SlideShare a Scribd company logo
1 of 42
Download to read offline
โครงสร้างและส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์กาญจนา
บทคัดย่อ

ชื่อเรื่อง : รายงานการจัดการเรียนการสอนโดยใช้กล้องจุลทรรศน์กาญจนาเป็นสื่ออุปกรณ์
ในกิจกรรมการทดลอง เรื่อง โครงสร้างภายในของพืช วิชาชีววิทยา ของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่           5 โรงเรียนห้วยสักวิทยาคม อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย
ปีการศึกษา             2549
ชื่อผู้ศึกษา : นางกาญจนา ไพศาล
ปีการศึกษา : 2550

          ในการ ศึกษา ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและหา คุณภาพกล้อง จุลทรรศ น์ กาญจนา
ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และศึกษา ความคิดเห็นของนักเรียนจากการ ใช้กล้องจุลทรรศน์
กาญจนาเป็นสื่ออุปกรณ์ในกิจกรรมการทดลองเรื่อง โครงสร้างภายในของพืช
          เครื่องมือที่ใช้ศึกษาได้แก่ กล้องจุลทรรศน์กาญจนา แบบประเมินนวัตกรรมทางการศึกษา
แผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบสอบถามความคิดเห็นของ
นักเรียนจากการใช้กล้องจุลทรรศน์กาญจนาเป็นสื่อ อุปกรณ์ในกิจกรรมการทดลอง ประชากร คือ
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนห้วยสักวิทยาคม อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย
ปีการศึกษา 2549 จานวน 44 คน
          ผลการดาเนินงาน พบว่า ได้กล้องจุลทรรศน์ กาญจนาที่มี ลักษณะเฉพาะ คือ ลากล้องเป็น
รูปทรงกระบอกติดเลนส์ด้านหัวและท้ายของลากล้อง ใช้เลนส์ใกล้ตาของกล้องจุลทรรศน์มาตรฐาน
แบบสองตาทาหน้าทีเ่ ป็นทั้งเลนส์ใกล้ตาและเลนส์ใกล้วัตถุของกล้อง มีกาลังขยายประมาณ 100 เท่า
จากการใช้ความยาวของลากล้อง 12 เซนติเมตรละใช้เลนส์ใกล้ตาที่มีกาลังขยาย20X กับ 20X ทาเป็น
                                              แ
เลนส์ของกล้องซึ่ง สามารถเปลี่ยนกาลังขยายและถอดเก็บ ไว้โดยที่เลนส์ไม่เสียสภาพ ลากล้องและ
ตัวกล้องเป็นโลหะอลูมิเนียม ใช้ที่หมุนบานเกล็ดเป็นอุปกรณ์ปรับหาระยะภาพ ใช้กระจกเงารับแสง
ผลการประเมินคุณภาพกล้องอยู่ ในระดับ ดีมากที่สุด ผลการนากล้องจุลทรรศน์กาญจนาไปใช้ พบว่า
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนมีร้อยละค่าเฉลี่ยของคะแนนหลังเรียนเป็น ร้อยละ 91.21 สูงกว่า
เกณฑ์ที่โรงเรียนกาหนด คือ ร้อยละ 70 นักเรียนทุกคนผ่านการประเมิน มีพัฒนาการทางการเรียนรู้
                         ไว้
และความคิดเห็นของนักเรียน อการใช้กล้องจุลทรรศน์กาญจนาเป็นสื่ออุปกรณ์ในกิจกรรมการทดลอง
                              ต่
พบว่า ผลการประเมินอยู่ในระดับ เห็นด้วยอย่างยิ่ง ทุกหัวข้อการประเมิน
ผลการทดลองใช้งานกล้องจุลทรรศน์กาญจนา
          พบว่าสามารถมองเห็น ภาพของวัตถุขยายขนาดได้ คือ มองเห็นผนังเซลล์และนิวเคลียส
ของเซลล์เยื่อหอม เซลล์คุมของผิวใบพืชและเห็นการจัดเรียงชั้นเนื้อเยื่อของโครงสร้างภายในของพืช
ดังต่อไปนี้ โครงสร้างของรากพืชตามยาว โครงสร้างของรากพืชตามขวาง โครงสร้างลาต้นตามขวาง
                                                                                 พืช
โครงสร้างของใบพืชตามขวาง และสามารถมองเห็นและบอกความแตกต่างของการจัดเรียงตัวของ
ท่อลาเลียงในของรากและลาต้นตามขวางของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่ได้
ภาพที่ 73 ผนังเซลล์และนิวเคลียสของเซลล์เยื่อหอม




