SlideShare a Scribd company logo
1 of 64
Download to read offline
1
บทที่ 1
บทนํา
ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา
ความเข๎าใจผิดทางฟิสิกส์ดาราศาสตร์มีมากมายหลายเรื่อง จากการทบทวนงานวิจัย
ของ Claudine Kavanagh. (2007) พบตัวอยํางความเข๎าใจผิดอาทิ
 แรงโน๎มถํวงต๎องการอากาศ
 วัตถุในวงโคจรมีน้้าหนัก ดังนั้น แรงโน๎มถํวงจึงไมํมีผลตํอวงโคจร
 ดาวเคราะห์ที่ใกล๎ดวงอาทิตย์ หรือมันหมุนตัวเร็วขึ้นในที่ที่มีแรงโน๎มถํวงมาก
 แรงโน๎มถํวง ถูกมองวําสิ้นสุดที่ชั้นบนสุดของชั้นบรรยากาศ
 วัตถุบนดวงจันทร์จะลอยเพราะ ไมํมีอากาศ เนื่องจาก ไมํมีแรงโน๎มถํวงบนดวง
จันทร์
 ไมํมีแรงโน๎มถํวงในสุญญากาศ
 แรงโน๎มถํวงจะลดลงที่ระดับสูงขึ้น เนื่องจากอากาศมีความเบาบาง
 ไมํมีแรงโน๎มถํวงในอวกาศ
ส้าหรับความเข๎าใจผิดที่เราจะศึกษาเป็นเรื่องเกี่ยวกับแรงโน๎มถํวง ผู๎คนสํวนใหญํเข๎าใจ
วํา “ในอวกาศไมํมีแรงโน๎มถํวง เพราะภาพที่นักบินอว กาศพยายามลงไปเหยียบดวงจันทร์แล๎ว
รํางของนักบินอวกาศอยูํในลักษณะดูเหมือนจะลอย” ความเข๎าใจผิดในประเด็นดังกลําวเกิดจาก
สื่อภาพยนตร์ หรือภาพถํายที่เห็นนักบินอวกาศลอยไปมาในอวกาศนอกยานอวกาศ
ปัญหานี้ถือเป็นเนื้อหาพื้นฐานส้าหรับฟิสิกส์ดาราศาสตร์ ใช๎อธิบายปรากฏกา รณ์ทาง
ดาราศาสตร์ตลอดจนอธิบายปรากฏการณ์และพิสูจน์ทฤษฏีทางฟิสิกส์ เชํนแรงดึงดูด และ
ปรากฏการณ์อื่นๆ เป็นต๎น ฉะนั้นจะปลํอยให๎เกิดความเข๎าใจผิดไมํได๎ ผู๎วิจัยเห็นความส้าคัญและ
มีแนวคิดวําจะศึกษาปัญหาความเข๎าใจผิดของนักเรียนไทยโดยเลือกใช๎กลุํมตัวอยํางเป็นนักเรียน
โรงเรียนฟากกว๏านวิทยาคม จะเน๎นปัญหาความเข๎าใจผิด เรื่อง แรงโน๎มถํวง โดยเลือก กลุํม
ตัวอยํางเป็นนักเรียนสายวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์จ้านวน 26 คน และผลิตสื่อการสอน
ส้าหรับแก๎ไข๎ปัญหาดังกลําวตํอไป
2
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพื่อศึกษาความเข๎าใจผิดของนักเรียนเกี่ยวกับเรื่อง แรงโน๎มถํวงกับอากาศ
2. เพื่อน้าผลการศึกษามาวิเคราะห์และพัฒนาเป็นสื่อการสอน ส้าหรับแก๎ปัญหาความ
เข๎าใจผิด
สมมติฐานของการวิจัย
ผลการทดสอบความเข๎าใจของนักเรียนที่เรียนโดยใช๎สื่อการสอนเรื่อง แรงโน๎มถํวง กับ
อากาศ หลังเรียนสูงกวํากํอนเรียน
ขอบเขตของการวิจัย
กลุํมเป้าหมาย หรือประชากร
กลุํมเป้าหมายในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนสายวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
โรงเรียนฟากกว๏านวิทยาคม จ.พะเยา จ้านวน 26 คน เป็นนักเรียนชาย 13 คน นักเรียนหญิง 13
คน ระยะเวลาที่ใช๎ในการวิจัยคือภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 เนื้อหาที่ใช๎ในการวิจัยเป็น
เนื้อหาในกลุํมสาระการเรียนรู๎วิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี 4 หนํวยการเรียนรู๎เรื่อง แรง
โน๎มถํวง
ตัวแปรที่ศึกษา
ตัวแปรต๎น คือ การจัดการเรียนรู๎โดยใช๎สื่อการสอน
ตัวแปรตาม คือ ผลการทดสอบความเข๎าใจวิชา ฟิสิกส์ เรื่องแรงโน๎มถํวง ขอ ง
กลุํมตัวอยําง
ขอบเขตด๎านเนื้อหา
การวิจัยครั้งนี้ใช๎เนื้อหาเรื่อง แรงโน๎มถํวง จาก คูํมือรายวิชาเพิ่มเติม ฟิสิกส์เลํม
1 ม.4-6 กลุํมสาระการเรียนรู๎วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หน๎า 85-90
ระยะเวลาที่ศึกษา
การวิจัยด้าเนินในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 ใช๎เวลาในการศึกษาระหวํางเดือน
ตุลาคม 2557 ถึง เดือนกุมภาพันธ์ 2558
3
นิยามศัพท์เฉพาะ
ฟิสิกส์ดาราศาสตร์ (Astrophysics) หมายถึง ศึกษาฟิสิกส์ของเอกภพ รวมถึงสมบัติทาง
กายภาพ (สภาพสํองสวําง ความหนาแนํน อุณหภูมิ องค์ประกอบทางเคมี ) ของวัตถุทางดารา
ศาสตร์
สื่อการสอน (Instructional Media) หมายถึงสิ่งตําง ๆ ที่ใช๎เป็นเครื่องมือ หรือชํองทาง
ส้าหรับท้าให๎การสอนของครูไปถึงผู๎เรียน และท้าให๎ผู๎เรียนเรียนรู๎ตามจุดประสงค์ หรือ
จุดมุํงหมายที่วางไว๎เป็นอยํางดี สื่อที่ใช๎ในการสอนนี้ อาจจะเป็นวัตถุสิ่ งของที่มีตัวตน หรือไมํมี
ตัวตนก็ได๎ เชํน วัตถุสิ่งของตามธรรมชาติ ปรากฎการณ์ตามธรรมชาติ วัตถุสิ่งของที่คิดประดิษฐ์
หรือสร๎างขึ้นส้าหรับการสอน ค้าพูดทําทาง วัสดุ และเครื่องมือสื่อสาร กิจกรรมหรือ
กระบวนการถํายทอดความรู๎ตํางๆ (ศน.บัว,2552)
ประโยชน์ที่จะได้รับจากการวิจัย
1. ได๎สื่อการสอนเรื่อง แรงโน๎มถํวงกับอากาศ ที่มีประสิทธิภาพ เพื่อใช๎ในการแก๎ไขความ
เข๎าใจผิดในประเด็นดังกลําว
2. เป็นแนวทางในการสร๎างและประยุกต์ใช๎สื่อการสอนในการเรียนการสอนวิชาฟิสิกส์
หรือวิชาวิทยาศาสตร์ในเนื้อหาบทเรียนอื่น ๆ
4
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การวิจัยครั้งนี้ผู๎วิจัยได๎ศึกษาค๎นคว๎าเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข๎องน้ามาเรียบเรียง
เป็นหัวข๎อดังนี้
1. กฎแรงดึงดูดระหวํางมวล
2. สนามแรงโน๎มถํวง
3. ความสัมพันธ์ระหวํางแรงโน๎มถํวงกับอากาศ
4. ชุดทดลอง กระดิ่งไฟฟ้าในสุญญากาศ
5. การเลือกกลุํมตัวอยํางของ Taro Yamane
6. สื่อการสอน
7. วิธีสอน
8. การสร๎างแบบทดสอบ
9. เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข๎อง
1. กฎแรงดึงดูดระหว่างมวล
เราจะพิจารณาแรงโน๎มถํวงซึ่งเป็นแรงดึงดูดระหวํางมวลของวัตถุ 2 ก๎อน ในขั้นแรก
เราจะกลําวถึงกฎของเคปเลอร์กํอน ในศตวรรษที่ 17 [Johannes Kepler] นักดาราศาสตร์ นัก
โหราศาสตร์และนักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน ผู๎มีสํวนส้าคัญในการปฏิวัติวงการวิทยาศาสตร์
เขาค๎นพบกฎการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ ได๎สังเกตปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ และค๎นพบ
กฎการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ 3 ข๎อ
