SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
โศภนิศ อังศุสิงห์
นักวิจัย
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
ภาพมัสยิดอัศศอบีรีน มัสยิดแห่งแรกใน จ.บึงกาฬ
มุสลิมอีสานต้องการครอบครองประเทศไทยจริงหรือ?
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
2 พฤษภาคม 2562
มุสลิมอีสานต้องการครอบครอง
ประเทศไทยจริงหรือ?
ตามที่ Numjai Pimsuy1 ได้เขียนข้อความเผยแพร่ผ่านไลน์ว่าอิสลามต้องการครอบครองประเทศไทย
ทั้งประเทศและจะเปลี่ยนให้เป็นประเทศสาธารณรัฐอิสลาม โดยเริ่มจากการสร้างมัสยิดกลางที่จังหวัด
นครพนมเพื่อทาลายพุทธศาสนาหรือศาสนสถานที่สาคัญอย่างพระธาตุพนม แล้วพัฒนาจุดยุทธศาสตร์ใน
การขยายฐานอานาจของมุสลิมไปทั่วทั้งภาคอีสานนั้น
แนวคิดดังกล่าวสะท้อนกระแสคนท้องถิ่นที่นับถือศาสนาพุทธบางส่วนที่ออกมาต่อต้านการสร้างมัสยิด
ของคนที่นับถือศาสนาอิสลามในพื้นที่ภาคอีสาน ซึ่งกระแสนี้เริ่มขึ้นในพื้นที่ จ.บึงกาฬ และแพร่กระจายไปใน
พื้นที่ จ.มุกดาหาร จ .ขอนแก่น จ.สกลนคร และ จ.นครพนม ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 จนถึงปีพ.ศ. 2561 ซึ่ง
ยังคงปรากฏให้เห็นตามหน้าสื่อสังคมออนไลน์ในปัจจุบัน ทั้งนี้ มัสยิดบางแห่งสามารถดาเนินการก่อสร้างจน
แล้วเสร็จ ในขณะที่บางแห่งโครงการก่อสร้างจาเป็นต้องยกเลิกไป2
บทความนี้มีจุดประสงค์โต้แย้งความเห็นของ Numjai ที่อ้างว่ามุสลิมต้องการจะยึดครองประเทศไทย
ว่าไม่เป็นความจริง แต่เป็นคาพูดที่สะท้อนแนวคิดต่อต้านและหวาดกลัวศาสนาอิสลามที่กาลังแพร่หลายใน
ภาคอีสานของไทย อันจะขอนาเสนอประเด็นโต้แย้งพร้อมเหตุผลสนับสนุนสามข้อหลักดังต่อไปนี้
1 ไม่ปรากฏชื่อจริงของ Numjai Pimsuy แต่จากการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต ผู้เขียนเป็นเจ้าของบล็อก
http://truthistruth5.blogspot.com ซึ่งเผยแพร่กระทู้ปกป้องพุทธศาสนาตามแนวทางคาสอนของวัดพระธรรมกาย
นอกจากนี้ ผู้เขียนเคยเผยแพร่ข้อความต่อต้านอิสลามและชาวมุสลิมผ่านบล็อก “กูเปนคนไท” หลายครั้ง เช่น การสร้าง
มัสยิดกลางประจาจังหวัดคือแผนการยึดครองประเทศ การมีอาหารฮาลาลในเซเว่น อีเลฟเว่นเป็นการสร้างความแตกแยก
ในสังคม เป็นต้น
2 The Isaan Record, “มัสยิดบึงกาฬ: ความจาเป็นที่แตกต่างนาไปสู่การต่อต้าน,” เดอะ อีสานเรคคอร์ด, 10 ธันวาคม
2561, https://isaanrecord.com/2018/12/10/islam-muslim-masjid-in-isaan/ (สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2562).
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
ประการแรก ผู้เขียนไม่มีหลักฐานสนับสนุนชัดเจนว่าชาวมุสลิมในนครพนมต้องการจะสร้างมัสยิดเพื่อ
ทาลายพุทธศาสนา นอกจากนี้ ผู้เขียนอาจเหมารวมมุสลิมในนครพนมว่าเป็นพวกเดียวกับกลุ่มมุสลิมผู้มี
แนวคิดสุดโต่ง นิยมใช้ความรุนแรงบีบบังคับให้คนนับถืออิสลามตามแบบของเขา เช่น ขบวนการอัลกออิ
ดะห์ (al-Qaeda) และขบวนการรัฐอิสลาม (The Islamic State) ด้วยเหตุนี้ Numjai จึงอนุมานว่าการสร้าง
มัสยิดและประชากรมุสลิมที่อาศัยอยู่ในนครพนมจะนามาซึ่งสงครามความขัดแย้งและความรุนแรงเหมือนกับ
มุสลิมในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย
ก่อนอื่น ผู้อ่านจะต้องเข้าใจว่า ชาวไทยมุสลิมอีสานมีจานวนประชากรน้อยมากเมื่อเทียบสัดส่วนของ
ประชากรคนอีสานส่วนใหญ่ซึ่งนับถือพุทธศาสนาที่คิดเป็นร้อยละ 85 ของประชากรอีสานทั้งหมด ข้อมูลจาก
การสารวจสามะโนประชากรและการเคหะของสานักงานสถิติแห่งชาติระบุว่า ชาวมุสลิมที่อยู่ในประเทศไทย
กระจุกตัวอยู่บางพื้นที่มากกว่าที่จะกระจายไปทุกพื้นที่ของประเทศ กว่าร้อยละ 08 ของชาวมุสลิมอาศัยอยู่
