SlideShare a Scribd company logo
1 of 160
11.  ภูมิอากาศกับมนุษยชาติ     ที่อยู่อาศัยในแต่ละถิ่นภูมิอากาศ/ อิทธิพลของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่ออารยธรรมมนุษย์/ ภูมิอากาศในมหานครทันสมัย 10. พลังงานคืออะไร?พลังงานรูปแบบต่างๆ/ การเปลี่ยนรูปและสมดุลพลังงาน/ เชื้อเพลิงฟอสซิลและวิกฤตการณ์พลังงานของโลก/ “My Energy Footprint” 12. การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรูรั่วของชั้นโอโซน/ภาวะเรือนกระจก/ วัฏจักรคาร์บอนและการเปลี่ยนแปลงจากฝีมือมนุษย์ 9.  ความร้อน และพลังงานความร้อน  กฎของก๊าซ/ อุณหภูมิกับพลังงานความร้อน/ การแพร่ความร้อน/ พลังงานความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสาร/ การใช้ประโยชน์จากความร้อน 3. มนุษย์กับเทคโนโลยี“My Sci Project” 4. The Atmosphereสภาพแวดล้อมที่เคลื่อนไหว/ ความกดอากาศ/ ชั้นบรรยากาศ 2. กำเนิดวิทยาการ    และเทคโนโลยี 13. Sci Camp: “Is Global Warming?”              Weather Forecasting /Evidences of Human Impact on Global Warming 8. การพยากรณ์อากาศ                                 ลมมรสุม/ การเกิดพายุฝนฟ้าคะนอง - พายุโซนร้อน -ไต้ฝุ่น/การอ่านแผนที่ลมฟ้าอากาศ 1. เทคโนโลยี คืออะไร? 5. เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อยอุณหภูมิ/ การเกิดลม/ความชื้น/ วัฏจักรน้ำ/ การเกิดเมฆ/ มวลอากาศ/ ระบบความกดอากาศ/ แนวปะทะมวลอากาศ/ การเกิดหมอกและฝน 7. อิทธิพลดวงอาทิตย์กับระบบภูมิอากาศการเอียงของแกนโลก/ เขตภูมิอากาศของโลก/ น้ำแข็งขั้วโลก/ ฤดูกาล/ แรงโคริโอลิสกับกระแสลมของโลก/ การเกิดคลื่น น้ำขึ้น-น้ำลง/กระแสน้ำอุ่น-กระแสน้ำเย็น 6. สถานีตรวจอากาศเทอโมมิเตอร์/ บาโรมิเตอร์/ การวัดทิศทางและความเร็วลม/ รู้จักเมฆชนิดต่างๆ/ การวัดปริมาณน้ำฝน/ ค่าความสกปรกของหยาดฝน/ “Weather Diary” วัฏจักรลมฟ้าอากาศ Weather Academy ระดับมัธยม ๓  เทอม ๑/๒๕๕๒
“Some are weatherwise, some are otherwise …”  Benjamin Franklin วัฏจักรลมฟ้าอากาศ
Our Fluid Environment รู้จัก สภาพแวดล้อมที่เลื่อนไหล รายล้อมอยู่รอบๆ ตัวเรา ,[object Object]
หากปราศจากบรรยากาศ สิ่งมีชีวิตทั้งหลายจะไม่สามารถอยู่รอดได้ เพราะเราจะถูกเผามอดไหม้ด้วยความร้อนแรงจากดวงอาทิตย์ในยามกลางวัน หรือถูกแช่แข็งจากความหนาวเย็นสุดขั้วในยามค่ำคืน,[object Object]
แต่เพียงแค่ระยะความสูงราว ๑๐ กิโลเมตรล่างสุด ที่เรียกว่า TROPOSPHERE(โทร-โพส-เฟียร์) เท่านั้น ที่ชีวิตทั้งหลายสามารถหายใจและดำรงอยู่ได้ ซึ่งเป็นส่วนที่มีการเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา และเป็นที่กำเนิดของปรากฏการณ์ทั้งหมดที่เรียกว่า “ลมฟ้าอากาศ” หรือ WEATHER,[object Object]
Weather Academy ในช่วงทศวรรษ 1770 การทดลองของ Joseph Priestley (ซ้าย) ทำให้เชื่อว่าในอากาศมี “สารพลังชีวิต” (phlogiston – โฟล-จิส-ตัน) ที่สิ่งมีชีวิตต้องการ แต่ในทศวรรษต่อมา Antoine Lavoisier นักเคมีชาวฝรั่งเศสพบว่าที่จริงแล้วมันคือก๊าซออกซิเจน
Oxygen (21%)  ช่วยในกระบวนการเผาผลาญสารอาหารเพื่อปลดปล่อยพลังงานให้แก่เซลล์ของสิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่ในโลก องค์ประกอบสำคัญในกระบวนการสันดาป(combustion)                      เชื้อเพลิงต่างๆ ทำปฏิกิริยากับโลหะต่างๆ เกิด “สนิมโลหะ” (rust – iron oxide) โดยทั่วไป โมเลกุลประกอบด้วย 2 อะตอม ยกเว้น “โอโซน” (Ozone) มี 3 อะตอม Nitrogen (78%) ส่วนประกอบสำคัญของกรดอะมิโน ที่ประกอบกันขึ้นเป็นโปรตีน ที่พบอยู่ในสิ่งมีชีวิต Argon, Carbon Dioxide, and other trace gases *ทั้งหมดนี้เป็นองค์ประกอบของ “อากาศแห้ง” (dry air)