กฎข๎อที่ 1 ดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงรี โดยมีดวงอาทิตย์อยูํที่ต้าแหนํงหนึ่ง
ของจุดโฟกัสของวงรี
5
รูปที่ 2.1 อธิบายวําดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงรี
ที่มา : http://www.rmutphysics.com/charud/specialnews/7/Dynamics/8197.jpg
กฎข๎อที่ 2 เวกเตอร์รัศมีจากดวงอาทิตย์ไปยังดาวเคราะห์นั้น ภายในชํวงเวลาที่เทํากัน
จะกวาดพื้นที่ไปได๎เทํากัน
รูปที่ 2.2 ภาพแสดงพื้นที่สามเหลี่ยม ABF เทํากับพื้นที่ สามเหลี่ยม CDF
ที่ถูกกวาดมาในเวลาที่เทํากัน
ที่มา : http://www.rmutphysics.com/charud/specialnews/7/Dynamics/8198.jpg
กฎข๎อที่ 3 อัตราสํวนระหวํางครึ่งแกนเอก (semi-major axis) ยกก้าลังสาม กับคาบ
การโคจรของดาวเคราะห์ยกก้าลังสอง ของทุกๆดาวเคราะห์มีคําเทํากัน
6
รูปที่ 2.3 ภาพแสดงระยะแกนเอกมีคําเทํากับสองเอก ดังอธิบายได๎ดังสมการ
ที่มา : http://www.rmutphysics.com/charud/specialnews/7/Dynamics/8199.jpg
สมการ a3
/(T)2
= คําคงที่ (1)
โดย a คือ ระยะครึ่งแกนเอก
T คือ คาบการโคจรรอบดวงอาทิตย์ของดาวเคราะห์
กฎแรงดึงดูดระหวํางมวลของนิวตัน
จากการศึกษากฎของเคปเลอร์ นิวตันเสนอทฤษฎีแรงดึงดูดระหวํ างมวล หรือที่
เรียกวํา กฎความโน๎มถํวงสากล (Newton’s law of universal gravitation)
รูปที่ 2.4 มวลสองก๎อนอยูํหํางกันเป็นระยะทาง
ที่มา : http://www.rmutphysics.com/charud/specialnews/7/Dynamics/8202.gif
ให๎ m1 และ m2 เป็นมวลสองก๎อนอยูํหํางกันเป็นระยะทาง ขนาดของแรงดึงดูด
ระหวํางมวลที่กระท้าตํอมวลทั้งสองก๎อนคือ
7
F = Gm1m2/r2
(2)
Sir Henry Cavendish ได๎ท้าการทดลองวัดคําคงที่โน๎มถํวง (gravitational constant) (คํา G)
G = 6.6730×10-11
Nm2
Kg2
2. สนามแรงโน้มถ่วง
เมื่อปลํอยวัตถุ วัตถุจะตกสูํพื้ นโลกเนื่องจากโลกมีสนามโน๎มถํวง (gravitational field)
อยูํรอบโลก สนามโน๎มถํวงท้าให๎เกิดแรงดึงดูดกระท้าตํอมวลของวัตถุทั้งหลาย แรงดึงดูดนี้
เรียกวํา แรงโน๎มถํวง (gravitational force) สนามโน๎มถํวงเขียนแทนด๎วยสัญลักษณ์ g และ
สนามมีทิศพุํงสูํศูนย์กลางของโลกสนามโน๎มถํวง ณ ต้าแหนํงตํางๆบนผิวโลกมีคําประมาณ 9.8
นิวตันตํอกิโลกรัม
ตารางที่ 2.1 ค่าสนามโน้มถ่วงของโลกที่บางตําแหน่งจากผิวโลก
ระยะจากผิวโลก
(km)
สนามโน้มถ่วง
(N/kg)
หมายเหตุ
0 9.80 -
10 9.77 เพดานบินของเครื่องบินโดยสาร
400 8.65 ความสูงของสถานีอวกาศนานาชาติ ยานขนสํงอวกาศ
35700 0.225 ระดับความสูงของดาวเทียมสื่อสารคมนาคม
384000 0.0026 ระยะทางเฉลี่ยระหวํางโลกและดวงจันทร์
ดาวฤกษ์ โลก ดวงจันทร์ ดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ และบริวารของดาวเคราะห์ ให๎ระบบ
สุริยะรวมทั้งสรรพวัตถุทั้งหลายก็มีสนาม โน๎มถํวงรอบตัวเอง โดยสนามโน๎มถํวงเหลํานี้มีคํา
ตํางกันไป
การเคลื่อนที่ของวัตถุในสนามโน้มถ่วง
วัตถุที่อยูํในสนามโน๎มถํวงของโลกจะถูกโลกดึงดูด แรงโน๎มถํวงของโลกจะท้าให๎วัตถุ
เคลื่อนที่เร็วขึ้น นั่นคือวัตถุมีความเรํงเนื่องจากแรงโน๎มถํวงโลก (ทํองโลก Physics,ไมํระบุปีที่
พิมพ์)
8
3. ความสัมพันธ์ระหว่างแรงโน้มถ่วงกับอากาศ
“แรงโน๎มถํวงไมํต๎องการอากาศ แตํอากาศ ถูกแรงโน๎มถํวงดึงดูดไว๎” นั่นคือ ไมํวําจะมี
อากาศ หรือไมํมีอากาศ แรงโน๎มถํวงก็ยังสามารถกระท้าตํอวัตถุได๎อยูํ เพราะ หากไมํมีอากาศ
วัตถุตํางๆก็มีทิศทางการตกพุํงเข๎าหาโลก สํวนอากาศที่ถูกแรงโน๎มถํวงดึงดูดไว๎ นั้นคือ แรงโน๎ม
ถํวงจะดึงดูดโมเลกุลอากาศให๎มีความหนาแนํนมาก
4. ชุดทดลองเรื่อง กระดิ่งไฟฟ้าในสุญญากาศ
นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษได๎ทดลองน้ากระดิ่งไฟฟ้า (Electric bell ) ใสํในภาชนะแก๎ว
ปิด (Bell Jar) แล๎วตํอสายกระดิ่งไฟฟ้ากับแบตเตอรี ให๎กระดิ่งไฟฟ้าท้างาน ขณะเดียวกันก็สูบ
อากาศออก โดยใช๎แวคคูอัมปั๊ม (Vacuum Pump) จะได๎ยินเสียงกระดิ่งไฟฟ้าเบาลงเรื่อยๆจนนก
ระทั่งสูบอากาศออกหมดท้าให๎ภายในครอบแก๎วเป็นสุญญากาศ
จะไมํได๎ยินเสียงกระดิ่งไฟฟ้าเลย
5. การเลือกกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane
การวิจัยทางสังคมศาสตร์จ้าเป็นต๎องอาศัยวิธีวิทยาศาสตร์ในการคัดเลือก
กลุํมเป้าหมายที่จะท้าการศึกษาซึ่งสามารถท้าได๎โดยการอาศัยการสุํมตัวอยําง (Sampling) การ
สุํมตัวอยํางเป็นการคัดเลือกจากประชากรทั้งหมด โดยสุํมตัวอยํางมาเพียงสํวนหนึ่ง เป็นตัวแทน
ของประชากรทั้งหมดเพื่อน้ามาศึกษาองค์ความรู๎ในการสุํมตัวอยําง
5.1 ข๎อมูลประชากร (Population)
ข๎อมูลประชากร (Population) หมายถึง กลุํมเป้าหมายที่ต๎องการศึกษาทั้งหมด ซึ่ง
อาจจะเป็น คน สัตว์ พืช วัตถุ หรือปรากฏการณ์ตํางๆ เชํน ในการศึกษาความรู๎ในการประกอบ
อาชีพด๎านหมํอนไหมของเกษตรกรผู๎ปลูกหมํอนเลี้ยงไหมในเขต ภาคอีสานตอนบน ประชากรใน
ที่นี้คือ เกษตรกร ที่มีภูมิล้าเนาอยูํในเขตจังหวัดตํางๆ ของภาคอีสานตอนบนในการวิจัยเชิง
สังคมศาสตร์ ประชากรแบํงออกได๎ 2 ประเภทดังนี้
1. ประชากรที่มีจ้านวนจ้ากัด (Finite population) หมายถึงประชากรที่มีปริ มาณซึ่ง
สามารถนับออกมาเป็นตัวเลขได๎ครบถ๎วนเชํน ประชากรนิสิต หรือนักศึกษา ของมหาวิทยาลัย
ทุกแหํง ประชากรของเกษตรกรในภาคกลาง ฯลฯ
9
2. ประชากรที่มีจ้านวนไมํจ้ากัด (Infinite population) หมายถึงประชากรที่มีปริมาณซึ่ง
ไมํสามารถนับจ้านวนออกมาเป็นตัวเลขได๎ครบถ๎วน เชํน ประ ชากรเมล็ดถั่วเหลืองที่จ้าหนํายใน
จังหวัดขอนแกํน ฯลฯ
5.2 ขนาดตัวอยําง (Sample size)
ขนาดตัวอยํางต๎องมากพอที่จะเป็นตัวแทนได๎ วิธีการประมาณขนาดตัวอยํางโดยใช๎
สูตรของ TARO YAMANE ดังนี้
n = N/1+Ne2
(3)
เมื่อ n = ขนาดของหนํวยตัวอยํางกลุํมเป้าหมาย
N = ประชากรทั้งหมด
D = ระดับความมีนัยส้าคัญ
5.3 ประเภทและวิธีการสุํมตัวอยําง