ในภาคใต้ โดยเฉพาะ ใน 5 จังหวัดชายแดนได้แก่ นราธิวาส ปัตตานี ยะลา สตูล และสงขลา หรือประมาณ
343,64222 คน3
ถึงแม้ว่าจะมีชาวไทยมุสลิมอาศัยอยู่ไม่มากเท่ากับภาคใต้ ภาคกลาง และภาคเหนือ แต่ชาวไทยมุสลิม
ในปัจจุบันที่อาศัยอยู่ในภาคอีสานต่างมีความหลากหลายทางด้านวัฒนธรรม ชาติพันธุ์พอสมควร ในงาน
วิทยานิพนธ์ที่ศึกษาวิถีชีวิตของชาวไทยมุสลิมอีสานของวิชาญ ชูช่วย ชื่อ “สังคมชาวมุสลิมใน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ” ระบุว่า ลักษณะสังคมชาวไทยมุสลิมในภาคอีสานมีการตั้งถิ่นฐานอยู่ร่วมกันของ
กลุ่มชาติพันธุ์ที่แตกต่างกันมาก คือ มุสลิมเชื้อสายปาทาน มลายู บังคลาเทศและพม่า ตลอดจนคนพื้นเมือง
ที่เพิ่งเข้ารีตอิสลามใหม่4 โดยมุสลิมเชื้อสายปาทานจากประเทศปากีสถานเป็นมุสลิมกลุ่มแรกที่อพยพมา
อาศัยอยู่ในภูมิภาคตั้งแต่หลังช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง พร้อมกับการสร้างทางรถไฟสายอีสานตอนล่างข้าม
ดงพระยาเย็น (นครราชสีมา – สุรินทร์ – อุบลราชธานี) ในปี พ.ศ. 24435 จึงกล่าวได้ว่าชาวมุสลิมได้ตั้งหลัก
แหล่งอยู่ในดินแดนอีสานมาเป็นเวลาหลายทศวรรษแล้ว
3 นูรซาลบียะห์ เช็ง, “กรุงเทพฯ เมืองใหญ่ กับฉันที่เป็นมุสลิม,” UDDC, 11 มกราคม 2018,
http://www.uddc.net/th/knowledge/กรุงเทพฯ-เมืองใหญ่-กับฉันที่เป็นมุสลิม#.XMpMDfZuKUk (สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน
2562).
4 วิชาญ ชูช่วย4 “สังคมชาวมุสลิมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ4” วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาไทย
คดีศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตมหาสารคาม4 2533.
5 ฉัตรทิพย์ นาถสุภา4 “เศรษฐกิจหมู่บ้านไทยในอดีต4” กรุงเทพฯ: สร้างสรรค์4 25274 85
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
แต่การอยู่ร่วมกันกับกลุ่มชาวไทยส่วนใหญ่ที่นับถือศาสนาพุทธทาให้ชาวไทยมุสลิมภาคอีสานมีความ
แตกต่างจากชาวไทยมุสลิมในภูมิภาคอื่นๆ ที่มีการรวมกลุ่มมุสลิมเชื้อชาติเดียวกันอาศัยอยู่ด้วยกันในเขต
ใกล้เคียง เช่น มุสลิมมลายูอยู่ร่วมกลุ่มกันบริเวณคลองแสนแสบ และชานเมืองในกรุงเทพฯ มุสลิมเชื้อสาย
จาม-เขมรอยู่ร่วมกันบริเวณบ้านครัวหรือเจริญผล กรุงเทพฯ มุสลิมจีนฮ่ออยู่ร่วมกันบริเวณบ้านฮ่อ มัสยิด
ช้างคลาน จังหวัดเชียงใหม่ แต่ในภูมิภาคอีสานจะพบว่าชุมชนมุสลิมอยู่กระจัดกระจายปะปนกับกลุ่ม
วัฒนธรรมอื่นๆ อย่างชัดเจน6
ที่เห็นได้ชัดคือ ชาวมุสลิมใน จ.นครพนม ที่มีอยู่ประมาณ 022 คน กระจายกันอยู่ตามอาเภอต่างๆ ไม่
มีการรวมตัวเป็นลักษณะชุมชนมุสลิม โดยชาวมุสลิมบางส่วนเกิดในจังหวัด อีกส่วนหนึ่งเข้ามาทางานรับ
ราชการ แต่โดยส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรชาวสวนยางพารา ในแง่ศาสนา ชาวมุสลิมในนครพนม
แยกปฏิบัติศาสนกิจตามครอบครัวแต่ละครอบครัว และเท่าที่ผ่านมายังไม่เคยปรากฏความเคลื่อนไหวเพื่อ
ทากิจกรรมทางศาสนา7
บทความนี้จึงสันนิษฐานว่า Numjai อาจได้รับอิทธิพลจากข่าวตามหน้าหนังสือพิมพ์และตามโทรทัศน์
เกี่ยวกับความรุนแรงที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์ความขัดแย้งแบ่งแยกดินแดนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ และ
การก่อการร้ายในระดับโลก จนทาให้เขาไม่สามารถแยกแยะกลุ่มชาวมุสลิมในประเทศไทยที่มีพื้นเพทาง
สังคม วัฒนธรรม และชาติพันธุ์ต่างกัน และอาศัยอยู่ร่วมกับคนไทยพุทธอย่างสงบสุขมาช้านานได้ แต่กลับ
มองคนมุสลิมทั้งหมดว่าเป็นผู้ร้าย นิยมความรุนแรงในลัทธิอิสลามสุดโต่งเหมือนๆ กัน