แต่ความเป็นจริงนั้น   ในอากาศยังมี     “ไอน้ำ” (watervapor) เป็นอีกหนึ่งองค์ประกอบสำคัญที่มีบทบาทอย่างสูงต่อสภาพลมฟ้าอากาศทั่วโลก ความสำคัญของบรรยากาศ คือการสร้างเงื่อนไขที่ทำให้โลกเป็นพื้นที่ที่เหมาะสมแก่การดำรงชีวิต ,[object Object]
 เก็บกักความร้อนจากดวงอาทิตย์ไว้อย่างพอดีแก่การรักษาน้ำให้อยู่ในสถานะ  ของเหลว ,[object Object],[object Object]
Troposphere ชั้ น แ ห่ ง ก า ร แ ป ร เ ป ลี่ ย น ข อ ง ล ม ฟ้ า อ า ก า ศ ,[object Object]
  ในเขตศูนย์สูตร จะมีความหนาราว 16กม.ขณะที่เขตอบอุ่นจะมีความหนาราว 10    กม. และต่ำกว่า 9กม. บริเวณขั้วโลก ,[object Object],   อากาศที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันเกิดขึ้น    ได้แก่ เมฆ หมอก ฝน หิมะ และพายุต่างๆ    เป็นต้น ,[object Object],   ลงตามระดับความสูงที่เพิ่มขึ้น  ประมาณ     6.5 องศาเซลเซียส ต่อความสูง 1 กิโลเมตร
Stratosphere ชั้ น แ ห่ ง โ อ โ ซ น ผู้ ป ก ป้ อ ง ,[object Object]
อากาศเบาบาง มีความชื้นและฝุ่นละอองเพียงเล็กน้อย
ที่ระดับความสูงประมาณ 25 – 30 กม. มีความเข้มข้นของก๊าซโอโซน (O3) มาก จึงอาจเรียกบรรยากาศชั้นนี้ได้ว่า “โอโซโนสเฟียร์” (Ozonosphere)
ด้านล่างของชั้นนี้จะหนาวเย็น แต่อุณหภูมิจะค่อยๆ เพิ่มขึ้นตามความสูง เนื่องจากโอโซนดูดซับพลังงานและรังสี UV จากแสงอาทิตย์ จึงทำให้อากาศอุ่นขึ้น
บรรยากาศชั้นนี้มีความสงบราบเรียบ จึงใช้ประโยชน์ในการคมนาคมทางอากาศ,[object Object]
เมื่อเข้าสู่ชั้นนี้ อุณหภูมิจะเริ่มลดลงอีกครั้ง และลดลงต่ำสุดที่ราว -90 oC เมื่อถึงขอบบนของชั้นนี้
แหล่งกำเนิดปรากฏการณ์ดาวตก คือ อุกกาบาตที่ตกลงสู่โลก ซึ่งส่วนใหญ่จะถูกเผาไหม้หมดไปในบรรยากาศชั้นนี้
แหล่งกำเนิดปรากฏการณ์เมฆเรืองแสง (Noctilucent Cloud) ซึ่งเกิดจากการสะท้อนแสงของเกล็ดน้ำแข็งในเมฆระดับสูง,[object Object]
Thermosphere ชั้ น แ ห่ ง อ นุ ภ า ค พ ลั ง ง า น สู ง ,[object Object]
เริ่มตั้งแต่ระดับความสูงราว 80 กม. ขึ้นไปจนออกสู่อวกาศภายนอก
โมเลกุลอากาศในชั้นนี้มีความร้อนสูงมาก อุณหภูมิเฉลี่ยสูงถึง 1,800 oCเนื่องจากต้องปะทะกับแสงอาทิตย์โดยตรง
แต่เพราะว่าอากาศเบาบางมาก โมเลกุลอากาศจึงมีจำนวนไม่มากพอที่จะ “ชน” เทอร์โมมิเตอร์ให้อ่านค่าได้สูงกว่า 0 oC,[object Object]
โมเลกุลก๊าซพลังงานสูงมีสภาพเป็นประจุไฟฟ้า หรือ “อิออน” ช่วยทำหน้าที่สะท้อนคลื่นวิทยุกลับมายังพื้นผิวโลก
แหล่งกำเนิดปรากฏการณ์แสงเหนือ-แสงใต้ (aurora) ที่เกิดจากอนุภาคจากดวงอาทิตย์วิ่งเข้าชนกับอิออนในชั้นนี้ เกิดการเรืองแสงขึ้นEXOSPHERE (เอกโซสเฟียร์ )  ,[object Object]
เป็นระดับชั้นที่ดาวเทียมพยากรณ์อากาศโคจรอยู่รอบโลก,[object Object]
มี น้ำ อยู่บนท้องฟ้า ...                						จริงๆนะ!!
Mission 4 :  Cloud Detective นั  ก  สื  บ  ( เ  ห  นื  อ )  เ  ม  ฆ สร้างคอลเลคชั่นภาพถ่ายเมฆด้วยฝีมือของคุณเอง ใช้กล้องดิจิตัล หรือกล้องติดโทรศัพท์ของคุณ บันทึกภาพเมฆแบบต่างๆ ที่ได้พบ สังเกต และพิจารณารูปร่างลักษณะ ความสูงของเมฆ และสภาพอากาศขณะที่พบ (เช่น ความร้อน ความชื้น) รวมถึงการเปลี่ยนแปลงก่อน หรือหลังจากที่พบเมฆนั้น  ศึกษาเปรียบเทียบกับข้อมูลใน “คู่มือระบบการจำแนกชนิดเมฆ” เพื่อลองทายชนิดของเมฆที่พบ บันทึกภาพถ่าย พร้อมข้อมูล วัน - เวลา และสภาพลมฟ้าอากาศ ลงใน facebookของคุณ ตลอดเทอมนี้ ลองค้นหาเมฆแบบต่างๆ ให้ได้อย่างน้อย ๕ แบบ