ทฤษฎีการสุํมตัวอยําง ได๎แบํงประเภทการสุํมตัวอยํางออกเป็น 2 ประเภทใหญํๆ คือ
1. การสุํมตัวอยํางในเชิงเป็นไปได๎ (Probability sampling) การสุํมตัวอยํางแบบนี้เรา
สามารถก้าหนดได๎วําทุกภาคสํวนของประชากรมีโอกาสได๎รับเลือกเป็นตัวอยํางเทํากัน การสุํม
แบบนี้มีหลายวิธีดังนี้
1.1 การสุํมตัวอยํางแบบงําย (Simple random sampling) หมายถึง การสุํม
ตัวอยํางที่ประชากรทุกภาคสํวนมีโอกาสเทําเทียมกันที่จะได๎รับการคัดเลือกเป็น
ตัวอยํางโดยวิธีการใช๎
(1) ตารางเลขสุํม น้าจ้านวนขนาดตัวอยํางไปสุํมในตารางส้าเร็จรูปที่นักสถิติจัดท้าไว๎
แล๎ว เพียงแตํนักวิจัยก้าหนดหลักที่จะใช๎วํามีกี่หลัก และจะนับไปซ๎ายขวา ขึ้นบน ลงลําง
อยํางไรต๎องก้าหนดไว๎และปฏิบัติอยํางนั้นตลอด สุํมโดยการชี้ตัวเลขเริ่มต๎น เมื่อชี้
ตรงไหนก็บ อกวําเป็นเลขประจ้าตัวของประชากรหรือไมํถ๎าไมํใชํให๎ข๎ามไป ท้าการ
คัดเลือกไปเรื่อยๆ จนได๎ตามจ้านวนที่ต๎องการ
(2) โดยวิธีการจักฉลากโดยการเขียนหมายเลขก้ากับประชากรตัวอยําง แตํละรายการ
กํอนแล๎วจึงจับฉลากขึ้นมา ซึ่งวิธีการจับฉลากอาจใช๎ 2 แบบคือ
ก. ไมํสุํมประชากรที่ถูกสุํมแล๎วขึ้นมาอีก (Simple Random Sampling with out
Replacement) คือหยิบแล๎วเอาออกได๎เลยไมํต๎องใสํกลับลงไปอีก
10
ข. สุํมประชากรที่ถูกสุํมแล๎วขึ้นมาได๎อีก (Sample Random Sampling with
Replacement) คือ หยิบขึ้นมาแล๎วก็ใสํลงไปใหมํเพื่อให๎โอกาสแกํประชากรทุก
หนํวย มีโอกาสถูกเลือกขึ้นมาเทําเดิม
1.2 การสุํมตัวอยํางแบบมีระบบ (Systematic Sampling) การสุํมแบบนี้นักวิจัย
จะต๎องอาศัยบัญชีรายชื่อ เกี่ยวกับประชากรกลุํมเป้าหมาย โดยเลือกตามเลขที่ที่
ก้าหนดไว๎ เชํน ประชากรจ้านวน 1,000 นักวิจัยต๎องการตัวอยํางจ้านวน 100 นักวิจัย
จะต๎องคัดเลือกทุกหนํวยที่ 10 เป็นต๎น
1.3 การสุํมตัวอยํางแบบแบํงชั้น (Stratified Random Sampling) การสุํม
ตัวอยํางแบบนี้ต๎องแยกประเภทของประชากรเป็นกลุํมยํอยหรือชั้นกํอน แล๎วจึงสุํม
ตัวอยํางแยกกันคนและกลุํมโดยวิธี Simple Random Sampling หรือ Systematic
Sampling ก็ได๎ กลุํมยํอยที่มีลักษณะเป็น Homegeneous คือมีลักษณะเหมือนกันภายใน
กลุํมเชํน การแยกประเภทของประชากรตามสถานการณ์เป็นสมาชิกของกลุํมเกษตรกร
1.4 การสุํมตัวอยํางแบบกลุํม (Cluster Sampling) คือการสุํมตัวอยํางประชากร
โดยแบํงประชากรออกเป็นกลุํมๆ ให๎แตํละกลุํมมีความเป็น Heterogeneous กัน คือมี
ความแตกตํางกันภายในกลุํม เชํน การสุํมตัวอยํางโดยการแบํงตามเขตการปกครอง
1.5 การสุํมตัวอยํางในทุกขั้นตอน (Multi Stage Sampling) เชํน ต๎องการจะท้า
การวิจัยโดยการสุํมตัวอยํางประชากร โดยท้าการสุํมจังหวัดที่เป็นตัวอยํางกํอน ตํอไปก็
สุํมอ้าเภอ ต้าบล หมูํบ๎าน และครัวเรือนที่เป็นตัวอยํางตามล้าดับ
2. การสุํมตัวอยํางในเชิงเป็นไปไมํได๎ (Non-probability sampling) คือ การสุํมตัวอยําง
โดยไมํอาจก้าหนดได๎วําทุกสํวนของประชากรมีโอกาสได๎รับการคัดเลือกโดยเทํากัน ซึ่งท้าให๎ไมํ
สามารถจะคาดคะเนหรือค้านวณหาความผิดพลาดใน การสุํมเลือกตัวอยํางได๎ การสุํมแบบนี้มี
หลายวิธีคือ
2.1 การสุํมตัวอยํางแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) เชํน พบใครก็สัมภาษณ์
ตามความพอใจของผู๎วิจัย เชํน สุํมนักทํองเที่ยวที่จะเข๎าประเทศไทยที่สนามบินดอน
เมือง
2.2 การสุํมตัวอยํางโดยวิธีการจัดสรรโควตา (Quota Sampling) การสุํม
ตัวอยํางเหลํานี้ต๎องแบํงกลุํมของประชากรแล๎วจัดสรรโควตาตัวอยํางไปให๎แตํละกลุํม
ตามสัดสํวนของปริมาณประชากรในกลุํมนั้นๆ ที่มีอยูํจากนั้นก็ท้าการสุํมจากแตํละกลุํม
ตามโควตาที่จัดสรร ทั้งนี้เพื่อให๎ได๎ตัวแทนจากกลุํมตํางๆ อยํางเหมาะสม เชํน ชาย 80
คน หญิง 80 คน
11
2.3 การสุํมตัวอยํางแบบเจาะจง (Purposive sampling) โดยจะเลือกศึกษาจาก
ประชากรที่มีลักษณะตรงตามวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาเชํน เกษตรกรที่ปลูกหมํอน บร .
60 เป็นต๎น
2.4 การสุํมตัวอยํางพิจารณาตามความสะดวก (Convenience Sampling) โดย
จะเลือกศึกษากลุํมประชากรที่เห็ นวํางํายตํอการศึกษา เชํน ไมํอยูํในแดนของ
ผู๎กํอการร๎าย หรือเลือกเฉพาะผู๎เป็นสมาชิกของกลุํมทางการเกษตร กลุํมใดกลุํมหนึ่ง
3. ปัจจัยที่ท้าให๎ส้าเร็จในการสุํมตัวอยําง (Key success factor)
1. ฐานข๎อมูล/ประชากรต๎องเป็นปัจจุบัน (update population)
2. วิธีการสุํม ต๎องมีความนําเชื่อถือ (มีแหลํงที่มาอ๎างอิงได๎)
3. ขนาดตัวอยํางต๎องมีการกระจายตัวและครอบคลุมประชากรเพื่อให๎มีความ
คลาดเคลื่อนน๎อยที่สุด
6. สื่อการสอน
6.1 ความหมายของสื่อการเรียนการสอน
สื่อนับเป็นสิ่งที่มีบทบาทส้าคัญอยํางมากในการสอนตั้งแตํในอดีตจนถึงปัจจุ บัน
เนื่องจากเป็นตัวกลางที่ชํวยให๎การสื่อสารระหวํางผู๎สอนและผู๎เรียนด้าเนินไปอยํางมี
ประสิทธิภาพ ชํวยให๎ผู๎เรียนเข๎าใจความหมายของเนื้อหาบทเรียนให๎ตรงกับผู๎สอนต๎องการ ไมํวํา
สื่อนั้นจะอยูํในรูปแบบใดก็ตามล๎วนแตํเป็นทรัพยากรที่สามารถอ้านวยความสะดวกในการ
เรียนรู๎ได๎ทั้งสิ้น และค้าวํา สื่อ (medium, pl. media) เป็นค้ามาจากภาษาลาตินวํา “ระหวําง” สิ่ง
ใดก็ตามที่บรรจุข๎อมูลสารสนเทศหรือเป็นตัวกลางข๎อมูล สํงผํานจากผู๎สํงหรือแหลํงสํงไปยังผู๎รับ
(ไพศาล สุวรรณน๎อย, 2553)
สื่อการสอน หมายถึงสิ่งใดก็ตามไมํวําจะเป็นเทปบันทึกเสียง สไลด์ วิทยุ โทรทัศน์ วีดี
ทัศน์ แผนภูมิ แผํนซีดีส้าเร็จรูป รูปภาพ ฯลฯ ซึ่งเป็นวัสดุบรรจุเนื้อหาเกี่ยวกับการเรียนการสอน
หรือเป็นอุปกรณ์เพื่อถํายทอดเนื้อหาสิ่งเหลํานี้เป็นวัสดุอุปกรณ์ทางกายภาพที่น้ามาใช๎
เทคโนโลยีการศึกษาเป็นสิ่งที่ใช๎เป็นเครื่องมือหรือชํองทางท้าให๎การสอนสํงไปถึงผู๎เรียน สื่อการ
สอนถือวํามีบทบาทมากในการเรียนการสอนตั้งแตํอดีตจนถึงปัจจุบัน เนื่องจากเป็นตัวกลางที่
