน ระดับ มากที่สุด (x = 4.67, S.D. = 0.61) ตามลําดับ สวนรายขอที่มีคาเฉลี่ยต่ําสุด คือ ขอที่ 9 การจัด กิจกรรมตามโครงการปลูกพืชเศรษฐกิจ (ยางพารา) สงผลตอการเรียนรูวิชาอื่น อยูในระดับ มาก (x = 4.27, S.D. = 0.64) การประเมินโครงการการปลูกพืชเศรษฐกิจ (ยางพารา) โรงเรียนบานนาตราว ในภาพรวม ทั้ง 4 ดาน โดยรวมอยูในระดับมาก (x = 3.79, S.D. = 1.04) เมื่อพิจารณาโดยเรียงจากคาเฉลี่ยระดับ ความเหมาะสมสูงสุด 3 อันดับ พบวา อันดับแรก คือ สภาวะแวดลอม (x = 4.15, S.D. = 0.93) รองลงมาคือ ดานผลผลิต (x = 3.85, S.D. = 0.98) และดานปจจัยนําเขา (x = 3.63, S.D. = 1.13) ตามลําดับ สวนรายขอที่มีคาเฉลี่ยต่ําสุด คือ ดานกระบวนการ (x = 3.54, S.D. = 0.12) 5. ปญหา อุปสรรค และแนวทางพัฒนาการดําเนินงานของโครงการการปลูกพืชเศรษฐกิจ (ยางพารา) โรงเรียนบานนาตราว ตําบลดงรัก อําเภอภูสิงห จังหวัดศรีสะเกษ สํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 3 ปรากฏดังนี้ 1) ปญหา อุปสรรค คือ ขาดนโยบายที่ชัดเจน บุคลากรยังขาดความสนใจและตระหนัก ขาดความรูความชํานาญ นักเรียนขาดคานิยมในการประกอบ อาชีพ ขาดวิธีการที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ ขาดความตอเนื่อง การจัดสรรรายไดยังไมชัดเจนทําใหขาด แรงจูงใจในการทํางาน 2) แนวทางการปรับปรุงหรือพัฒนา การสํารวจความตองการของนักเรียน วิเคราะห ความรู ความสามารถ ถนัดดาน มีการพัฒนาครูใหเปนครูมืออาชีพ สามารถประกอบอาชีพ จริงได ปลูกจิตสํานึกทั้งวิชาการและวิชาชีพ กําหนดบทบาทหนาที่ คณะกรรมการดําเนินงาน มี ผูรับผิดชอบและขับเคลื่อนกิจกรรมที่เปนรูปธรรม สรางเครือขายประสานความรวมมือชุมชน 4) ขอเสนอแนะอื่น ๆ ควรมีเพิ่มเติมดานความรูความเขาใจเกี่ยวกับแนวทางการประกอบอาชีพใหเปน ปจจุบันเทาทันสังคมที่เปลี่ยนแปลง มีการสนับสนุนทรัพยากรจัดใหมีการแขงขัน ยกยอง เชิดชูเกียรติ สรางความภาคภูมิใจ คานิยม เจตคติที่ดีดานอาชีพเพื่อสรางแรงจูงใจ และความกระตือรือรนใหกับ ผูเรียน สงเสริมใหงานอาชีพใหเปนงานประจํา ปฏิบัติใหถึงแกนใหมีความรูประสบการณ ฝกฝนจนเกิด ความยั่งยืน อยูในวิถีชีวิตประจําวัน