Mission 4 # Cloud Detective
Mission 4 # Cloud Detective
ทฤษฎี กำเนิดเมฆ เมฆ คือกลุ่มของหยดน้ำเล็กๆ และผลึกน้ำแข็ง ที่อยู่รวมกันในอากาศ ที่ระดับสูงจากพื้นดินขึ้นไปมาก
เมฆ Clouds เกิดจากมวลของอากาศบริเวณใกล้พื้นดินมีอุณหภูมิสูง  จึงลอยตัวสูงขึ้น
ในขณะที่ลอยตัวสูงขึ้นในระดับหนึ่งอุณหภูมิของมวลอากาศจะลดลง
ไอน้ำที่มวลอากาศพามาด้วยก็จะมีอุณหภูมิลดลง  และไอน้ำจะกลั่นตัวเป็นหยดน้ำและก่อตัวเป็นเมฆ
โดยสามารถจัดจำแนกเมฆตาม รูปร่างลักษณะ ออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ คือ 1. เมฆคิวมูลัส หรือ เมฆก้อน 2. เมฆสเตรตัส หรือ เมฆแผ่น 3. เมฆเซอรัส หรือ เมฆริ้ว
เมฆคิวมูลัส (Cumulus) หรือเมฆก้อน มักพบเห็นในยามท้องฟ้าแจ่มใส อากาศดี มองดูเหมือนปุยสำลีลอยอยู่บนฟ้า  มีรูปร่างเปลี่ยนไปเรื่อยๆ
เมฆสเตรตัส (Stratus) หรือเมฆแผ่  คำว่า “สเตรตัส” ในภาษาละตินแปลว่าเป็นชั้นๆ แต่มักไม่ค่อยเห็นเมฆ สเตรตัสเกิดเป็นชั้นๆตามชื่อ  กลับจะพบเป็นเมฆสีเทาแผ่เป็นแผ่นกว้างใหญ่ บางทีอาจแผ่ไปไกลหลายร้อยกิโลเมตร
เมฆเซอรัส (Cirrus) หรือ เมฆริ้ว เป็นริ้วๆ เหมือนขนนก เกิดที่ระดับสูงมาก อุณหภูมิอากาศหนาวจัดจนหยดน้ำกลายเป็นผลึกน้ำแข็งขนาดจิ๋ว บางครั้งอาจเรียกว่า “เมฆหางม้า”  เพราะกระแสลมแรงจัดเบื้องบนพัดจนกลุ่มเมฆกระจายออกเป็นริ้วโค้งๆ  เหมือนกับหางม้า
[object Object]
ขึ้นกับการกำเนิดในระดับความสูงที่แตกต่างกันภายในชั้นโทรโพสเฟียร์
เป็นระบบที่นักอุตุนิยมวิทยาใช้อยู่ในปัจจุบัน,[object Object]
เมฆระดับต่ำ (Low Clouds)มีความสูงประมาณ 500 – 2,000 เมตร ประกอบด้วยอนุภาคน้ำเกือบทั้งหมด ได้แก่ 2. เมฆสเตรโตคิวมูลัส   ลักษณะเป็นลอนแผ่ออกเป็นแผ่น กระจายเป็นหย่อมๆ มีสีอ่อนจนถึงเทาเข้ม หากปรากฏขึ้นยามเช้ามักเกิดฝนตกในวันนั้น
เมฆระดับต่ำ (Low Clouds)มีความสูงประมาณ 500 – 2,000 เมตร ประกอบด้วยอนุภาคน้ำเกือบทั้งหมด ได้แก่ 3. เมฆนิมโบสเตรตัส   ลักษณะเป็นแผ่น หรือเป็นหย่อมๆ มีสีเทาเข้มค่อนข้างดำ หากมีเมฆนี้เกิดขึ้น มักมีฝนพรำๆตกแผ่เป็นบริเวณกว้าง    ต่อเนื่องเป็นเวลานาน 3
เมฆระดับปานกลาง (Middle Clouds)ความสูงประมาณ 2,000 – 6,000 เมตร  ประกอบด้วยผลึกน้ำแข็งและอนุภาคน้ำ  ชื่อขึ้นต้นด้วยคำว่า “อัลโต” (Alto) ได้แก่ 4. เมฆอัลโตสเตรตัส   เมฆแผ่นบาง โปร่งแสง สีเทาหรือน้ำเงินอ่อน แผ่กระจายคลุมท้องฟ้าเป็นบริเวณกว้าง ทำให้เห็นพระอาทิตย์เหมือนมองผ่านกระจกฝ้า 3
เมฆระดับปานกลาง (Middle Clouds)ความสูงประมาณ 2,000 – 6,000 เมตร  ประกอบด้วยผลึกน้ำแข็งและอนุภาคน้ำ  ชื่อขึ้นต้นด้วยคำว่า “อัลโต” (Alto) ได้แก่ 5. เมฆอัลโตคิวมูลัส มีสีขาวหรือสีเทา ลักษณะเป็นคลื่นหรือเป็นลอน หากปรากฏในยามเช้าของวันที่ร้อนชื้น มักเกิดพายุฝนฟ้าคะนองขึ้นในวันนั้น 3
เมฆระดับสูง (High Clouds)ความสูงประมาณ 6,000 – 10,000 เมตร  ประกอบด้วยผลึกน้ำแข็งเกือบทั้งหมดเพราะอุณหภูมิที่ระดับนี้ต่ำกว่าจุดเยือกแข็ง   มีชื่อขึ้นต้นด้วยคำว่า “เซอโร”  (Cirro) ได้แก่ 6. เซอโรสเตรตัส  เป็นเมฆแผ่นสีขาว ที่ทำให้เกิดปรากฏการณ์พระอาทิตย์ หรือพระจันทร์ “ทรงกลด” (haloes)