ประการที่สอง แนวคิดต่อต้านมุสลิมของ Numjai สะท้อนความหวาดกลัวของชาวพุทธในภาคอีสานว่า
การสร้างมัสยิดและจัดตั้งกิจการอาหารฮาลาลจะกลืนกินวัฒนธรรมพุทธ ในกรณีนี้ วสันต์ ท่อทิพย์ หรือ
“อาบีดูน” อิหม่ามประจามัสยิดอัศศอบีรีนและเป็นหนึ่งในผู้ที่ริเริ่มแนวคิดก่อสร้างมัสยิดแห่งแรกใน จ.บึงกาฬ
กล่าวว่า ประเด็นความกังวลเรื่องวัฒนธรรมของศาสนาอิสลามจะกลืนกินวัฒนธรรมของศาสนาพุทธนั้นไม่
น่าจะเกิดขึ้น เนื่องจากในภาคกลางก็มีคนมุสลิมที่สร้างชุมชนมุสลิมในชุมชนพุทธมานาน ซึ่งไม่เห็นมีปัญหา
หรือขัดแย้งกันในเรื่องศาสนาและวิถีชีวิต หรือมีปัญหาว่าวัฒนธรรมมุสลิมจะกลืนกินวัฒนธรรมชาวพุทธแต่
อย่างใด หรือถ้าหากมุสลิมมีแผนจะกลืนพุทธศาสนาจริง เขาก็ควรเริ่มปฏิบัติการตั้งแต่เริ่มก่อตั้งมัสยิดที่
6 ทิพย์รัตน์4 “ความเป็นมามุสลิมภาคอีสาน4” muslimchiangmai.net, 23 กรกฎาคม 25444
http://muslimchiangmai.net/index.php?topic=3904.0;wap2 (สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2562).
7 “ทุกข์ยากมุสลิมนครพนม! ถูกต้านสร้างมัสยิด-ต้องรื้อบาแลด้วยน้าตา,” M Today, 15 กรกฎาคม 2018,
http://www.mtoday.co.th/25966 (สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2562).
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
จังหวัดอุดรธานี ซึ่งเป็นจังหวัดที่มีประชากรมุสลิมอาศัยอยู่มากกว่าจังหวัดอื่นในภาคอีสาน8 หรือตั้งแต่สมัย
ที่อิสลามเริ่มเข้าสู่ประเทศไทยในยุคสมัยสุโขทัยแล้ว นายอาบีดูนมองว่าสาเหตุของความหวาดกลัวดังกล่าว
เกิดจากความไม่เข้าใจกันระหว่างคนที่นับถือศาสนาพุทธและคนที่นับถือศาสนาอิสลามในพื้นที่ เนื่องจากไม่
มีโอกาสได้มีปฏิสัมพันธ์หรือพูดคุยกัน9 รัตติยา สาและกล่าวถึงเรื่องนี้ว่า ความไม่เข้าใจของผู้คนต่างศาสนา
ที่มีต่อวิถีชีวิตของชาวไทยมุสลิมนั้นมีอยู่ไม่น้อย นอกจากนี้แล้ว ในกลุ่มชาวไทยมุสลิมด้วยกันเองยังมีความ
แตกต่างกันทางด้านแหล่งที่มาของบรรพบุรุษ ชาติพันธุ์ รวมถึงในแง่ของการตีความเข้าใจในหลักคาสอน
ทางศาสนาบางประการด้วย10 มุสลิมคนหนึ่งในจังหวัดนครพนมได้อธิบายว่า แผนการที่จะสร้างมัสยิดกลาง
ในจังหวัดนครพนมนั้นมีจุดประสงค์เพื่อเป็นสถานที่ละหมาด เป็นศูนย์รวมพี่น้องมุสลิมให้ปรึกษาหารือกัน
และเป็นสถานศึกษาสอนอัลกุรอ่านให้ลูกหลานมุสลิม พร้อมกับไว้รองรับพี่น้องมุสลิมในท้องที่และที่เดิน
ทางผ่านเข้ามา ไม่ใช่สถานที่สะสมอาวุธ หรือก่อการร้ายตามที่มีการใช้เป็นเหตุผลในการต่อต้าน11
ประการที่สาม ข้อมูลจากสานักกิจการความมั่นคงภายใน ส่วนประสานราชการ กรมการปกครอง
พ.ศ. 2550 ระบุว่า จังหวัดนครพนมยังไม่มีมัสยิดจัดตั้งขึ้นสักแห่งเดียว นอกจากนี้ จากการประชุมเพื่อลง
ประชามติกรณีที่จะมีการก่อสร้างมัสยิดอัลมูฮายีรีนขึ้นในพื้นที่ ม.11 ต.นาราชควาย อ.เมือง จ.นครพนม เมื่อ
วันที่ 4 มิถุนายน 0652 ชาวบ้านนาราชควายทุกคนยืนยันว่า “ไม่เห็นด้วย” ในการจะก่อสร้างมัสยิดใน
พื้นที่12 คากล่าวของ Numjai ที่ว่านครพนมมีมัสยิดแล้วสามที่ และกาลังจะสร้างแห่งที่สี่เสร็จจึงไม่เป็นความ
จริง หลักฐานและข้อมูลดังกล่าวข้างต้นจึงชี้ให้เห็นว่า ชาวมุสลิมไม่เพียงล้มเหลวหรือถูกต่อต้านในเรื่องการ
สร้างมัสยิดในนครพนมเพียงเท่านั้น แต่ยังสะท้อนให้เห็นชัดเจนว่าชาวมุสลิมไม่ได้มีแผนในการยึดครอง
จังหวัดนครพนมให้เป็นฐานอานาจของมุสลิมภาคอีสาน หรือพยายามปรับเปลี่ยนประเทศไทยให้เป็น
สาธารณรัฐอิสลาม
8 ทางนาชีวิต, “มุสลิมอีสาน : รายการทางนาชีวิตอิสลาม ชุด สลามประเทศไทย” Halallife, 21 มิถุนายน 2559
https://www.halallifemag.com/way-of-life-muslim-isan/ (สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2562).