ภาพที่ 74 ลักษณะการจัดเรียงตัวของกลุ่มท่อน้าท่ออาหารของรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
ภาพที่ 75 ลักษณะการจัดเรียงตัวของกลุ่มท่อน้้าท่ออาหารของล้าต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว




ภาพที่ 76 ลักษณะการจัดเรียงตัวของกลุ่มท่อน้้าท่ออาหารของล้าต้นพืชใบเลี้ยงคู่
ภาพที่ 77 ปริมาณของปากใบของเซลล์ผิวใบด้านล่างของใบว่านกาบหอยแครง




ภาพที่ 78 จุลินทรีย์พวกพารามีเซียม
ผลการศึกษาเปรียบเทียบกล้องจุลทรรศน์กาญจนากับกล้องจุลทรรศน์ชนิดอื่น
          1. การศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกล้องจุลทรรศน์กาญจนากับกล้องจุลทรรศน์มาตรฐาน
 1.1 การเปรียบเทียบก้าลังขยายและความชัดเจนของภาพระหว่างกล้องจุลทรรศน์
กาญจนากับกล้องจุลทรรศน์มาตรฐานแบบสองตา
ตารางที่ 3 ภาพจากกล้อง Webcam ของกล้องจุลทรรศน์มาตรฐานก้าลังขยายต่าง ๆ ใช้ในการศึกษา
            เปรียบเทียบหาก้าลังขยายของกล้องจุลทรรศน์กาญจนา

 เลนส์ใกล้วัตถุ xใกล้ตา   กาลังขยาย                 ภาพถ่ายจาก Webcam

         4 x 10             40




         4 x 15             60




         4 x 20             80




         10 x 10           100
ตารางที่ 4 ตารางเปรียบเทียบภาพจากกล้อWebcam ของกล้องจุลทรรศน์กาญจนา ที่มีความยาว
                                          ง
            ล้ากล้อง 12 เซนติเมตร ใช้ชุดเลนส์ 10X กับ 20X กับ กล้องจุลทรรศน์มาตรฐาน

             กล้องจุลทรรศน์กาญจนา                      กล้องจุลทรรศน์มาตรฐาน
      (ที่มีความยาวลากล้อง 12 เซนติเมตร
                             =                          (กาลังขยาย 40 เท่า)
              ใช้เลนส์ใกล้วัตถุ=20X
               ใช้เลนส์ใกล้ตา=10X)




         จากตารางที่ 4 พบว่าก้าลังขยายของกล้องจุลทรรศน์กาญจนาที่ใช้เลนส์ก้าลังขยาย 10 X
กับ 20X ท้าหน้าที่ เป็นเลนส์ใกล้ตาและเลนส์ใกล้ วัตถุ เปรียบเทียบกับกล้องจุลทรรศน์มาตรฐาน
มีค่าประมาณ 40 เท่า และภาพที่เห็นมีความชัดเจนเทียบเท่ากับกล้องมาตรฐานที่ก้าลังขยาย 40 เท่า
ตารางที่ 5 ตารางเปรียบเทียบภาพจากกล้อWebcam ของกล้องจุลทรรศน์กาญจนาที่มีความยาวล้ากล้อง
                                        ง
           12 เซนติเมตร ใช้ชุดเลนส์ 20X กับ 20X กับ กล้องจุลทรรศน์มาตรฐาน