เมฆระดับสูง (High Clouds)ความสูงประมาณ 6,000 – 10,000 เมตร  ประกอบด้วยผลึกน้ำแข็งเกือบทั้งหมดเพราะอุณหภูมิที่ระดับนี้ต่ำกว่าจุดเยือกแข็ง   มีชื่อขึ้นต้นด้วยคำว่า “เซอโร”  (Cirro) ได้แก่ 7. เซอโรคิวมูลัส  เป็นเมฆสีขาว มีลักษณะคล้ายระลอก หรือฟองคลื่นเล็กๆหรือเกล็ดปลา
เมฆระดับสูง (High Clouds)ความสูงประมาณ 6,000 – 10,000 เมตร  ประกอบด้วยผลึกน้ำแข็งเกือบทั้งหมดเพราะอุณหภูมิที่ระดับนี้ต่ำกว่าจุดเยือกแข็ง   มีชื่อขึ้นต้นด้วยคำว่า “เซอโร”  (Cirro) ได้แก่ 8. เซอรัส เมฆสีขาว โปร่งแสง ลักษณะเป็นเส้นๆ ยาวต่อเนื่องกันคล้ายขนนก หรือหางม้า
เมฆก่อตัวในแนวตั้ง (Vertical Development Clouds)ฐานเมฆอยู่ที่ระดับประมาณ 1 กิโลเมตร แต่ยอดเมฆอาจมีความสูงได้มากถึงสุดขอบชั้นโทรโพสเฟียร์ ที่ราว 10 – 12 กิโลเมตร 9. คิวมูลัส เมฆก้อน เกิดจากการยกตัวของมวลอากาศอุ่นขึ้นจากพื้นโลก ไอน้ำในอากาศเย็นลงและควบแน่นเป็นหยดเล็กๆ โดยทั่วไปมีอายุสั้น ราว 5 – 40 นาที แต่ก็อาจพัฒนาไปเป็นเมฆฝนได้
เมฆก่อตัวในแนวตั้ง (Vertical Development Clouds)ฐานเมฆอยู่ที่ระดับประมาณ 1 กิโลเมตร แต่ยอดเมฆอาจมีความสูงได้มากถึงสุดขอบชั้นโทรโพสเฟียร์ ที่ราว 10 – 12 กิโลเมตร 10. คิวมูโลนิมบัส (cumulonimbus)“นิมบัส” ในภาษาละตินหมายถึง “ฝน” พัฒนามาจากเมฆคิวมูลัส เป็นเมฆพายุฝนฟ้าคะนอง สีเทาเข้มถึงดำ บางครั้งในเขตศูนย์สูตร สามารถก่อตัวขึ้นสูงถึง 15 กม. (เมฆหอคอย) และกระหน่ำฝน 0.9 เมตร ได้ภายในบ่ายเดียว
Mission # 4 มายากล อากาศยกน้ำ รินน้ำใส่แก้วจนปริ่ม วางกระดาษแข็งปิดปากไว้ ถือแก้วไว้เหนืออ่าง ค่อยๆ คว่ำแก้วลง น้ำจะยังอยู่ในแก้ว บันทึกการทดลอง และร่วมกันวิเคราะห์ว่า ทำไม น้ำจึงไม่ไหลออกมา? ,[object Object]
แรงดันของอากาศในทิศที่ขึ้นสู่ด้านบน มีมากกว่าน้ำหนักของน้ำในแก้ว จึงทำให้น้ำยังคงอยู่ในแก้วได้
ค่อยๆ กดมุมกระดาษเพื่อเปิดปากแก้วให้อากาศเข้า ขณะนี้อากาศจะมีแรงกดลงเช่นเดียวกับแรงดันขึ้น กระดาษจึงหล่นลงและน้ำไหลออกจากแก้วแล้วเมื่อใด ที่มายากลนี้  ไม่ได้ผล? ,[object Object],[object Object],[object Object]
  แรงดันอากาศบนพื้นที่ขนาดต่างๆกัน จะมีค่าไม่เท่ากัน
  ถ้าพื้นที่มาก  แรงดันอากาศที่กระทำต่อพื้นที่จะมีมาก
ความดันอากาศ หรือ ความกดอากาศ หมายถึง แรง    ที่เกิดจากน้ำหนักของแท่งมวลอากาศ (air column)     ที่กดทับลงบน พื้นที่ นั้น ,[object Object],    ของบรรยากาศ
Measuring Air Pressure “Torricelli’s emptiness” สูญญากาศทอริเซลลี่ ก า ร วั ด ค ว า ม ดั น อ า ก า ศ ลำน้ำ ความสูง 10ม. ค.ศ.1644 EVANGELISTA TORRICELLI  (ลูกศิษย์ของกาลิเลโอ) ประดิษฐ์ “บารอมิเตอร์”       เครื่องแรก และพิสูจน์ว่า อากาศมีความดัน เขาตระหนักว่าเป็นเพราะน้ำหนัก หรือ  	“ความดัน” ของอากาศที่กระทำต่อน้ำในอ่าง  	ที่ทำให้น้ำในหลอดแก้วไม่ไหลลงมา เนื่องจากลำน้ำมีความสูงเกินไป ไม่สะดวก       ต่อการใช้งาน ต่อมา เขาจึงเปลี่ยนเป็นใช้ปรอท หลอดแก้วปลายปิดด้านบน อ่างน้ำ
Barometer เ ค รื่ อ ง มื อ วั ด ค ว า ม ก ด อ า ก า ศ เติมปรอทลงในหลอดแก้วยาว 1 เมตร จนเต็ม  คว่ำปลายด้านเปิดลงในอ่างปรอท ระดับปรอทในหลอดแก้วลดต่ำลงอยู่ที่ราว 76 ซม.   	โดยมีด้านบนสุดของปลายปิดเป็นสุญญากาศ Vacuum สุญญากาศ ระดับปรอท ความดันอากาศกดลงบนผิวปรอทในอ่าง ทำให้ลำปรอทยกค้างอยู่ในหลอด เมื่อความดันอากาศสูงขึ้น ทำให้ลำปรอทถูกยกสูงขึ้น