9 The Isaan Record, “มัสยิดบึงกาฬ : ความจาเป็นที่แตกต่างนาไปสู่การต่อต้าน,” เดอะ อีสานเรคคอร์ด4 10 ธันวาคม
25614 https://isaanrecord.com/2018/12/10/islam-muslim-masjid-in-isaan/ (สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2562).
10 รัตติยา สาและ4 “การปฏิสัมพันธ์ระหว่างศาสนิกที่ปรากฏในจังหวัดปัตตานี ยะลา และนราธิวาส4” กรุงเทพฯ4 สานักงาน
กองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
11 “ทุกข์ยากมุสลิมนครพนม! ถูกต้านสร้างมัสยิด-ต้องรื้อบาแลด้วยน้าตา,” M Today.
12 ชาวนาคราชควาย นครพนม ลงมติเอกฉันท์ไม่เอามัสยิดในพื้นที่4 M Today, 5 มิถุนายน 25604
http://www.mtoday.co.th/14163 (สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2562).
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
กล่าวโดยสรุปก็คือ แทนที่จะมุ่งหาข้อแตกต่างและความขัดแย้งระหว่างพุทธศาสนาและอิสลาม หรือ
แทนที่จะมองว่ามุสลิมเป็นชนวนแห่งปัญหาความขัดแย้ง เราควรยอมรับว่าสังคมไทย โดยเฉพาะสังคมอีสาน
เป็นสังคม “พหุวัฒนธรรม” ที่เปิดโอกาสให้คนต่างเชื้อชาติ ต่างภาษา ต่างวัฒนธรรมมีสิทธิและเสรีภาพใน
การนับถือศาสนา มีสถานที่ที่จะใช้ประกอบศาสนกิจ และมีพื้นที่ในการแสดงออกทางทางสังคม ศาสนา และ
วัฒนธรรมร่วมกัน แนวคิดนี้จะช่วยส่งเสริมให้ชาวพุทธและมุสลิมสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข
กล่าวคือ เป็นสังคมที่มีลักษณะหลากหลายในแง่สังคมวัฒนธรรมแต่ก็มีเอกภาพสูง
ในทางตรงกันข้าม ถ้าหากว่ากระแสความเกลียดกลัวอิสลามยังถูกโหมกระพืออย่างรุนแรง สร้างความ
เกลียดชังต่อพี่น้องมุสลิมที่อาศัยอยู่ในจังหวัดนครพนมและในประเทศไทยโดยรวม ความสามารถในการอยู่
ร่วมกันและสายสัมพันธ์ทางสังคมระหว่างชาวไทยพุทธและชาวไทยมุสลิมก็จะพังทลายลง จนเกิดประเด็น
เรื่องปฏิกิริยาโต้กลับจากกลุ่มการเมืองหรือกลุ่มความคิดขวาจัดที่ต่อต้านมุสลิมดังเช่นที่ปรากฏในยุโรป ตาม
ความเห็นของอาจารย์อาทิตย์ ทองอินทร์ ผู้เชี่ยวชาญประเด็นด้านการก่อการร้าย อาจารย์ประจาคณะ
รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต บทบาทที่อาจจะเพิ่มมากขึ้นของกลุ่มขวาจัดเหล่านี้ จะกลายเป็นปฏิกิริยา
ลูกโซ่ เป็นปัจจัยผลักให้คนมุสลิม โดยเฉพาะวัยรุ่น ซึ่งเดิมอาจจะไม่ได้สนใจเรื่องทางสังคม การเมือง
มากมายนัก และอาจจะไม่ได้เคร่งในพิธีกรรมทางศาสนามาก รู้สึกถูกกดทับทางอัตลักษณ์แล้วหันมายึดถือ
แนวคิดสุดโต่งของขบวนการรัฐอิสลาม จนเกิดผู้ก่อการร้ายที่เป็นคนข้างในประเทศนั้นเอง หรือที่เรียกว่า
“homegrown terrorist” หากสังคมไทยมีผู้หวาดกลัวและต่อต้านศาสนาอิสลามอย่าง Numjai Pimsuy
เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โดยขาดการถกเถียงทางแนวคิดและหลักฐานสนับสนุนอย่างสมเหตุสมผล ขบวนการก่อการ
ร้ายโดยกลุ่มแนวคิดสุดโต่งก็อาจจะปะทุขึ้นจริงในนครพนมหรือในประเทศไทยตามที่ผู้เขียนโพสต์ กล่าวอ้าง
ขึ้นก็เป็นได้
ทางแก้ปัญหาระยะยาวที่ดีที่สุดก็คือ ชาวไทยพุทธควรมองว่ามุสลิมที่อยู่บ้านใกล้เรือนเคียงก็เป็นคน
ไทยเหมือนกัน เกิดที่ประเทศไทย และใช้ภาษาไทยในการสื่อสารเหมือนกัน การเปิดโอกาสให้ชาวมุสลิมได้
ตั้งถิ่นฐานในไทย การที่รัฐไทยอนุญาตให้ตั้งมัสยิดกลางเพื่อเป็นศูนย์รวมจิตใจของชุมชนมุสลิมในหลาย
จังหวัด และการดารงชีวิตร่วมกันของชาวพุทธและมุสลิมในนครพนมอย่างกลมกลืนจึงเป็นสิ่งที่เราควร
ส่งเสริมและภาคภูมิใจว่าประเทศไทยประสบความสาเร็จในการเป็นสังคมพหุวัฒนธรรมอย่างแท้จริง
“””””””””””””””””””””””””””””””””””””””””””””””””””