            ภาพถ่ายจาก webcam ของ                      ภาพถ่ายจาก webcam ของ
             กล้องจุลทรรศน์กาญจนา                      กล้องจุลทรรศน์มาตรฐาน
       ที่มีความยาวลากล้อง12 เซนติเมตร                      กาลังขยาย 100 เท่า
        ใช้เลนส์ใกล้วัตถุกาลังขยาย 20X
          ใช้เลนส์ใกล้ตากาลังขยาย 20X




 จากตารางที่            5 พบว่าก้าลังขยายของกล้องจุลทรรศน์กาญจนาที่ใช้เลนส์ก้าลังขยาย 20X
กับ 20X ท้าหน้าที่ เป็นเลนส์ใกล้ตาและเลนส์ใกล้ วัตถุ เปรียบเทียบกับกล้องจุลทรรศน์มาตรฐาน
มีค่าประมาณ 100 เท่า และภาพที่เห็นมีความชัดเจนเทียบเท่ากับกล้องมาตรฐานที่ก้าลังขยาย100 เท่า
         จะเห็นว่าการใช้ความยาวล้ากล้อง 12 เซนติเมตรและชุดเลนส์ก้าลังขยาย 20 X กับ 20X
เหมาะสมที่สุดส้าหรับกล้องจุลทรรศน์กาญจนา
ภาคผนวก จ
 ประมวลภาพ การวิเคราะห์คุณภาพ การนากล้องจุลทรรศน์กาญจนาไปใช้ในกิจกรรม
                      การเรียนรู้ การเผยแพร่ผลงาน

ภาพที่ 89 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุทธิพร ธเนศสกุลวัฒนา ประธานโปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ
          และสิ่งแวดล้อม และอาจารย์สุทธิ มลิทองแนะน้าเกี่ยวกับคุณภาพกล้อง




ภาพที่ 90 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุทธิพร ธเนศสกุลวัฒนา ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรินทร์ ทองค้า และ
          อาจารย์สุทธิ มลิทอง ผู้เชี่ยวชาญประเมินคุณภาพกล้องจุลทรรศน์กาญจนา
ภาพที่ 91 รองศาสตราจารย์ฑวัต ชีวะเกตุ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย
          ราชภัฎเชียงราย ผู้รับรองผลการประเมินคุณภาพกล้องจุลทรรศน์กาญจนา




ภาพที่ 92 ห้องปฏิบัติการที่คับแคบ ปัญหากล้องจุลทรรศน์ไม่พอใช้
ภาพที่ 93 จุดต่อปลั๊กไฟ ในห้องปฏิบัติการและตู้เก็บกล้องจุลทรรศน์




ภาพที่ 94 การใช้กล้องจุลทรรศน์กาญจนามาแก้ปัญหากล้องไม่พอใช้
ภาพที่ 95 นักเรียนศึกษาตัวอย่างสไลด์โดยใช้กล้องจุลทรรศน์กาญจนาเปรียบเทียบกับกล้อง
          จุลทรรศน์แบบสองตา




ภาพที่ 96 การปฏิบัติการโดยใช้ สวนผักในโรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้
ภาพที่ 97 ขณะท้าปฏิบัติการ




ภาพที่ 98 การปฏิบัติการเตรียมสไลด์แบบ Wet Mount
ภาพที่ 99 การปฏิบัติการดูโครงสร้างภายในของพืช




ภาพที่ 100 การปฏิบัติการโดยใช้สวนคณิตศาสตร์เป็นแหล่งเรียนรู้
ภาพที่ 101 นักเรียนท้าปฏิบัติการโดยใช้สวนคณิตศาสตร์เป็นแหล่งเรียนรู้




ภาพที่ 102 การเลือกพืชตัวอย่าง
ภาพที่ 103 การท้าสไลด์ตัวอย่างพืช




ภาพที่ 104 ภาพไร่มนตรีแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น
ภาพที่ 105 ภาพครูกาญจนาชี้แจงเกี่ยวกับการท้าปฏิบัติการภาคสนาม




ภาพที่ 106 ภาพครูกาญจนาแจกใบกิจกรรมท้าปฏิบัติการภาคสนาม
ภาพที่ 107 ภาพนักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผนเลือกสถานที่ท้าปฏิบัติการ