ชํวยให๎การสื่อระหวํางผู๎สอนและผู๎เรียนด้าเนินการไปได๎อยํางมีประสิทธิภาพ ท้าให๎ผู๎เรียนมี
ความหมายของเนื้อหาบทเรียนได๎ตรงกับที่ผู๎สอนต๎องการเ รียนรู๎ได๎ทั้งสิ้น ในการใช๎สื่อการสอน
12
นั้นผู๎สอนจ้าเป็นต๎องศึกษาถึงลักษณะคุณสมบัติของสื่อแตํละชนิดเพื่อเลือกสื่อให๎ตรงกับ
วัตถุประสงค์การสอนและสามารถจัดประสบการณ์การเรียนรู๎ให๎แกํผู๎เรียนโดยต๎องการวางแผน
อยํางเป็นระบบ (กิดานันท์ มลิทอง, 2553 )
สื่อ คือชํองทางในการติดตํอสื่อสาร สื่อ มีรากศัพท์มาจากภาษาลาติน มีความหมาย
วํา ระหวําง (between) หมายถึง อะไรก็ตามซึ่งท้าการบรรทุกหรือน้าพาข๎อมูลหรือสารสนเทศ
สื่อเป็นสิ่งที่อยูํระหวํางแหลํงก้าเนิดสารกับผู๎รับสาร (ไฮนิคส์ (Heinich ) และคณะ, ไมํระบุปีที่
พิมพ์ )
สื่อ คือตัวน้าสารจากแหลํงก้าเนิดของการสื่อสาร (ซึ่งอาจจะเป็นมนุษย์ หรือวัตถุที่ไมํ
มีชีวิต ) ไปยังผู๎รับสาร (ซึ่งในกรณี ของการเรียนการสอนก็คือ ผู๎เรียน )" (A. J. Romiszowski, ไมํ
ระบุปีที่พิมพ์)
สื่อการสอน " หมายถึง บุคคล วัสดุหรือเหตุการณ์ตําง ๆ ซึ่งท้าให๎นักเรียนได๎ รับ
ความรู๎ ทักษะ ทัศนคติ ครู หนังสือ และสิ่งแวดล๎อมของโรงเรียนจัดเป็นสื่อการสอนทั้งสิ้ น
(เกอร์ลัช และอีลีม, ไมํระบุปีที่พิมพ์)
สื่อการสอน หมายถึง ตัวกลางที่ชํวยน้า และถํายทอดข๎อมูลความรู๎จากครูผู๎สอน หรือ
จากแหลํงความรู๎ไปยังผู๎เรียน เพื่อให๎ผู๎เรียนสามารถบ รรลุถึง วัตถุประสงค์การเรียนที่ตั้งไว๎ (กิ
ดานันท์ มลิทอง, ไมํระบุปีที่พิมพ์)
สื่อการสอน คือวัสดุ (สิ้นเปลือง ) อุปกรณ์ (เครื่องมือที่ใช๎ไมํผุพังงําย ) วิธีการ
(กิจกรรม เกม การทดลอง ฯลฯ) ที่ใช๎สื่อกลางให๎ผู๎สอนสามารถสํง หรือถํายทอดความรู๎ เจตคติ
(อารมณ์ ความรู๎สึก ความสนใจ ทัศนคติ และคํานิยม ) และ ทักษะไปยังผู๎เรียน ได๎อยํางมี
ประสิทธิภาพ (ชัยยงค์ พรหมวงศ์, ไมํระบุปีที่พิมพ์)
สื่อการสอน หมายถึง สิ่งที่ชํวยให๎การเรียนรู๎ ซึ่งครูและนักเรียนเป็นผู๎ใช๎ เพื่อให๎การ
เรียนการสอนมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น (ไชยยศ เรืองสุวรรณ, ไมํระบุปีที่พิมพ์)
13
สื่อการสอน หมายถึง สิ่งตํางๆ ที่ใช๎เป็นเครื่องมือ หรือ ชํองทางส้าหรับท้าให๎การสอน
สํงไปถึงผู๎เรียน ท้าให๎ผู๎เรียนสามารถเกิดการเรียนรู๎ตามวัตถุประสงค์ หรือจุดมุํงหมายที่ผู๎สอน
วาดไว๎ได๎เป็นอยํางดี (เปรื่อง กุมุท, ไมํระบุปีที่พิมพ์)
สื่อการเรียนรู๎ (Media for learning) มาจาภาษาลาตินวํา “Medium” แปลวําระหวําง
(between) หมายถึง สิ่งใดก็ตามที่บรรจุข๎อมูลเพื่อให๎ผู๎สํงและผู๎รับการสื่อสารกันได๎ ตรงตาม
วัตถุประสงค์ เมื่อน้ามาใช๎ในการเรียนการสอนจึงเรียกสื่อการสอน (Instructional Media)
หมายถึงสื่อชนิดใดก็ตาม เชํน เทปบันทึกเสียง ภาพนิ่ง แผนภูมิ หนังสือ วิทยุ โทรทัศน์ สไลด์
เป็นต๎น ที่บรรจุเนื้อหาเกี่ยวกับการเรียนการสอน สิ่งเหลํานี้เป็นวัสดุอุปกรณ์ทางกายภาพที่
น้าเอามาใช๎ในเทคโนโลยีการศึกษา เป็นเครื่องมือที่ผู๎สอนสํงไปถึงผู๎เรียน ท้าให๎ผู๎เรียนเ กิดการ
เรียนรู๎ตามวัตถุประสงค์ หรือจุดมุํงหมาย ที่วางไว๎เป็นอยํางดี (ตานันท์ มลิทอง อ๎างถึงใน
อรนุช ลิมตศิริ(2543หน๎า 79))
สื่อการสอนวิทยาศาสตร์ หมายถึง สิ่งตํางๆทั้งทางกายภาพ และจิตภาพ ที่กํอให๎เกิด
สถานการณ์ ท้าให๎ผู๎เรียนเกิดการเรียนรู๎ เนื้อหาที่เป็นคว ามรู๎ กระบวนการวิทยาศาสตร์ และเจ
คติทางวิทยาศาสตร์ ได๎แกํ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร ของจริงและสัญลักษณ์เป็นต๎น
นอกจากนั้นสื่อการสอนวิทยาศาสตร์ที่น้ามาใช๎ ควรจัดให๎ตํอเนื่อง สอดคล๎องกับวิธีการทาง
วิทยาศาสตร์ และจัดระบบให๎มีประสิทธิภาพตามประเภทของสื่อนั้นๆ (นิคม ทาแดง (2527,หน๎า
78-80))
6.2 ประเภทของสื่อการเรียนการสอน
สื่อการสอนมี 3 ประเภท ดังนี้
1. วัสดุ ได๎แกํ สิ่งสิ้นเปลืองทั้งหลาย เชํน รูปภาพ บัตรค้า แผนภูมิ หนังสือ
แผํนโปรํงใส เป็นต๎น
2. อุปกรณ์ ได๎แกํ บรรดาเครื่องมือทั้งหลาย ทั้งที่เป็นเครื่องมือที่ใช๎รํวมกับวัสดุ
อื่น และสิ่งที่ใช๎ในตัวของมันเอง เชํน เครื่องฉายภาพยนตร์, เครื่องฉายสไลด์, เครื่องฉายภาพ
ข๎ามศีรษะ เป็นต๎น
3. กิจกรรมหรือวิธีการ ได๎แก ํกระบวนการที่จะใช๎ทั้งวัสดุและอุปกรณ์ประกอบ
กัน หรือกระบวนการของมันเองล๎วนๆ ได๎แกํ การสาธิต, กลุํมสัมพันธ์,์ นิทรรศการ, ทัศนศึกษา,
การอภิปราย เป็นต๎น (ชัยยงค์ พรหมวงศ์, ไมํระบุปีที่พิมพ์)
14
สื่อการสอนแบํงเป็นหมวดหมูํดังนี้
1. สิ่งพิมพ์, หนังสือแบบเรียน, หนังสืออุเทศก์, หนังสืออํานประกอบ, นิตยสาร
หรือวารสาร
2. วัสดุกราฟิก, แผนภูมิ, แผนสถิติ, แผนภาพ, โปสเตอร์, การ์ตูน
3. วัสดุและเครื่องฉาย, เครื่องฉายภาพนิ่ง, เครื่องฉายภาพเคลื่อนไหว, เครื่อง
ฉายข๎ามศีรษะ, ฟิล์มสไลด์, ฟิล์มภาพยนตร์, แผํนโปรํงใส
4. วัสดุถํายทอดเสียง, เครื่องเลํนแผํนเสียง, เครื่องบันทึกเสียง, เครื่องรับวิทยุ,
เครื่องรับโทรทัศน์ (Shorse. 1960 : 11)
การจ้าแนกสื่อการสอนตามประสบการณ์
ประสบการณ์ตรงที่เป็นรูปธรรมจะท้าให๎เกิดการเรียนรู๎แตกตํางกับ
ประสบการณ์ที่เป็นนามธรรม ดังนั้นจึงจ้าแนกสื่อการสอนโดยยึดประสบการณ์เป็นหลักเรียง
ตามล้าดับจากประสบการณ์ที่งํายไปยาก 10 ขั้น เรียกวํา กรวยประสบการณ์ (Cone of
Experience)
ขั้นที่ 1 ประสบการณ์ตรง (Direct Experiences) มีความหมายเป็นรูปธรรมมาก
ที่สุดท้าให๎ผู๎เรียนได๎เรียนรู๎จากประสบการณ์จริง เชํน เลํนกีฬา ท้าอาหาร ปลูกพืชผัก หรือเลี้ยง
สัตว์ เป็นต๎น
ขั้นที่ 2 ประสบการณ์รอง (Verbal Symbols) เป็นกรณีที่ประสบการณ์หรือของ
จริงมีข๎อจ้ากัด จ้าเป็นต๎องจ้าลองสิ่งตําง ๆ เหลํานั้นมาศึกษาแทน เชํน หุํนจ้าลอง ของตัวอยําง
การแสดงเหตุการณ์จ้าลองทางดาราศาสตร์