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
Sathuta luamsai
 
ข้อสอบ A-NETคณิตศาสตร์
ข้อสอบ A-NETคณิตศาสตร์ข้อสอบ A-NETคณิตศาสตร์
ข้อสอบ A-NETคณิตศาสตร์
Supakrit Chaiwong
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
คุณครูพี่อั๋น
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
supap6259
 
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตกแบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
peter dontoom
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
phachanee boonyuen
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
Tanapon Wannachai
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 1ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 1
คุณครูพี่อั๋น
 

What's hot (20)

แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
 
ข้อสอบ A-NETคณิตศาสตร์
ข้อสอบ A-NETคณิตศาสตร์ข้อสอบ A-NETคณิตศาสตร์
ข้อสอบ A-NETคณิตศาสตร์
 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษา
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษาแนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษา
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษา
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
 
O-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติO-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติ
 
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตกแบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
 
แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)
แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)
แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)
 
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 1ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 1
 
แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2
แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2
แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2
 
Social
SocialSocial
Social
 
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาวัสดุศาสตร์ 1 พว12011
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาวัสดุศาสตร์ 1 พว12011สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาวัสดุศาสตร์ 1 พว12011
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาวัสดุศาสตร์ 1 พว12011
 
I30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอนI30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอน
 
แบบทดสอบศิลป์ ม.ต้น 2560
แบบทดสอบศิลป์ ม.ต้น 2560แบบทดสอบศิลป์ ม.ต้น 2560
แบบทดสอบศิลป์ ม.ต้น 2560
 
O-NET ม.6-ลำดับและอนุกรม
O-NET ม.6-ลำดับและอนุกรมO-NET ม.6-ลำดับและอนุกรม
O-NET ม.6-ลำดับและอนุกรม
 
ก.ค.ศ.3
ก.ค.ศ.3ก.ค.ศ.3
ก.ค.ศ.3
 

More from Klangpanya

การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
Klangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
Klangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
Klangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
Klangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Klangpanya
 

More from Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

มุสลิมอีสานต้องการครอบครองประเทศไทยจริงหรือ?