ภาพที่ 108 ภาพนักเรียนแต่ละกลุ่มแยกย้ายท้าปฏิบัติการภาคสนามตามที่วางแผน
ภาพที่ 109 ภาพนักเรียนเลือกใบพืชที่ใช้ศึกษา




ภาพที่ 110 ภาพนักเรียนท้าปฏิบัติการ
ภาพที่ 111 ภาพนักเรียนท้าปฏิบัติการอย่างตั้งใจ




ภาพที่ 112 ภาพนักเรียนท้าปฏิบัติการอย่างมีความสุข
ภาพที่ 113 ภาพนักเรียนท้าปฏิบัติการอย่างมีความพึงพอใจ




ภาพที่ 114 ภาพนักเรียนศึกษาอย่างมีความใฝ่รู้ใฝ่เรียน
ภาพที่ 115 ภาพนักเรียนศึกษาอย่างมีความรับผิดชอบ




ภาพที่ 116 ภาพผลงานนักเรียน
ภาพที่ 117 ภาพพ่อเลี้ยงมนตรี พิมสาร เจ้าของไร่มนตรี
ภาพที่ 118 ภาพพ่อเลี้ยงมนตรี พิมสาร วิทยากรท้องถิ่น




ภาพที่ 119 ภาพพ่อเลี้ยงมนตรี พิมสาร วิทยากรท้องถิ่นให้ความรู้โดยองค์รวม
ภาพที่ 120 ภาพนักเรียนรับฟังความรู้อย่างตั้งใจ




ภาพที่ 121 ภาพคณะครูและนักเรียน ในแหล่งเรียนรู้ท้องถิ่น
ภาพที่ 122 ภาพครูกาญจนามอบกล้องจุลทรรศน์กาญจนาให้แก่พ่อเลี้ยงมนตรี พิมสาร
           เพื่อใช้ศึกษาไรแดงและเพลี้ยไฟศัตรูของมะนาวไร้เมล็ด




ภาพที่ 123 ภาพการเผยแพร่แก่คณะครูในกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนห้วยสักวิทยาคม
ภาพที่ 124 ภาพครูกาญจนาเผยแพร่วิธีใช้กล้องจุลทรรศน์กาญจนา




ภาพที่ 125 ภาพครูกาญจนาเผยแพร่กล้องจุลทรรศน์กาญจนาแก่บุคลากรในโรงเรียน
ภาพที่ 126 ภาพบุคลากรในโรงเรียนทดลองใช้กล้องจุลทรรศน์กาญจนา




ภาพที่ 127 ภาพครูวุฒิชัย ต๊ะยาย และนักเรียนโรงเรียนเมืองเชียงรายทดลองใช้กล้อง
ภาพที่ 128 ภาพนักเรียนโรงเรียนเมืองเชียงรายใช้กล้องจุลทรรศน์กาญจนาดูเซลล์พืช




ภาพที่ 129 ภาพการเผยแพร่แก่ ครูสมบูรณ์ พรมไชย รองผู้อ้านวยการโรงเรียนเมืองเชียงราย
ภาพที่ 130 ภาพครูมารุต ศาสตร์ข้า ครูช้านาญการพิเศษโรงเรียนเมืองเชียงราย ให้ค้าแนะน้าเกี่ยวกับ
           การรายงานผลการใช้กล้องจุลทรรศน์กาญจนา