Mercury Barometer ปรอทมีความหนาแน่นมากกว่าน้ำ 13.6 เท่า  ระดับปรอทในบารอมิเตอร์จึงต่ำกว่าระดับน้ำในบารอมิเตอร์ 13.6 เท่า ความกดอากาศที่ระดับน้ำทะเล สามารถดันปรอท         ในหลอดแก้วให้สูงได้ถึง 760 มิลลิเมตร (mm.)  เรียกว่า “ความดัน 1 บรรยากาศ”  (atm) บารอมิเตอร์แบบปรอท เป็นแบบที่วัดความดันอากาศได้แม่นยำที่สุด ,[object Object],     “ความกดอากาศ”  ,[object Object],(millibar)นิ้วปรอท (inchHg)มิลลิเมตรปรอท (mmHg) ฯลฯ ,[object Object]
1,013.25 มิลลิบาร์  เท่ากับ 1 บรรยากาศ,[object Object]
ทำงานโดยใช้หลักความแตกต่างของความดัน   อากาศของ 2  บริเวณ ,[object Object],   บางส่วน เชื่อมต่อกับกลไกที่แสดงค่าความดัน อากาศได้โดยตรง หน่วยมิลลิบาร์ หน่วยปอนด์ต่อตร.นิ้ว ,[object Object],จะดันให้ตลับโลหะยุบตัวลง แต่ถ้าความดัน ภายนอกลดลง ตลับโลหะจะพองตัวขึ้น ,[object Object],ต่อกับกลไกแสดงค่าความดันอากาศ ,[object Object],      ว่าฝนจะตก ในขณะที่ค่าความดันที่เพิ่มขึ้น      คือสัญญาณของอากาศปลอดโปร่ง
Mission 4 :  Measuring Air Pressure ภ า ร กิ จ วั ด ค ว า ม ก ด อ า ก า ศ ทดลองสร้างเครื่องมือวัดความกดอากาศด้วยตนเอง ทำ nature sketch เครื่องมือที่สร้างขึ้น สังเกตและบันทึกการเปลี่ยนแปลงของความกดอากาศและสภาพลมฟ้าอากาศตลอดทั้งวัน เป็นเวลา ๑ สัปดาห์ 22 มิ.ย. 15.30 น.    ลดลง 2 ขีด       ครึ้มฟ้าครึ้มฝน
Altitude and Density & Pressure of The Air ความหนาแน่นและความดันของอากาศ ที่ระดับความสูงต่างๆ ,[object Object]
เมื่อความสูงเพิ่มขึ้น ความหนาแน่นของอากาศจะลดลง หมายถึงโมเลกุลของก๊าซในบรรยากาศจะอยู่ห่างไกลกันมากกว่า เมื่อเทียบกับ ณ ระดับน้ำทะเล
เมื่อความหนาแน่นของอากาศลดลง ความกดอากาศก็จะลดลงด้วย,[object Object],[object Object]
มายากล “เสกขวดให้แบน เทน้ำเดือดประมาณครึ่งถ้วยกาแฟใส่ขวดพลาสติกเปล่า ปิดฝาจุกให้แน่น จับบริเวณคอขวดด้านบน แกว่งขวดไปมาเบาๆ ให้น้ำร้อนกระจายไปทั่วภายในขวด ราว ๑ นาที สังเกตว่ารูปทรงของขวดมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร ค่อยๆ หมุนเพื่อเปิดฝา สังเกตสิ่งที่เกิดขึ้นขณะที่ฝาถูกเปิด คว่ำขวดเพื่อเทน้ำร้อนออกจนหมด แล้วรีบปิดฝาอย่างรวดเร็ว วางขวดลงบนโต๊ะ ร่ายเวทมนตร์ สังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับขวด!
มายากลมือที่มองไม่เห็น ตัดแผ่นอลูมิเนียมเป็นวงกลม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางราว ๑๐ เซนติเมตร เจาะรูเล็กๆ ตรงกลางด้วยปลายวงเวียน  ตัดแผ่นวงกลมให้เป็รูปเกลียวคล้ายขดยากันยุง ร้อยเส้นด้ายยาว ๑ เมตรกับรูที่เจาะไว้ จับปลายอีกด้านหนึ่งของเส้นด้าย ห้อยแผ่นรูปเกลียวไว้เหนือแหล่งความร้อน (เช่น เปลวเทียน หรือ hot plate)ที่ระดับความสูงราว ๑๐ เซนติเมตร สังเกตปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นกับแผ่นรูปเกลียว คิดว่าเกิดขึ้นจากสาเหตุใด
เกิดอะไรขึ้น เมื่อ อากาศ ร้อน ,[object Object]
 แต่ถ้าคนกลุ่มนี้เริ่มเต้นรำ พวกเขาจะต้องการใช้ที่ว่างมากขึ้น และขนาดของกลุ่มจะเริ่มขยายออก
ในทำนองเดียวกัน เมื่ออากาศร้อนขึ้น โมเลกุลของอากาศมี พลังงาน สูงขึ้นเริ่มเคลื่อนที่มากขึ้น มันจึงต้องการพื้นที่ว่างมากขึ้น อากาศจึงขยายตัว
 สังเกตว่าจำนวนโมเลกุลไม่ได้เพิ่มขึ้น หรือขนาดของโมเลกุลไม่ได้ใหญ่ขึ้น แต่เพราะกลุ่มโมเลกุลต้องการครอบครองพื้นที่ว่างมากขึ้น,[object Object]
โมเลกุลเคลื่อนที่เร็วขึ้น ต้องการพื้นที่ว่างมากขึ้น เกิดการชนกระแทกกับโมเลกุลอื่นๆ ที่อยู่ใกล้กัน
ทำให้เกิดระยะห่างระหว่างโมเลกุลมากขึ้น ปริมาตรของอากาศจึงขยายตัว