  • 2. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ 2 พฤษภาคม 2562 มุสลิมอีสานต้องการครอบครอง ประเทศไทยจริงหรือ? ตามที่ Numjai Pimsuy1 ได้เขียนข้อความเผยแพร่ผ่านไลน์ว่าอิสลามต้องการครอบครองประเทศไทย ทั้งประเทศและจะเปลี่ยนให้เป็นประเทศสาธารณรัฐอิสลาม โดยเริ่มจากการสร้างมัสยิดกลางที่จังหวัด นครพนมเพื่อทาลายพุทธศาสนาหรือศาสนสถานที่สาคัญอย่างพระธาตุพนม แล้วพัฒนาจุดยุทธศาสตร์ใน การขยายฐานอานาจของมุสลิมไปทั่วทั้งภาคอีสานนั้น แนวคิดดังกล่าวสะท้อนกระแสคนท้องถิ่นที่นับถือศาสนาพุทธบางส่วนที่ออกมาต่อต้านการสร้างมัสยิด ของคนที่นับถือศาสนาอิสลามในพื้นที่ภาคอีสาน ซึ่งกระแสนี้เริ่มขึ้นในพื้นที่ จ.บึงกาฬ และแพร่กระจายไปใน พื้นที่ จ.มุกดาหาร จ .ขอนแก่น จ.สกลนคร และ จ.นครพนม ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 จนถึงปีพ.ศ. 2561 ซึ่ง ยังคงปรากฏให้เห็นตามหน้าสื่อสังคมออนไลน์ในปัจจุบัน ทั้งนี้ มัสยิดบางแห่งสามารถดาเนินการก่อสร้างจน แล้วเสร็จ ในขณะที่บางแห่งโครงการก่อสร้างจาเป็นต้องยกเลิกไป2 บทความนี้มีจุดประสงค์โต้แย้งความเห็นของ Numjai ที่อ้างว่ามุสลิมต้องการจะยึดครองประเทศไทย ว่าไม่เป็นความจริง แต่เป็นคาพูดที่สะท้อนแนวคิดต่อต้านและหวาดกลัวศาสนาอิสลามที่กาลังแพร่หลายใน ภาคอีสานของไทย อันจะขอนาเสนอประเด็นโต้แย้งพร้อมเหตุผลสนับสนุนสามข้อหลักดังต่อไปนี้ 1 ไม่ปรากฏชื่อจริงของ Numjai Pimsuy แต่จากการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต ผู้เขียนเป็นเจ้าของบล็อก http://truthistruth5.blogspot.com ซึ่งเผยแพร่กระทู้ปกป้องพุทธศาสนาตามแนวทางคาสอนของวัดพระธรรมกาย นอกจากนี้ ผู้เขียนเคยเผยแพร่ข้อความต่อต้านอิสลามและชาวมุสลิมผ่านบล็อก “กูเปนคนไท” หลายครั้ง เช่น การสร้าง มัสยิดกลางประจาจังหวัดคือแผนการยึดครองประเทศ การมีอาหารฮาลาลในเซเว่น อีเลฟเว่นเป็นการสร้างความแตกแยก ในสังคม เป็นต้น 2 The Isaan Record, “มัสยิดบึงกาฬ: ความจาเป็นที่แตกต่างนาไปสู่การต่อต้าน,” เดอะ อีสานเรคคอร์ด, 10 ธันวาคม 2561, https://isaanrecord.com/2018/12/10/islam-muslim-masjid-in-isaan/ (สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2562).
  • 3. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ ประการแรก ผู้เขียนไม่มีหลักฐานสนับสนุนชัดเจนว่าชาวมุสลิมในนครพนมต้องการจะสร้างมัสยิดเพื่อ ทาลายพุทธศาสนา นอกจากนี้ ผู้เขียนอาจเหมารวมมุสลิมในนครพนมว่าเป็นพวกเดียวกับกลุ่มมุสลิมผู้มี แนวคิดสุดโต่ง นิยมใช้ความรุนแรงบีบบังคับให้คนนับถืออิสลามตามแบบของเขา เช่น ขบวนการอัลกออิ ดะห์ (al-Qaeda) และขบวนการรัฐอิสลาม (The Islamic State) ด้วยเหตุนี้ Numjai จึงอนุมานว่าการสร้าง มัสยิดและประชากรมุสลิมที่อาศัยอยู่ในนครพนมจะนามาซึ่งสงครามความขัดแย้งและความรุนแรงเหมือนกับ มุสลิมในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย ก่อนอื่น ผู้อ่านจะต้องเข้าใจว่า ชาวไทยมุสลิมอีสานมีจานวนประชากรน้อยมากเมื่อเทียบสัดส่วนของ ประชากรคนอีสานส่วนใหญ่ซึ่งนับถือพุทธศาสนาที่คิดเป็นร้อยละ 85 ของประชากรอีสานทั้งหมด ข้อมูลจาก การสารวจสามะโนประชากรและการเคหะของสานักงานสถิติแห่งชาติระบุว่า ชาวมุสลิมที่อยู่ในประเทศไทย กระจุกตัวอยู่บางพื้นที่มากกว่าที่จะกระจายไปทุกพื้นที่ของประเทศ กว่าร้อยละ 08 ของชาวมุสลิมอาศัยอยู่ ในภาคใต้ โดยเฉพาะ ใน 5 จังหวัดชายแดนได้แก่ นราธิวาส ปัตตานี ยะลา สตูล และสงขลา หรือประมาณ 343,64222 คน3 ถึงแม้ว่าจะมีชาวไทยมุสลิมอาศัยอยู่ไม่มากเท่ากับภาคใต้ ภาคกลาง และภาคเหนือ แต่ชาวไทยมุสลิม ในปัจจุบันที่อาศัยอยู่ในภาคอีสานต่างมีความหลากหลายทางด้านวัฒนธรรม ชาติพันธุ์พอสมควร ในงาน วิทยานิพนธ์ที่ศึกษาวิถีชีวิตของชาวไทยมุสลิมอีสานของวิชาญ ชูช่วย ชื่อ “สังคมชาวมุสลิมใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ” ระบุว่า ลักษณะสังคมชาวไทยมุสลิมในภาคอีสานมีการตั้งถิ่นฐานอยู่ร่วมกันของ กลุ่มชาติพันธุ์ที่แตกต่างกันมาก คือ มุสลิมเชื้อสายปาทาน มลายู บังคลาเทศและพม่า ตลอดจนคนพื้นเมือง ที่เพิ่งเข้ารีตอิสลามใหม่4 โดยมุสลิมเชื้อสายปาทานจากประเทศปากีสถานเป็นมุสลิมกลุ่มแรกที่อพยพมา อาศัยอยู่ในภูมิภาคตั้งแต่หลังช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง พร้อมกับการสร้างทางรถไฟสายอีสานตอนล่างข้าม ดงพระยาเย็น (นครราชสีมา – สุรินทร์ – อุบลราชธานี) ในปี พ.ศ. 24435 จึงกล่าวได้ว่าชาวมุสลิมได้ตั้งหลัก แหล่งอยู่ในดินแดนอีสานมาเป็นเวลาหลายทศวรรษแล้ว 3 นูรซาลบียะห์ เช็ง, “กรุงเทพฯ เมืองใหญ่ กับฉันที่เป็นมุสลิม,” UDDC, 11 มกราคม 2018, http://www.uddc.net/th/knowledge/กรุงเทพฯ-เมืองใหญ่-กับฉันที่เป็นมุสลิม#.XMpMDfZuKUk (สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2562). 4 วิชาญ ชูช่วย4 “สังคมชาวมุสลิมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ4” วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาไทย คดีศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตมหาสารคาม4 2533. 5 ฉัตรทิพย์ นาถสุภา4 “เศรษฐกิจหมู่บ้านไทยในอดีต4” กรุงเทพฯ: สร้างสรรค์4 25274 85