ภาพที่ 131 ภาพนายประถม เชื้อหมอ รองผู้อ้านวยการส้านักงานเขตพื้นที่การศึกษา เชียงรายเขต 1
            ดูส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์กาญจนาในงานนิทรรศการวันวิชาการโรงเรียนอนุบาล
            ห้วยสัก ต้าบลห้วยสัก
ภาพที่ 132 ภาพนายประถม เชื้อหมอ รองผู้อ้านวยการส้านักงานเขตพื้นที่การศึกษา เชียงรายเขต 1
             ส่องดูเนื้อเยื่อตัวอย่างจากกล้องจุลทรรศน์กาญจนาในงานนิทรรศการวันวิชาการ
             โรงเรียนอนุบาลห้วยสัก
ภาพที่ 133 ภาพนางบุษกร เชื้อสีดา ศึกษานิเทศก์ประจ้าส้านักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงราย เขต 1
           ทดลองหมุนที่ปรับกล้องจุลทรรศน์กาญจนาในงานนิทรรศการวันวิชาการ
           โรงเรียนอนุบาลห้วยสัก
ภาพที่ 134 ภาพคณะผู้บริหารกลุ่มโรงเรียนห้วยสักชมกล้องจุลทรรศน์กาญจนาในงานนิทรรศการ
           วันวิชาการโรงเรียนอนุบาลห้วยสัก
ภาพที่ 135 ภาพนายประเสริฐ กายาไชย นายกองค์การบริหารส่วนต้าบลห้วยสักกล้องส่องดู
           เนื้อเยื่อตัวอย่างจุลทรรศน์กาญจนาในงานนิทรรศการวันวิชาการโรงเรียนอนุบาลห้วยสัก




ภาพที่ 136 ภาพนายชาญชัย มะโนวรรณ์ ก้านันต้าบลห้วยสักส่องดูเนื้อเยื่อตัวอย่างจาก
           กล้องจุลทรรศน์กาญจนาในงานนิทรรศการวันวิชาการโรงเรียนอนุบาลห้วยสัก
ภาพที่ 137 ภาพชุมชนให้ความสนใจกล้องจุลทรรศน์กาญจนาในงานนิทรรศการวันวิชาการ
           โรงเรียนอนุบาลห้วยสัก




ภาพที่ 138 ภาพนักเรียนชั้นประถมศึกษาให้ความสนใจกล้องจุลทรรศน์กาญจนาในงาน
           นิทรรศการวันวิชาการโรงเรียนอนุบาลห้วยสัก
ภาพที่ 139 ข้อคิดเห็นจากผู้ชมนิทรรศการ
ภาพที่ 139 (ต่อ)
ภาพที่ 140 หนังสือตอบรับการเผยแพร่นวัตกรรม
ภาพที่ 140 (ต่อ)
ภาพที่ 140 (ต่อ)
ภาพที่ 140 (ต่อ)
กล้องจุลทรรศน์กาญจนา

More Related Content

What's hot

เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์Wichai Likitponrak
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงพัน พัน
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
บท2 ยีนเเละโครโมโซม
บท2 ยีนเเละโครโมโซมบท2 ยีนเเละโครโมโซม
บท2 ยีนเเละโครโมโซมWichai Likitponrak
 
พลังงานชีวมวล
พลังงานชีวมวลพลังงานชีวมวล
พลังงานชีวมวลPonpirun Homsuwan
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันPreeyapat Lengrabam
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)Thitaree Samphao
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชLi Yu Ling
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารWuttipong Tubkrathok
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากThanyamon Chat.
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอบทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอYaovaree Nornakhum
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์โทโต๊ะ บินไกล
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPinutchaya Nakchumroon
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1dnavaroj
 

What's hot (20)

เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
บท2 ยีนเเละโครโมโซม
บท2 ยีนเเละโครโมโซมบท2 ยีนเเละโครโมโซม
บท2 ยีนเเละโครโมโซม
 
พลังงานชีวมวล
พลังงานชีวมวลพลังงานชีวมวล
พลังงานชีวมวล
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอบทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 

Viewers also liked

แบบทดสอบสังคมศึกษา ป.6
แบบทดสอบสังคมศึกษา ป.6แบบทดสอบสังคมศึกษา ป.6
แบบทดสอบสังคมศึกษา ป.6Uraiwan Srichart
 
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"kasidid20309
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)Mew' Cifer
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 

Viewers also liked (6)

Science project
Science projectScience project
Science project
 
แบบทดสอบสังคมศึกษา ป.6
แบบทดสอบสังคมศึกษา ป.6แบบทดสอบสังคมศึกษา ป.6
แบบทดสอบสังคมศึกษา ป.6
 
สังคมป6
สังคมป6สังคมป6
สังคมป6
 
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 

กล้องจุลทรรศน์กาญจนา