ขั้นที่ 3 ประสบการณ์นาฏการ (Dramaticed Experiences) เป็นประสบการณ์ที่
จัดขึ้นแทนประสบการณ์ตรงหรือเหตุการณ์จริงที่เกิดขึ้นในอดีตหรืออาจเป็นความคิด ความฝัน
สามารถเรียนด๎วยประสบการณ์ตรงหรือประสบการณ์จ้าลองได๎ เชํน การแสดงละคร บทบาท
สมมุติ เป็นต๎น
ขั้นที่ 4 การสาธิต (Demonstration) เป็นการอธิบายข๎อเท็จจริงล้าดับความคิด
หรือกระบวนการเหมาะสมกับเนื้อหาที่ต๎องการความเข๎าใจ ความช้านาญหรือทักษะ เชํน การ
สาธิตการผายปอดการสาธิตการเลํนของครูพละ เป็นต๎น
15
ขั้นที่ 5 การศึกษานอกสถานที่ (Field Trips) เป็นการพาผู๎เรียนไปศึกษาหา
ความรู๎นอกห๎องเรียน โดยมีจุดมุํงหมายที่แนํนอน ประสบการณ์นี้มีความเป็นนามธรรมมากกวํา
การสาธิต เพราะผู๎เรียนแทบไมํได๎มีสํวนในกิจกรรมที่ได๎พบเห็นนั้นเลย
ขั้นที่ 6 นิทรรศการ (Exhibits) เป็นการจัดประสบการณ์ให๎ผู๎เรียนได๎รับด๎วยการ
ดูเป็นสํวนใหญํ อาจจัดแสดงสิ่งตําง ๆ เชํน ของจริง หุํนจ้าลอง วัสดุสาธิต แผนภูมิ ภาพยนตร์
เป็นต๎น
ขั้นที่ 7 โทรทัศน์และภาพยนตร์ (Television and Motion Picture) เป็น
ประสบการณ์ที่เป็นนามธรรมมากกวําการจัดนิทรรศการ เพราะผู๎เรียนเรียนรู๎ได๎ด๎วยการดูภาพ
และฟังเสียงเทํานั้น
ขั้นที่ 8 ภาพนิ่ง วิทยุและการบันทึกเสียง (Still Picture) เป็นประสบการณ์ที่รับรู๎
ได๎ทางใดทางหนึ่งระหวํางการฟังและการพูด ซึ่งนับเป็นนามธรรมมากขึ้น
ขั้นที่ 9 ทัศนสัญลักษณ์ (Visual Symbols) เป็นประสบการร์ที่เป็นนามธรรมมาก
ที่สุด บรรยาย การปราศรัย ค้าโฆษณา ฯลฯ ดังนั้นผู๎เรียนควรมีพื้นฐานเชํนเดียวกับทัศน
สัญลักษณ์นั้น ๆ จะท้าให๎เกิดการเรียนรู๎ได๎อยํางดี
ขั้นที่ 10 วัจนสัญลักษณ์ (Verbal Symbols) ได๎แกํ ค้าพูด ค้าอธิบาย หนังสือ
เอกสาร แผํนปลิว แผํนพับ ที่ใช๎ตัวอักษร ตัวเลข แทนความหมายของสิ่งตําง ๆ นับเป็น
ประสบการณ์ที่เป็นนามธรรมมากที่สุด (Edgar Dale. 1969 : 107)
ทุกสิ่งทุกอยํางไมํวําจะเป็นคนหรือสัตว์ สิ่งของ สถานที่ เหตุกา รณ์ หรือความคิดก็
ตามถือเป็นสื่อการสอนได๎ทั้งสิ้น ขึ้นอยูํกับวําเราเรียนรู๎จากสิ่งนั้นๆหรือน้าสิ่งเหลํานั้นเข๎ามาสูํ
การเรียนรู๎ของเราหรือไมํ สื่อทั้งมวลอาจแยกเป็นประเภทใหญํๆได๎ดังนี้
1. สื่อสิ่งพิมพ์ หมายถึง หนังสือหรือเอกสารสิ่งพิมพ์ตํางๆ ซึ่งได๎แสดงหรือ
จ้าแนกหรือเรียบเรียงสาระความรู๎ตํางๆโดยใช๎ตัวหนังสือ ที่เป็นตัวเขียนหรือตัวพิมพ์ เป็นสื่อเพื่อ
แสดงความหมาย สื่อสิ่งพิมพ์มีหลายประเภทได๎แกํ เอกสาร หนังสือ ต้ารา หนังสือพิมพ์
นิตยสาร วารสาร จุลสาร จดหมาย จดหมายเหตุ บันทึก รายงาน วิทยานิพนธ์ เป็นต๎น
2. สื่อเทคโนโลยี หมายถึง สื่อการสอนที่ได๎ผลิตขึ้นเพื่อใช๎ควบคูํกับเครื่องมือ
โสตทัศนวัสดุ หรือเครื่องมือที่เป็นเทคโนโลยีใหมํๆ สื่อการเรียนรู๎ดังกลําว เชํน แถบบันทึกภาพ
พร๎อมเสียง แถบบันทึกเสียง สไลด์ สื่อคอมพิวเตอร์ชํวยสอน นอกจากนี้สื่อเทคโนโลยี ยังหมาย
รวมถึงกระบวนการตํางๆที่เกี่ยวข๎องกับการน้าเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช๎ในการเรียนการสอน
เชํน การใช๎อินเตอร์เน็ตเพื่อการเรียนการสอน การศึกษาผํานดาวเทียม
16
3. สื่ออื่นๆ นอกจากสิ่งพิมพ์และสื่อเทคโนโลยีแล๎ว ยังมีสื่ออื่นๆที่สํงเสริมการ
เรียนการสอนซึ่งมีความส้าคัญ ไมํยิ่งไปกวําสื่อ 2 ประเภทดังกลําว เพราะสามารถอ้านวย
ประโยชน์แกํท๎องถิ่นที่ขาดแคลนสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อเทคโนโลยี สื่อเหลํานี้อาจแบํงได๎เป็น 4
ประเภทดังนี้
3.1 สื่อบุคคล บุคคลที่มีความรู๎ความสามารถ ความเชี่ยวชาญเฉพาะ
ด๎านซึ่งสามารถถํายทอดสาระความรู๎ แนวคิด เจตคติและวิธีปฏิบัติตนไปสูํบุคคลอื่นสื่อ
บุคคลอาจเป็นบุคคลในระบบ เชํน ผู๎บริหาร ครูผู๎สอน ตัวผู๎เรียน หรืออาจเป็น
บุคคลภายนอก เชํน บุคลากรในท๎องถิ่นที่มีความช้านาญ และเชี่ยวชาญในสาขาอาชีพ
ตํางๆ
3.2 สื่อธรรมชาติและสิ่งแวดล๎อม หมายถึง สิ่งที่เกิดขึ้นเองตาม
ธรรมชาติหรือสภาพที่อยูํรอบตัวผู๎เรียน เชํน พืชผัก ผลไม๎ สัตว์ชนิดตํางๆ ปรากฏการณ์
แผํนดินไหว สภาพดินฟ้าอากาศ ห๎องเรียน ห๎องปฏิบัติการ แหลํงวิทยบริการ หรือแหลํง
เรียนรู๎ ห๎องสมุด ชุมชน สังคม วัฒนธรรม สิ่งเหลํานี้เป็นสื่อที่มีความส้าคัญตํอการ
สํงเสริมการเรียนรู๎ซึ่งครูหาได๎ไมํยาก
3.3 สื่อกิจกรรม/กระบวนการ หมายถึง กิจกรรมหรือกระบวนการที่
ครูและผู๎เรียนก้าหนดขึ้นเพื่อเสริมสร๎างประสบการณ์การเรียนรู๎ ใช๎ในการฝึกทักษะซึ่ง
ต๎องใช๎กระบวนการคิด การปฏิบัติ การเผชิญสถานการณ์ การประยุกต์ความรู๎ของ
ผู๎เรียน เชํน การแสดงละคร บทบาทสมมติ ก ารสาธิต สถานการณ์จ้าลอง การจัด
นิทรรศการ การไปทัศนศึกษานอกสถานที่ การปฏิบัติตามใบงาน ฯลฯ
3.4 สื่อวัสดุ/เครื่องมือและอุปกรณ์ หมายถึง วัสดุที่ประดิษฐ์ขึ้นเพื่อ
ประกอบการเรียนรู๎ เชํน หุํนจ้าลอง แผนภูมิ แผนที่ ตาราง สถิติ กราฟ นอกจากนี้ยัง
รวมถึงสื่อประเภทเครื่องมื อและอุปกรณ์ที่จ้าเป็นต๎องใช๎ในการปฏิบัติงานตํางๆ เชํน
อุปกรณ์ทดลองวิทยาศาสตร์ เครื่องมือวิชาชําง เป็นต๎น
สื่อตํางๆในสถานศึกษาจัดท้าหรือจัดหามาใช๎เพื่อการเรียนรู๎ผู๎เรียนต๎องเชื่อมั่นได๎วําให๎
สาระการเรียนรู๎ที่ถูกต๎อง มีความหมาย และเกี่ยวพันกับการเรียนรู๎อยํางสร๎างสรรค์และมีคุณคํา
ห๎องสมุดหรือศูนย์สื่อเป็นแหลํงการเรียนรู๎ที่ส้าคัญมากที่ผู๎เรียนสามารถเรียนรู๎ได๎ทั้งด๎วยตนเอง
อยํางมีอิสระและอยํางรํวมมือกันและกันระหวํางเพื่อนสถานศึกษาจึงต๎องพัฒนาห๎องสมุดให๎ท้า
หน๎าที่อยํางเต็มที่ ยิ่งกวํานั้นโลกรอบตัวผู๎เรียนสามารถเ ข๎าถึงได๎ด๎วยเทคโนโลยี ก็เป็นเครือขําย
การเรียนรู๎ที่ไมํมีขีดจ้ากัดอีกทั้งยังเพิ่มพูนจนยากจะจ้าได๎ทั่วถึง ผู๎เรียนจึงต๎องได๎รับการชี้แนะ
และฝึกให๎รู๎จักคิดแสวงหาแหลํงข๎อมูลและวิธีการค๎นคว๎าจากแหลํงความรู๎ตํางๆด๎วยตนเองอยําง