  • 4. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ แต่การอยู่ร่วมกันกับกลุ่มชาวไทยส่วนใหญ่ที่นับถือศาสนาพุทธทาให้ชาวไทยมุสลิมภาคอีสานมีความ แตกต่างจากชาวไทยมุสลิมในภูมิภาคอื่นๆ ที่มีการรวมกลุ่มมุสลิมเชื้อชาติเดียวกันอาศัยอยู่ด้วยกันในเขต ใกล้เคียง เช่น มุสลิมมลายูอยู่ร่วมกลุ่มกันบริเวณคลองแสนแสบ และชานเมืองในกรุงเทพฯ มุสลิมเชื้อสาย จาม-เขมรอยู่ร่วมกันบริเวณบ้านครัวหรือเจริญผล กรุงเทพฯ มุสลิมจีนฮ่ออยู่ร่วมกันบริเวณบ้านฮ่อ มัสยิด ช้างคลาน จังหวัดเชียงใหม่ แต่ในภูมิภาคอีสานจะพบว่าชุมชนมุสลิมอยู่กระจัดกระจายปะปนกับกลุ่ม วัฒนธรรมอื่นๆ อย่างชัดเจน6 ที่เห็นได้ชัดคือ ชาวมุสลิมใน จ.นครพนม ที่มีอยู่ประมาณ 022 คน กระจายกันอยู่ตามอาเภอต่างๆ ไม่ มีการรวมตัวเป็นลักษณะชุมชนมุสลิม โดยชาวมุสลิมบางส่วนเกิดในจังหวัด อีกส่วนหนึ่งเข้ามาทางานรับ ราชการ แต่โดยส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรชาวสวนยางพารา ในแง่ศาสนา ชาวมุสลิมในนครพนม แยกปฏิบัติศาสนกิจตามครอบครัวแต่ละครอบครัว และเท่าที่ผ่านมายังไม่เคยปรากฏความเคลื่อนไหวเพื่อ ทากิจกรรมทางศาสนา7 บทความนี้จึงสันนิษฐานว่า Numjai อาจได้รับอิทธิพลจากข่าวตามหน้าหนังสือพิมพ์และตามโทรทัศน์ เกี่ยวกับความรุนแรงที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์ความขัดแย้งแบ่งแยกดินแดนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ และ การก่อการร้ายในระดับโลก จนทาให้เขาไม่สามารถแยกแยะกลุ่มชาวมุสลิมในประเทศไทยที่มีพื้นเพทาง สังคม วัฒนธรรม และชาติพันธุ์ต่างกัน และอาศัยอยู่ร่วมกับคนไทยพุทธอย่างสงบสุขมาช้านานได้ แต่กลับ มองคนมุสลิมทั้งหมดว่าเป็นผู้ร้าย นิยมความรุนแรงในลัทธิอิสลามสุดโต่งเหมือนๆ กัน ประการที่สอง แนวคิดต่อต้านมุสลิมของ Numjai สะท้อนความหวาดกลัวของชาวพุทธในภาคอีสานว่า การสร้างมัสยิดและจัดตั้งกิจการอาหารฮาลาลจะกลืนกินวัฒนธรรมพุทธ ในกรณีนี้ วสันต์ ท่อทิพย์ หรือ “อาบีดูน” อิหม่ามประจามัสยิดอัศศอบีรีนและเป็นหนึ่งในผู้ที่ริเริ่มแนวคิดก่อสร้างมัสยิดแห่งแรกใน จ.บึงกาฬ กล่าวว่า ประเด็นความกังวลเรื่องวัฒนธรรมของศาสนาอิสลามจะกลืนกินวัฒนธรรมของศาสนาพุทธนั้นไม่ น่าจะเกิดขึ้น เนื่องจากในภาคกลางก็มีคนมุสลิมที่สร้างชุมชนมุสลิมในชุมชนพุทธมานาน ซึ่งไม่เห็นมีปัญหา หรือขัดแย้งกันในเรื่องศาสนาและวิถีชีวิต หรือมีปัญหาว่าวัฒนธรรมมุสลิมจะกลืนกินวัฒนธรรมชาวพุทธแต่ อย่างใด หรือถ้าหากมุสลิมมีแผนจะกลืนพุทธศาสนาจริง เขาก็ควรเริ่มปฏิบัติการตั้งแต่เริ่มก่อตั้งมัสยิดที่ 6 ทิพย์รัตน์4 “ความเป็นมามุสลิมภาคอีสาน4” muslimchiangmai.net, 23 กรกฎาคม 25444 http://muslimchiangmai.net/index.php?topic=3904.0;wap2 (สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2562). 7 “ทุกข์ยากมุสลิมนครพนม! ถูกต้านสร้างมัสยิด-ต้องรื้อบาแลด้วยน้าตา,” M Today, 15 กรกฎาคม 2018, http://www.mtoday.co.th/25966 (สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2562).
  • 5. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ จังหวัดอุดรธานี ซึ่งเป็นจังหวัดที่มีประชากรมุสลิมอาศัยอยู่มากกว่าจังหวัดอื่นในภาคอีสาน8 หรือตั้งแต่สมัย ที่อิสลามเริ่มเข้าสู่ประเทศไทยในยุคสมัยสุโขทัยแล้ว นายอาบีดูนมองว่าสาเหตุของความหวาดกลัวดังกล่าว เกิดจากความไม่เข้าใจกันระหว่างคนที่นับถือศาสนาพุทธและคนที่นับถือศาสนาอิสลามในพื้นที่ เนื่องจากไม่ มีโอกาสได้มีปฏิสัมพันธ์หรือพูดคุยกัน9 รัตติยา สาและกล่าวถึงเรื่องนี้ว่า ความไม่เข้าใจของผู้คนต่างศาสนา ที่มีต่อวิถีชีวิตของชาวไทยมุสลิมนั้นมีอยู่ไม่น้อย นอกจากนี้แล้ว ในกลุ่มชาวไทยมุสลิมด้วยกันเองยังมีความ แตกต่างกันทางด้านแหล่งที่มาของบรรพบุรุษ ชาติพันธุ์ รวมถึงในแง่ของการตีความเข้าใจในหลักคาสอน ทางศาสนาบางประการด้วย10 มุสลิมคนหนึ่งในจังหวัดนครพนมได้อธิบายว่า แผนการที่จะสร้างมัสยิดกลาง ในจังหวัดนครพนมนั้นมีจุดประสงค์เพื่อเป็นสถานที่ละหมาด เป็นศูนย์รวมพี่น้องมุสลิมให้ปรึกษาหารือกัน และเป็นสถานศึกษาสอนอัลกุรอ่านให้ลูกหลานมุสลิม พร้อมกับไว้รองรับพี่น้องมุสลิมในท้องที่และที่เดิน ทางผ่านเข้ามา ไม่ใช่สถานที่สะสมอาวุธ หรือก่อการร้ายตามที่มีการใช้เป็นเหตุผลในการต่อต้าน11 ประการที่สาม ข้อมูลจากสานักกิจการความมั่นคงภายใน ส่วนประสานราชการ กรมการปกครอง พ.