โมเลกุลอากาศร้อนลอยขึ้นสู่ที่สูง ความหนาแน่นของอากาศบริเวณนั้นจึง ลดลง
ทำให้ความดันของอากาศบริเวณนั้น ลดลง
เกิดความแตกต่างของความดันอากาศระหว่างบริเวณนั้น กับพื้นที่ใกล้เคียง
มวลอากาศบริเวณที่มีความดันสูงกว่า ไหลเข้ามาสู่บริเวณที่มีความดันต่ำกว่า
เกิด “กระแสลม”,[object Object]
ลมWIND ,[object Object]
เกิดขึ้นเนื่องจากอุณหภูมิของอากาศมีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งทำให้ความกดอากาศเกิดการเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย
ซึ่งเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น อากาศขยายตัว ความกดอากาศจะลดลง และเมื่ออุณหภูมิลดลง อากาศหดตัว ความกดอากาศก็จะเพิ่มขึ้น
ลม จะพัดจากบริเวณที่มีความกดอากาศสูง (อุณหภูมิต่ำ) ไปสู่บริเวณที่มีความกดอากาศต่ำ (อุณหภูมิสูง),[object Object]
ตอนกลางคืน แผ่นดินคายความร้อนได้เร็วกว่าน้ำ จึงเย็นกว่า อากาศเย็นจากแผ่นดินไหลออกสู่ทะเล เข้าแทนที่อากาศอุ่นเหนือผิวน้ำที่ลอยขึ้น เกิด “ลมบก”,[object Object]
ใกล้เขตศูนย์สูตร รังสีจากดวงอาทิตย์ทำมุมตรงเข้าสู่พื้นผิวโลก ได้รับพลังงานมากกว่า
ใกล้ขั้วโลก รังสีจากดวงอาทิตย์ทำมุมเฉียงกับพื้นผิวโลก จึงได้รับพลังงานน้อยกว่า,[object Object]
อากาศที่จมลง จะ กด ลงบนพื้นผิวโลก ก่อให้เกิดบริเวณความกดอากาศสูง จากนั้น จะเคลื่อนไปทางเหนือและใต้ เข้าสู่บริเวณความกดอากาศต่ำ
ที่บริเวณละติจูด 60o  เหนือและใต้ อากาศเย็นเคลื่อนที่ออกจากขั้วโลก มาปะทะกับอากาศร้อนจากเขตศูนย์สูตร
อากาศร้อนมีความหนาแน่นน้อยกว่า ถูกบังคับให้ลอยสูงขึ้น ทำให้เกิดบริเวณความกดอากาศต่ำที่พื้นผิว
อากาศนี้จะเย็นและจมลงที่ขั้วโลกเกิดเป็นบริเวณความกดอากาศสูงบริเวณความกดอากาศ    ที่สำคัญของโลก
หากว่า“โลกไม่หมุน ,[object Object]
วงจรการไหลเวียนของอากาศ จะมีเพียง 2 วงจร จากขั้วโลกทั้งสองไปสู่แถบศูนย์สูตร
โดยอากาศร้อนจากแถบศูนย์สูตรจะลอยขึ้นสูง แล้วไหลไปสู่ขั้วโลกที่อากาศเย็นกว่า ขณะที่อากาศเย็นจากขั้วโลกจะไหลมาตามผิวโลกกลับสู่เขตศูนย์สูตร,[object Object]
จึงทำให้กระแสลมเคลื่อนที่เป็นเส้นโค้งโดยมีสาเหตุมาจากการหมุนรอบตัวเองของโลก
แรงที่ทำให้ลมมีทิศทางการเคลื่อนที่เปลี่ยนไปนี้เรียกว่า “แรงเฉ” หรือ “แรงโคริโอลิส”เส้นทางกระแสลมที่เป็นจริง เส้นทางกระแสลมหากโลกไม่หมุน เส้นทางกระแสลมที่เป็นจริง GustaveGaspard de Coriolis  (1792 – 1843)
Global Wind Beltsกระแสลมสำคัญบนโลก ลมขั้วโลก ,[object Object]
 วงจรการไหลเวียนของอากาศแตกออกเป็น 6 วง แต่ละวงมีรูปแบบการพัดที่แน่นอน
 ชาวเรือใช้ในการเดินเรือมาแต่ครั้งโบราณ
 ระหว่างละติจูดที่ 30 องศาเหนือ และ 30 องศาใต้ ลมที่พัดเข้าหาศูนย์สูตรจะพัดจากทิศตะวันออกไปทิศตะวันตก เรียกว่า “ลมสินค้า”
 ในเขตอบอุ่น ลมที่พัดสู่ขั้วโลกจะเบนจากทิศตะวันตกไปทางทิศตะวันออก เรียกว่า “ลมตะวันตก”
  และในเขตขั้วโลก ก็มี “ลมตะวันออกแถบขั้วโลก”ลมตะวันตก ลมค้าตะวันออกเฉียงเหนือ ลมค้าตะวันออกเฉียงเหนือ ลมตะวันตก
Seasonal Wind ลมประจำฤดู ,[object Object]
 แต่นอกจากนี้ ยังมีลมที่พัดอยู่อย่างเด่นชัดในช่วงฤดูใดฤดูหนึ่งในรอบปีเรียกว่า “ลมประจำฤดู”  ชนิดหนึ่งที่ปรากฏในแถบอุษาคเนย์ ได้แก่ “ลมมรสุม”,[object Object]
Monsoonลมมรสุม ,[object Object]
  ก่อนนี้ใช้เรียกลมที่เกิดขึ้นในทะเลอาหรับเท่านั้น
 เป็น ลมประจำฤดูกาล เกิดขึ้นจากความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิของแผ่นพื้นทวีปและทะเล ในช่วงฤดูร้อน และฤดูหนาว