17
อิสระ ตลอดจนได๎ฝึกให๎สามารถคิด วิเครา ะห์ เพื่อเลือกสรรข๎อมูลมาใช๎ประโยชน์
(กระทรวงศึกษาธิการ(2545,หน๎า 8-9))
6.3 การใช๎สื่อการเรียนการสอน
การเลือกสื่อการสอนเพื่อน้ามาใช๎ในการเรียนการสอนนั้น ต๎องดูที่วัตถุประสงค์เชิง
พฤติกรรมในการเรียนกํอน เพื่อที่จะได๎ใช๎เป็นแนวทางในการเลือกสื่อให๎ ตรงตาม วัตถุประสงค์
นอกจากนั้นมีวิธีพิจารณาในการเลือกสื่อดังนี้
1. สื่อการสอนนั้นต๎องตรงตามจุดมุํงหมายของการเรียน
2. ต๎องมีเนื้อหาถูกต๎อง ทันสมัย และนําสนใจ
3. เหมาะสมกับวัย ความรู๎ และประสบการณ์ของผู๎เรียน
4. มีความสะดวกในการใช๎งาน รวมถึงการเก็บรักษา
5. มีราคาไมํแพงเกินไป
สรุปวํา การจะเลือกสื่อมาใช๎ในการเรียนการสอนอยํางมีประสิทธิภาพนั้น ผู๎สอน
จะต๎องมีความรู๎ความสามารถและทักษะในเรื่องตําง ๆ ดังนี้
1. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมและจุดมุํงหมายในการเรียนการสอน
2. จุดมุํงหมายในการน้าสื่อมาใช๎ประกอบหรือรํวมในกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อใช๎
ในการน้าบทเรียน ใช๎ในการประกอบค้าอธิบาย ใช๎เพื่อสรุปบทเรียน
3. ต๎องเข๎าใจลักษณะเฉพาะของสื่อแตํละชนิด วํา สามารถเร๎าความสนใจและให๎
ความหมายตํอประสบการณ์การเรียนรู๎แกํผู๎เรียนได๎อยํางไรบ๎าง
4. ต๎องมีความรู๎เกี่ยวกับแหลํงของสื่อการเรียนการสอน ซึ่ งสื่อบางอยํางผลิตเองจะ
คุ๎มคําหรือไมํ หรืออาจหายืมได๎ที่ไหนบ๎าง (กิดานันท์ มลิทอง, 2543)
การเลือกสื่อการสอน
1. ควรใช๎สื่อการสอนได๎อยํางคลํองแคลํว โดยต๎องฝึกการใช๎กํอนใช๎จริงในชั้นเรียน
2. ควรแสดงสื่อการสอนให๎เห็นได๎ชัดเจนทั่วทั้งห๎อง เชํน การยกแบบจาลองให๎ผู๎เรียนดู
ควรยกให๎สูงในระดับอกของผู๎สอน และผู๎สอนควรยืนอยูํด๎านหน๎าห๎องเรียนโดยพยายามยืนชิด
กระดานดาให๎มากที่สุด โดยเฉพาะห๎องที่มีชํองวํางเล็กน๎อยระหวํางที่นั่งของผู๎เรียนกับกระดาน
ดาเพื่อชํวยให๎ผู๎เรียนที่นั่งหน๎าสุดสามารถมองเห็นได๎
18
3. ควรหาที่ตั้งวางหรือแขวนสื่อการสอนที่มีขนาดใหญํและมีน๎าหนักมาก เชํน แผนภูมิ
แผนที่ หุํนจาลองเซลล์พืช-เซลล์สัตว์ เขื่อนจาลอง ฯลฯ ในจุดที่จะทาให๎ผู๎เรียนเห็นได๎ชัดเจนทั่ว
ทั้งห๎อง ไมํควรยืนถือแล๎วอธิบายเพราะจะทาให๎ผู๎สอนไมํคลํองแคลํวเทําที่ควร และอาจทาให๎
ผู๎เรียนเห็นสื่อนั้นไมํชัดเจน เนื่องจากระหวํางที่ผู๎สอนอธิบายมักมีทําทางเคลื่อนไหวไปมา
4. ควรใช๎ไม๎ยาวและมีปลายเรียวมน หรือใช๎แสงจากปากกาเลเซอร์ชี้แผนภูมิ แผนที่
กระดานดา แทนการใช๎นิ้วมือ โดยผู๎สอนควรยืนชิดไปด๎านใดด๎านหนึ่งเพื่อมิให๎บังสายตาของ
ผู๎เรียนจากสํวนใดสํวนหนึ่งของสื่อการสอนนั้น
5. ควรนาสื่อการสอนมาวางเรียงไว๎เป็นลาดับที่หน๎าชั้นเรียนกํอนถึงเวลาจัดกิจกรรม
การเรียนรู๎ เพื่อสะดวกในการหยิบใช๎ เชํน การใช๎รูปภาพหรือแผํนใส ภาพใดแผํนใดใช๎กํอนควร
เรียงไว๎ข๎างบน และควรจัดวางในลักษณะที่จะไมํหันเหความสนใจของผู๎เรียนเมื่อยังไมํถึงเวลาใช๎
เชํน ควรวางภาพควําหน๎าลง หรือหุํนจาลองที่ยังไมํใช๎ก็ควรใสํกลํองไว๎กํอน เป็นต๎น
6. ควรเลือกใช๎เครื่องมือประกอบการใช๎สื่อการสอนให๎เหมาะสม เชํน ถ๎าต๎องการจะ
ติดแผนภูมิภาพ แผนที่ ฯลฯ บนกระดานนิเทศ ควรใช๎หมุดติด แตํถ๎าจาเป็นต๎องติดบนกระดาน
ดาก็ไมํควรใช๎หมุด ควรใช๎ดินน๎ามันหรือเทปกาวแทน และควรตัดเทปกาวเป็นชิ้นๆโดยติดปลาย
ข๎างหนึ่งไว๎กับแผนภูมิให๎ครบทุกมุมเสียกํอน เมื่อจะใช๎ก็สามารถติดกระดานดาได๎เลย หรือตัด
เทปกาวเป็นชิ้นๆตามขนาดที่ต๎องการเตรียมไว๎กํอนจะได๎ไมํเสียเวลาในขณะใช๎จริง
7. ในบางกรณีควรมีการเตรียมความพร๎อมของผู๎เรียนลํวงหน๎ากํอนการใช๎สื่อการสอน
เชํน ในการทดลองทางวิทยาศาสตร์ที่ต๎องการให๎มีการสังเกตผล ผู๎สอนควรแจ๎งให๎ผู๎เรียนทราบ
เสียกํอนวําต๎องการให๎ผู๎เรียนสังเกตเรื่องใด ตอนใด เพื่อให๎ผู๎เรียนสามารถทาตามความประสงค์
ของผู๎สอนได๎
8. ควรใช๎สื่อการสอนให๎คุ๎มคํากับเ วลาที่ใช๎ไปในการเตรียมและใช๎อยํางทะนุถนอม ใช๎
ให๎เป็นประโยชน์มากที่สุด เชํน ได๎ใช๎แผํนใสแสดงระบบขับถํายของคน ในขั้นการสอนแล๎ว ครู
อาจใช๎แผํนใสนั้นซ๎าอีกครั้งในขั้นสรุป แตํต๎องมีวิธีใช๎ที่แตกตํางกัน ขั้นการสอนครูใช๎แผํนใสชํวย
อธิบายเนื้อหาสาระ จึงควรให๎ผู๎เรีย นได๎เห็นคาอธิบายประกอบแผํนใสนั้น ได๎แกํ ไต ตํอมหมวก
ไต ทํอไต กระเพาะปัสสาวะ เส๎นเลือดเข๎าไต ฯลฯ แตํถ๎าใช๎ในขั้นสรุป ผู๎สอนควรใช๎กระดาษแผํน
เล็กๆปิดคาอธิบายนั้นเมื่อตั้งคาถามผู๎เรียนในแตํละสํวน เพื่อจะได๎วัดผลการเรียนในชั่วโมงนั้น
ด๎วย การใช๎สื่อการสอนเชํนนี้นอกจากจะทาให๎ประหยัดแรงงานในการทาสื่อแล๎วยังใช๎ประโยชน์
ได๎เต็มที่ บรรลุผลการเรียนรู๎ที่คาดหวังในแตํละขั้นตอนของกิจกรรมการเรียนรู๎ด๎วย
19
9. พยายามเปิดโอกาสให๎ผู๎เรียนได๎มีกิจกรรมรํวมหรือได๎ศึกษาสื่อการสอนนั้นๆด๎วย
ตนเอง เชํน การให๎ผู๎เรียนอธิบายภาพในแผํนใส หรือ อธิบายสํวนประกอบตํางๆในหุํนจาลอง
เป็นต๎น
10. ควรฝึกให๎ผู๎เรียนเกิดระเบียบในการใช๎สื่อการสอน เชํน ในโอกาสที่ต๎องการแจกสื่อ
การสอนไปตามโต๏ะของผู๎เรียน เพื่อทาการทดสอบ ผู๎สอนควรสํงสื่อทั้งหมดให๎กับผู๎เรียนที่นั่งอยูํ
ด๎านหน๎าหยิบสํวนของตนไว๎แล๎วสํงที่เหลือให๎คนตํอไป หรือในโอกาสที่ต๎องการให๎ผู๎เรียนมาใช๎สื่อ
การสอนหน๎าชั้นเรียนควรฝึกให๎ผู๎เรียนหันหน๎าเข๎าหา ชั้นเรียน และไมํยืนบังสายตาของเพื่อนจาก
สื่อการสอนตํางๆที่ใช๎
11. ควรคานึงถึงความปลอดภัย การใช๎สื่อบางชนิด โดยเฉพาะในกรณีที่จาเป็นให๎ผู๎เรียน
ใช๎เองก็ควรกาชับผู๎เรียนให๎ระมัดระวังในการใช๎เป็นพิเศษ เชํน ไมํควรวางก๎านไม๎ขีดที่จุดแล๎วทิ้ง
ไว๎บนโต๏ะ ซึ่งอาจทาให๎โต๏ะเป็นรอยไหม๎และอาจเกิดอุบัติเหตุขึ้นได๎ ควรมีฝาโลหะหรือจานแก๎ว
หรือกระป๋องทรายสาหรับรองรับ (ชาตรี เกิดธรรม, การเลือกสื่อการสอนวิทยาศาสตร์.