ศ. 2550 ระบุว่า จังหวัดนครพนมยังไม่มีมัสยิดจัดตั้งขึ้นสักแห่งเดียว นอกจากนี้ จากการประชุมเพื่อลง ประชามติกรณีที่จะมีการก่อสร้างมัสยิดอัลมูฮายีรีนขึ้นในพื้นที่ ม.11 ต.นาราชควาย อ.เมือง จ.นครพนม เมื่อ วันที่ 4 มิถุนายน 0652 ชาวบ้านนาราชควายทุกคนยืนยันว่า “ไม่เห็นด้วย” ในการจะก่อสร้างมัสยิดใน พื้นที่12 คากล่าวของ Numjai ที่ว่านครพนมมีมัสยิดแล้วสามที่ และกาลังจะสร้างแห่งที่สี่เสร็จจึงไม่เป็นความ จริง หลักฐานและข้อมูลดังกล่าวข้างต้นจึงชี้ให้เห็นว่า ชาวมุสลิมไม่เพียงล้มเหลวหรือถูกต่อต้านในเรื่องการ สร้างมัสยิดในนครพนมเพียงเท่านั้น แต่ยังสะท้อนให้เห็นชัดเจนว่าชาวมุสลิมไม่ได้มีแผนในการยึดครอง จังหวัดนครพนมให้เป็นฐานอานาจของมุสลิมภาคอีสาน หรือพยายามปรับเปลี่ยนประเทศไทยให้เป็น สาธารณรัฐอิสลาม 8 ทางนาชีวิต, “มุสลิมอีสาน : รายการทางนาชีวิตอิสลาม ชุด สลามประเทศไทย” Halallife, 21 มิถุนายน 2559 https://www.halallifemag.com/way-of-life-muslim-isan/ (สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2562). 9 The Isaan Record, “มัสยิดบึงกาฬ : ความจาเป็นที่แตกต่างนาไปสู่การต่อต้าน,” เดอะ อีสานเรคคอร์ด4 10 ธันวาคม 25614 https://isaanrecord.com/2018/12/10/islam-muslim-masjid-in-isaan/ (สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2562). 10 รัตติยา สาและ4 “การปฏิสัมพันธ์ระหว่างศาสนิกที่ปรากฏในจังหวัดปัตตานี ยะลา และนราธิวาส4” กรุงเทพฯ4 สานักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). 11 “ทุกข์ยากมุสลิมนครพนม! ถูกต้านสร้างมัสยิด-ต้องรื้อบาแลด้วยน้าตา,” M Today. 12 ชาวนาคราชควาย นครพนม ลงมติเอกฉันท์ไม่เอามัสยิดในพื้นที่4 M Today, 5 มิถุนายน 25604 http://www.mtoday.co.th/14163 (สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2562).
  • 6. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ กล่าวโดยสรุปก็คือ แทนที่จะมุ่งหาข้อแตกต่างและความขัดแย้งระหว่างพุทธศาสนาและอิสลาม หรือ แทนที่จะมองว่ามุสลิมเป็นชนวนแห่งปัญหาความขัดแย้ง เราควรยอมรับว่าสังคมไทย โดยเฉพาะสังคมอีสาน เป็นสังคม “พหุวัฒนธรรม” ที่เปิดโอกาสให้คนต่างเชื้อชาติ ต่างภาษา ต่างวัฒนธรรมมีสิทธิและเสรีภาพใน การนับถือศาสนา มีสถานที่ที่จะใช้ประกอบศาสนกิจ และมีพื้นที่ในการแสดงออกทางทางสังคม ศาสนา และ วัฒนธรรมร่วมกัน แนวคิดนี้จะช่วยส่งเสริมให้ชาวพุทธและมุสลิมสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข กล่าวคือ เป็นสังคมที่มีลักษณะหลากหลายในแง่สังคมวัฒนธรรมแต่ก็มีเอกภาพสูง ในทางตรงกันข้าม ถ้าหากว่ากระแสความเกลียดกลัวอิสลามยังถูกโหมกระพืออย่างรุนแรง สร้างความ เกลียดชังต่อพี่น้องมุสลิมที่อาศัยอยู่ในจังหวัดนครพนมและในประเทศไทยโดยรวม ความสามารถในการอยู่ ร่วมกันและสายสัมพันธ์ทางสังคมระหว่างชาวไทยพุทธและชาวไทยมุสลิมก็จะพังทลายลง จนเกิดประเด็น เรื่องปฏิกิริยาโต้กลับจากกลุ่มการเมืองหรือกลุ่มความคิดขวาจัดที่ต่อต้านมุสลิมดังเช่นที่ปรากฏในยุโรป ตาม ความเห็นของอาจารย์อาทิตย์ ทองอินทร์ ผู้เชี่ยวชาญประเด็นด้านการก่อการร้าย อาจารย์ประจาคณะ รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต บทบาทที่อาจจะเพิ่มมากขึ้นของกลุ่มขวาจัดเหล่านี้ จะกลายเป็นปฏิกิริยา ลูกโซ่ เป็นปัจจัยผลักให้คนมุสลิม โดยเฉพาะวัยรุ่น ซึ่งเดิมอาจจะไม่ได้สนใจเรื่องทางสังคม การเมือง มากมายนัก และอาจจะไม่ได้เคร่งในพิธีกรรมทางศาสนามาก รู้สึกถูกกดทับทางอัตลักษณ์แล้วหันมายึดถือ แนวคิดสุดโต่งของขบวนการรัฐอิสลาม จนเกิดผู้ก่อการร้ายที่เป็นคนข้างในประเทศนั้นเอง หรือที่เรียกว่า “homegrown terrorist” หากสังคมไทยมีผู้หวาดกลัวและต่อต้านศาสนาอิสลามอย่าง Numjai Pimsuy เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โดยขาดการถกเถียงทางแนวคิดและหลักฐานสนับสนุนอย่างสมเหตุสมผล ขบวนการก่อการ ร้ายโดยกลุ่มแนวคิดสุดโต่งก็อาจจะปะทุขึ้นจริงในนครพนมหรือในประเทศไทยตามที่ผู้เขียนโพสต์ กล่าวอ้าง ขึ้นก็เป็นได้ ทางแก้ปัญหาระยะยาวที่ดีที่สุดก็คือ ชาวไทยพุทธควรมองว่ามุสลิมที่อยู่บ้านใกล้เรือนเคียงก็เป็นคน ไทยเหมือนกัน เกิดที่ประเทศไทย และใช้ภาษาไทยในการสื่อสารเหมือนกัน การเปิดโอกาสให้ชาวมุสลิมได้ ตั้งถิ่นฐานในไทย การที่รัฐไทยอนุญาตให้ตั้งมัสยิดกลางเพื่อเป็นศูนย์รวมจิตใจของชุมชนมุสลิมในหลาย จังหวัด และการดารงชีวิตร่วมกันของชาวพุทธและมุสลิมในนครพนมอย่างกลมกลืนจึงเป็นสิ่งที่เราควร ส่งเสริมและภาคภูมิใจว่าประเทศไทยประสบความสาเร็จในการเป็นสังคมพหุวัฒนธรรมอย่างแท้จริง “””””””””””””””””””””””””””””””””””””””””””””””””””