 พัดจากพื้นทวีปไปสู่ทะเลเป็นระยะเวลา 6 เดือน และเปลี่ยนกลับไปทิศทางตรงข้ามคือ พัดจากทะเลไปสู่พื้นทวีปเป็นระยะเวลา 6 เดือน ,[object Object]
ประเทศไทยอยู่ภายใต้อิทธิพลของลมมรสุม 2  ชนิดคือ  ฤ ดู ห น า ว ฤ ดู ร้ อ น ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้        (Southwest monsoon) ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ       (Northeast monsoon)
Southwest Monsoonลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ,[object Object]
เกิดขึ้นในช่วงฤดูร้อนจึงเรียกว่า  “ลมมรสุมฤดูร้อน”    โดยจะเริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม
ลมมรสุมนี้จะพัดนำมวลอากาศชื้นจากมหาสมุทรอินเดียมาสู่ประเทศไทย  ทำให้มีเมฆมากและฝนตกชุกโดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณชายฝั่งทะเลฤ ดู ร้ อ น
Northeast Monsoonลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ,[object Object]
 เกิดขึ้นในช่วงฤดูหนาวจึงเรียกว่า    “ลมมรสุมฤดูหนาว”  โดยจะเริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ์
ลมมรสุมชนิดนี้จะพัดพานำมวลอากาศเย็นและแห้งแถบประเทศมองโกเลียและจีนนำมาสู่ประเทศไทย  ทำให้ภาคเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ มีอากาศหนาวเย็นและแห้งแล้ง  ภาคใต้มีฝนตกชุกฤ ดู ห น า ว
Measuring The Wind
Measuring The Wind
Measuring The Wind
มายากล สร้างเมฆในขวด เตรียมขวดพลาสติกใสหนึ่งใบ เติมน้ำใส่ขวดเพียงเล็กน้อย เขย่าขวดแรงๆ เพื่อให้ไอน้ำจับตัวกับอากาศในขวด เทน้ำออก รีบปิดฝาขวดให้แน่น ใช้มือสองข้างจับขวดให้แน่น บีบขวดอย่างแรง แล้วคลาย สังเกตภายในขวด คว่ำขวดลง เปิดฝา ใส่ควันธูปเข้าไปในขวด ปิดฝาให้แน่น ลองบีบขวดอย่างแรงอีกครั้งหนึ่ง คลายแรงบีบ แล้วสังเกตสิ่งที่เกิดขึ้นภายในขวด ลองอธิบายสิ่งที่เกิดขึ้นตามความเข้าใจ
ทฤษฎี การเกิดเมฆ เกิดจากการเย็นตัวลงของอากาศ ทำให้ไอน้ำ                                     (water vapor) ในอากาศ เกิดการ “กลั่นตัว” หรือ “ควบแน่น”                                       (condensation) เป็น “หยาดเมฆ” ที่มีขนาดใหญ่ขึ้น กำเนิดเมฆแตกต่างกันไปตามอุณหภูมิการกลั่นตัว หรือเรียกว่า “จุดน้ำค้าง” (dew point)                                         หยาดเมฆอาจอยู่ในรูปของเหลว หรือผลึกน้ำแข็ง หยาดเมฆที่มีขนาดเล็ก เบาพอที่กระแสอากาศสามารถพยุงให้ลอยอยู่ในอากาศได้จนกว่าจะควบแน่นจนมีขนาดใหญ่ น้ำหนักมาก จึงตกลงสู่พื้นโลกในรูป “หยาดน้ำฟ้า” ได้แก่ ฝน หิมะ และ ลูกเห็บ
ทฤษฎี การเกิดเมฆ ไอน้ำจะควบแน่นเป็นละอองน้ำได้ จำเป็นต้องมีแกนให้ไอน้ำเกาะ เรียกว่า “แกนการกลั่นตัว” (condensation nuclei – คอนเดนเซชั่น นิวคลีไอ) ซึ่งได้แก่ ฝุ่นละออง ผงเกลือ เขม่าจากโรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น หากอากาศสะอาด ปราศจากฝุ่นละออง (aerosol - แอโรซอล) การกลั่นตัวของไอน้ำจะเกิดขึ้นได้ยากมาก  การเคลื่อนที่ของกระแสอากาศมีผลต่อการกำเนิดของเมฆ ขณะลมสงบ มีการยกตัวเบาบาง มีแนวโน้มที่จะเกิดเมฆแผ่ (stratus) ในภาวะที่มีลมพัดแรง หรือกระแสอากาศยกตัวขึ้นในแนวดิ่งอย่างรุนแรง เมฆจะก่อตัวเป็น “เมฆก้อน” (cumulus) หรือ “เมฆหอคอย” (cumulonimbus)
เมฆที่เกิดจากการพาความร้อน ,[object Object]
ทำให้ความหนาแน่นลดลง จึงลอยสูงขึ้น
อุณหภูมิลดลง ไอน้ำเกิดการควบแน่นเป็นหยดน้ำเล็กๆ,[object Object]