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ วันที่สืบค๎น 12
ธันวาคม 2558 )
7. วิธีสอน
7.1 วิธีการสอนได๎จ้าแนกไว๎ 14 วิธี (ทัศนา แขมมณี)
1. วิธีสอนโดยใช๎การบรรยาย (Lecture)
2. วิธีสอนโดยใช๎การสาธิต (Demonstration)
3. วิธีสอนโดยใช๎การทดลอง (Experiment)
4. วิธีสอนโดยใช๎การนิรมัย (Deduction)
5. วิธีสอนโดยใช๎การอุปนัย (Induction)
6. วิธีสอนโดยใช๎การไปทัศนศึกษา (Field Trip)
7. วิธีสอนโดยใช๎การอภิปรายกลุํมยํอย (Small Group Discussion)
8. วิธีสอนโดยใช๎การแสดงละคร (Dramatization)
9. วิธีสอนโดยใช๎การแสดงบทบาทสมมุติ (Role Playing)
10. วิธีสอนโดยใช๎กรณีตัวอยําง (Case)
11. วิธีสอนโดยใช๎เกม (Game)
12. วิธีสอนโดยใช๎สถานการณ์จ้าลอง (Simulation)
13. วิธีสอนโดยใช๎ศูนย์การเรียน (Learning Center)
20
14. วิธีสอนโดยใช๎บทเรียนแบบโปรแกรม (Programmed Intruction)
ผู๎วิจัยได๎ศึกษาวิธีการสอ นโดยใช๎การสาธิต (Demonstration) วิธีสอนแบบสาธิต
หมายถึง การที่ครูหรือนักเรียนคนใดคนหนึ่ง แสดงบางสิ่งบางอยํางให๎นักเรียนดู หรือให๎
เพื่อนๆดู อาจเป็นการแสดงการใช๎เครื่องมือแสดงให๎เห็นกระบวนการวิธีการ กลวิธีหรือการ
ทดลองที่มีอันตราย ซึ่งไมํเหมาะที่จะให๎นักเรียนท้าการทดลอง การสอนวิธีนี้ชํวยให๎นักเรียนเกิด
ความรู๎ความเข๎าใจและสามารถท้าในสิ่งนั้นได๎ถูกต๎อง และยังเป็นการสอนให๎นักเรียนได๎ใช๎ทักษะ
ในการสังเกต และถือวําเป็นการได๎ประสบการณ์ตรงวิธีหนึ่ง วิธีสอนแบบสาธิต จึงเป็นการสอน
ที่ยึดผู๎สอนเป็นศูนย์กลาง เพราะผู๎สอนเป็นผู๎วางแผน ด้าเนินการ และลงมือปฏิบัติ ผู๎เรียนอาจมี
สํวนรํวมบ๎างเล็กน๎อย วิธีสอนแบบนี้จึงเหมาะส้าหรับ จุดประสงค์การสอนที่ต๎องการให๎ผู๎เรียน
เห็นขั้นตอนการปฏิบัติ เชํน วิชาพลศึกษา ศิลปศึกษา อุตสาหกรรมศิลป์ วิชาในกลุํมการงาน
และพื้นฐานอาชีพ เป็นต๎น
7.2 ความมุํงหมาย
เพื่อแสดงให๎ผู๎เรียนได๎เห็นขั้นตอนการปฏิบัติตํางๆ ซึ่งจะชํวยให๎ผู๎เรียนเกิดความเข๎าใจ
ได๎อยํางแจํมแจ๎ง และสามารถปฏิบัติตามได๎
7.3 เมื่อใดจึงจะใช๎การสอนแบบสาธิต
1. เมื่อน้าเข๎าสูํบทเรียน ผู๎สอนสาธิตให๎ผู๎ดูเพื่อให๎ผู๎เรียนตั้งปัญหาและเกิดความอยากรู๎
อยากเห็น อยากค๎นหาค้าตอบตํอไป
2. เพื่อสร๎างปัญหาให๎ผู๎เรียนคิด
3. เพื่อต๎องการสร๎างความเข๎าใจในความคิดรวบยอด ความจริงหลักทฤษฎี โดย
นักเรียนสามารถมองเห็นโดยตรง
4. เมื่ออธิบายเครื่องมือวิทยาศาสตร์สํวนไหนท้าหน๎าที่อะไร
5. เมื่อเครื่องมือที่จะท้าการทดลองมีราคาแพง หรือเกิดอันตรายได๎งําย
6. ควรค้านึงถึงฤดูกาล
7.4 โอกาศในการใช๎
เพื่อกระตุ๎นความสนใจของนักเรียนให๎มีความสนใจในบทเรียนชํวยอธิบายเนื้อหาวิชาที่
ยาก ต๎องใช๎เวลานานให๎เข๎าใจงํายขึ้นและประหยัดเวลาเพื่อแสดงวิธีการหรือกลไกวิธีในการ
21
ปฏิบัติงานซึ่งไมํสามารถอธิบายได๎ด๎วยค้าพูด เชํน การท้ากิจกรรม วิชาศิลปะ หัตถกรรม งาน
ประดิษฐ์ นาฏศิลป์เพื่อชํวยสรุปบทเรียน เพื่อใช๎ทบทวนบทเรียน เพื่อสร๎างความเข๎าใจ
ความคิดรวบยอด ความจริง หลักทฤษฎี โดยนักเรียนมองเห็นได๎โดยตรง เพื่อทดสอบหรือ
ยืนยันการสังเกตในครั้งกํอนๆ วําผลเหมือนเดิมหรือไมํ
7.5 ประเภทของการสาธิต
แบบที่ 1
1. สาธิตให๎ดูทั้งชั้น การสาธิตให๎ดูทั้งชั้นผู๎สอนจะต๎องระวังให๎ทุกคนมองเห็นและเข๎าใจ
การสาธิตในแตํละครั้ง อยํางไรก็ตามการสาธิตให๎ดูทั้งชั้นยํอมมีผู๎เรียนบางคนไมํเข๎าใจดีพอ
เนื่องจากบางคนมีพื้นความรู๎หรือประสบการณ์แตกตํางกัน
2. การสาธิตให๎ดูเป็นกลุํมหรือเป็นหมูํ เมื่อมีผู๎เรียนจ้านวนหนึ่ง เรียนไมํเข๎าใจดีพอ
จึงจ้าเป็นต๎องสาธิตให๎ดูใหมํเป็นกลุํมเล็ก ในแตํละชั้นเรียนอาจมีผู๎เรียนได๎เร็วมาก ปานกลาง
หรือช๎าไปบ๎าง การสาธิตให๎ดูเป็นหมูํ เฉพาะที่มีความรู๎ไลํเลี่ยกั นจะเป็นแรงจูงใจให๎ผู๎เรียนแตํละ
หมูํท้างานอยํางเต็มความสามารถของตน
3. การสาธิตให๎ดูเป็นรายบุคคล เมื่อผู๎สอนสาธิตให๎ดูเป็นหมูํ เป็นกลุํมแตํผู๎เรียนบาง
คนไมํอาจจะเข๎าใจการสาธิตทั้งชั้นหรือเป็นกลุํมได๎ หรือผู๎เรียนบางคนไมํได๎เข๎ารํวม ผู๎สอนจึง
ต๎องสาธิตให๎ดูเป็นรายบุคคล
แบบที่ 2
1. ครูแสดงการสาธิตคนเดียว ( Teacher- Demonstration)
2. ครูและนักเรียนชํวยกันแสดงสาธิต (Teacher-Student- Demonstration )
3. กลุํมนักเรียนล๎วนเป็นผู๎สาธิต (Student Group Demonstration )
4. นักเรียนคนเดียวเป็นผู๎สาธิต (Individual Student Demonstration )
5. วิทยากรเป็นผู๎สาธิต ( Guest Demonstration )
8. การสร้างแบบทดสอบ
การวิจัยครั้งนี้ผู๎วิจัยใช๎แบบทดสอบแบบอัตนัย เป็นแบบทดสอบที่ประกอบด๎วย
ค้าถามที่มีจ้านวนข๎อไมํมากนัก ไมํมีค้าตอบให๎เลือกตอบ ผู๎ตอบจะต๎องคิดหาค้าตอบเองโดย
บูรณาการความรู๎และความคิดแล๎วแสดงออกเป็นภาษาเขียนอยํางถูกต๎องและสมเหตุสมผลตาม
หลักวิชาโดยมีขั้นตอนดังนี้
22
1. วางแผนการสร๎างข๎อสอบตั้งวัตถุประสงค์ของการสร๎างข๎อสอบอัตนัยวํามุํงวัด
พฤติกรรมด๎านใด
2. ขั้นการสร๎างแบบทดสอบจะเน๎นค้าตอบสั้น ๆ เน๎นค้าตอบที่มีขอบเขตจ้ากัด
3. ขั้นคัดเลือกแบบทดสอบ จะเลือกแบบทดสอบตามจ้านวนข๎อที่ต๎องการ พร๎อมทั้ง
พิจารณาวําจ้านวนข๎อที่คัดเลือกให๎เหมาะสมกับระยะเวลาในการสอบ
4. การให๎คะแนน ผู๎วิจัยจะ วิเคราะห์เป็นสํวน ๆ เป็นวิธีการตรวจให๎คะแนนโดยการ
เปรียบเทียบค้าตอบกับค้าเฉลย
9. เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
Claudine Kavanagh. (2007). Learning about Gravity II. Trajectories and Orbits: A Guide for
Teachers and Curriculum Developers. Astronomy Education Review, 5(2).