More Related Content

What's hot

Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03Chay Kung
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสิปป์แสง สุขผล
 
พลังงานใต้พื้นภิภพ
พลังงานใต้พื้นภิภพพลังงานใต้พื้นภิภพ
พลังงานใต้พื้นภิภพuntika
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลกโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลกsoysuwanyuennan
 
Astronomy 02
Astronomy 02Astronomy 02
Astronomy 02Chay Kung
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกพัน พัน
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีsoysuwanyuennan
 
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกKankamol Kunrat
 
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงสื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงพัน พัน
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาคPa'rig Prig
 

What's hot (20)

Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
 
Earthscience
EarthscienceEarthscience
Earthscience
 
แบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาค
แบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาคแบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาค
แบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาค
 
พลังงานใต้พื้นภิภพ
พลังงานใต้พื้นภิภพพลังงานใต้พื้นภิภพ
พลังงานใต้พื้นภิภพ
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลกโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
 
Astronomy 02
Astronomy 02Astronomy 02
Astronomy 02
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลก
 
โลกของเรา
โลกของเราโลกของเรา
โลกของเรา
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
ธรณีวิทยา(1)
ธรณีวิทยา(1)ธรณีวิทยา(1)
ธรณีวิทยา(1)
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
 
Physical geology 1 3
Physical geology 1 3Physical geology 1 3
Physical geology 1 3
 
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
Change e2009 1
Change e2009 1Change e2009 1
Change e2009 1
 
Earth1
Earth1Earth1
Earth1
 
Earth1
Earth1Earth1
Earth1
 
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงสื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาค
 

Similar to Weather Academy

บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศkulruedee_chm
 
โลกร้อน
โลกร้อนโลกร้อน
โลกร้อนsudsanguan
 
บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)พัน พัน
 
โครงงานวิทย์ งานคอม
โครงงานวิทย์  งานคอม โครงงานวิทย์  งานคอม
โครงงานวิทย์ งานคอม Aungkana Na Na
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
การลดภาวะโลกร้อน
การลดภาวะโลกร้อนการลดภาวะโลกร้อน
การลดภาวะโลกร้อนjzuzu2536
 
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อนโครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อนsongpol
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศKhwankamon Changwiriya
 
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็นงานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็นfocuswirakarn
 
โครงสร้างบรรยากาศ
โครงสร้างบรรยากาศโครงสร้างบรรยากาศ
โครงสร้างบรรยากาศSunflower_aiaui
 
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)Aungkana Na Na
 
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวsangkom
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222sangkom
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222sangkom
 

Similar to Weather Academy (20)

Climate change2009
Climate change2009Climate change2009
Climate change2009
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
Atmosphere
AtmosphereAtmosphere
Atmosphere
 
โลกร้อน
โลกร้อนโลกร้อน
โลกร้อน
 
บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)
 
โครงงานวิทย์ งานคอม
โครงงานวิทย์  งานคอม โครงงานวิทย์  งานคอม
โครงงานวิทย์ งานคอม
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
การลดภาวะโลกร้อน
การลดภาวะโลกร้อนการลดภาวะโลกร้อน
การลดภาวะโลกร้อน
 
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อนโครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
ภาวะเรือนกระจก
ภาวะเรือนกระจกภาวะเรือนกระจก
ภาวะเรือนกระจก
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
 
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็นงานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
 
โครงสร้างบรรยากาศ
โครงสร้างบรรยากาศโครงสร้างบรรยากาศ
โครงสร้างบรรยากาศ
 
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
 
Global warmin-t
Global warmin-tGlobal warmin-t
Global warmin-t
 
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222
 

Weather Academy