23
บทที่ 3
วิธีดําเนินการวิจัย
การวิจัยครั้งนี้จัดท้าขึ้นเพื่อศึกษาความเข๎าใจผิดของกลุํมตัวอยํางในเรื่อง ความเข๎าใจ
ผิดทางแนวคิดพื้นฐานในเนื้อหาสาระเกี่ยวกับแรงโน๎มถํวงโดยมีขั้นตอนดังตํอไปนี้
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สายวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ โรงเรียนฟากกว๏าน
วิทยาคม จังหวัดพะเยา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 จ้านวน 26 คน เป็นนักเรียนชาย 13
คน นักเรียนหญิง 13 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช๎ในการศึกษาค๎นคว๎าประกอบด๎วย
1. แผนการสาธิตกิจกรรมเรื่อง แรงโน๎มถํวงกับอากาศ
จากที่ได๎ศึกษาเนื้อหาเรื่อง แรงโน๎มถํวง ผู๎วิจัยได๎วางแผนกิจกรรมการสาธิต โดย
การสาธิตประกอบด๎วย แบบส้ารวจกํอนเรียนและหลังเรียน สื่อการสอนชุดทดลองเรื่อง กระดิ่ง
ไฟฟ้าในสุญญากาศ และเอกสารประกอบการสาธิต
2. แรงโน๎มถํวง ซึ่งเป็นข๎อสอบแบบอัตนัย จ้านวน 6 ข๎อ
2.1 จากการศึกษาเนื้อหาเรื่องแรงโน๎มถํวง ผู๎วิจัยได๎ออกแบบ แบบส้ารวจกํอนเรียน
และหลังเรียน โดยแบบส้าร วจกํอนเรียนและหลังเรียนเป็นแบบส้ารวจอัตนัย มีประเด็นค้าถาม
ใกล๎เคียงกัน
2.2 น้าแบบส้ารวจที่ผู๎วิจัยออกแบบให๎อาจารย์ที่ปรึกษาตรวจสอบความถูกต๎อง
และเสนอแนะ
2.3 ผู๎วิจัยน้าสิ่งที่อาจารย์ที่ปรึกษาเสนอแนะมาปรับปรุงแก๎ไข และสํงให๎อาจารย์ที่
ปรึกษาตรวจอีกครั้ง
3. สื่อที่ใช๎ในการสาธิต ชุดทดลองเรื่อง กระดิ่งไฟฟ้าในสุญญากาศ
24
3.1 ศึกษาเอกสารตํางๆ เกี่ยวกับ เรื่องแรงโน๎มถํวง และตัวอยํางสื่อการสอนจาก
แหลํงตํางๆ
3.2 น้าสิ่งที่ได๎ศึกษามาออกแบบเป็นเป็นสื่อการสอน มีอุปกรณ์ดังนี้
3.2.1 ชุดการทดลองส้าเร็จรูป เรื่อง กระดิ่งไฟฟ้าในสุญญากาศ
3.2.2 มวลแขวนสปริง
3.2.3 สเกลไม๎บรรทัด
รูปที่ 3.1 สื่อการสอน (ชุดการทดลองกระดิ่งไฟฟ้าในสุญญากาศ)
การดําเนินงานวิจัย
การด้าเนินงานวิจัยในครั้งนี้ผู๎วิจัยได๎ทบทวนงานวิจัยและมีการวางแผนการด้าเนินงาน
มีขั้นตอนดังนี้
1. การทบทวนงานวิจัยในประเด็ นการเรียนการสอนของประเทศไทยและตํางประเทศ
ท้าให๎ผู๎วิจัยเกิดความสนใจที่จะน้าความรู๎จากการทบทวนงานวิจัยมาประยุกต์ใช๎ศึกษากับ
นักเรียนไทยวํา มีความเข๎าใจผิดในเนื้อหาวิชาฟิสิกส์พื้นฐานเรื่อง แรงโน๎มถํวงหรือไมํ
25
2. การวางแผนงานคือ ผู๎วิจัยจะใช๎แบบ ส้ารวจความเข๎า ใจของนั กเรียนกํอน วํามี
ปัญหาความเข๎าใจผิดเกี่ยวกับเรื่องแรงโน๎มถํวงหรือไมํ หลังจากนั้นจะ ประดิษฐ์ สื่อการสอน
ส้าหรับการแก๎ปัญหาความเข๎าใจผิดนั้น และผู๎วิจัยจะใช๎แบบส้ารวจความเข๎าใจกับผู๎เรียนอีกครั้ง
เพื่อวิเคราะห์ผลวําการสอนโดยใช๎สื่อจะชํวยให๎ผู๎เรียนเข๎าใจขึ้นหรือไมํ
3. การออกแบบผู๎วิจัยจะใช๎ แบบส้ารวจความเข๎าใจกํอนเรียน- หลังเรียน ใช๎การตอบ
ค้าถามแบบอัตนัยจ้านวน 6 ข๎อ โดยการตั้งค้าถามเพื่อการส้ารวจนั้นอยูํ ในการดูแลของครูที่
ปรึกษา รวมถึงการออกแบบสื่อการสอนส้าหรับ แก๎ปัญหาความเข๎าใจผิดดังกลําวก็อยูํในการ
ดูแลของครูที่ปรึกษาเชํนกัน
4. การเลือกกลุํมตัวอยําง ผู๎วิจัยใช๎กลุํมตัวอยํางเป็นนักเรียนสายวิทยาศาสตร์ –
คณิตศาสตร์ โรงเรียนฟากกว๏านวิทยาคม โดยใช๎สูตรการเลือกกลุํมตัวอยํางของTARO YAMANE
ใช๎ความเชื่อมั่นที่ 85% ได๎ขนาดของหนํวยตัวอยํางกลุํมเป้าหมาย จ้านวน 26 คน จากประชากร
ทั้งหมด 60 คน
5. การวิเคราะห์ผล
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข๎อมูลในครั้งนี้ผู๎วิจัยท้าการเก็บรวบรวมข๎อมูลด๎วยตนเอง ซึ่งมี
ขั้นตอนดังนี้
1. ท้าหนังสือขอความอนุเคราะห์ผู๎บริหารโรงเรียนฟากกว๏านวิทยาคม เพื่อขอกลุํม
ตัวอยําง
2. ใช๎แบบส้ารวจความเข๎าใจผิดกํอนเรียนเรื่อง แรงโน๎มถํวง กับผู๎เรียนกํอนใช๎เวลา 20
นาที
3. สาธิตกิจกรรมโดยสื่อการสอนชุด กระดิ่งไฟฟ้าในสุญญากาศ ใช๎เวลา 30 นาที
4. ใช๎แบบส้ารวจความเข๎าใจผิดหลังเรียนเรื่อง แรงโน๎มถํวง กับผู๎เรียนอีกครั้ง ใช๎เวลา
20 นาที
5. วิเคราะห์ผล วํานักเรียนมีความที่ถูกต๎องเพิ่มมากขึ้นหรือไมํ
6. สรุปผลการการวิจัยตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
26
การวิเคราะห์ข้อมูล
ค้าถามเป็นการวัดความเข๎าใจ จึงใช๎การวิเคราะห์ข๎อมูลเชิงคุณภาพ เป็นการวิเคราะห์
แนวโน๎มของค้าตอบของค้าถามที่วัดความเข๎าใจตามวัตถุประสงค์จากแบบส้ารวจกํอนเรียนกับ
หลังเรียนมาใช๎ในเปรียบเทียบวํามีแนวโน๎มไปในทิศทางใด
27
บทที่ 4
ผลการวิจัย
ผู๎วิจัยได๎น้าข๎อมูลตัวอยํางที่เก็บรวบรวมมาได๎จ้านวน 26 ชุดที่มาท้า การวิเคราะห์
ด๎วยวิธีการทางสถิติ (ร๎อยละ) โดยจะน้าเสนอผลการ วิเคราะห์กํอนเรียนและหลังเรียน
ดังตํอไปนี้
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
1. สรุปความเข๎าใจกํอนเรียนและหลังเรียนของกลุํมตัวอยําง
2. แนวการตอบค้าถามกํอนเรียนและหลังเรียนของกลุํมตัวอยําง
3. สรุปผลการเปรียบเทียบการตอบค้าถามกํอนเรียนและหลังเรียน ของกลุํมตัวอยําง
สรุปความเข้าใจก่อนเรียนและหลังเรียนของกลุ่มตัวอย่าง (ข้อที่ 1 )
รูปที่ 4.1 สรุปความเข๎าใจกํอนเรียนและหลังเรียนของกลุํมตัวอยําง (ข๎อที่ 1)
ตารางที่ 4.1 แนวการตอบคําถามก่อนเรียนของกลุ่มตัวอย่าง (ข้อที่ 1)
คําถามที่ 1 ถ๎าไมํมีอากาศจะมีแรงโน๎มถํวงหรือไมํ เพราะเหตุใด
ถูก/ผิด แนวคําตอบ
ถูก [11] - เพราะมันไมํเกี่ยวข๎องกัน [6]
- เพราะแรงโน๎มถํวงออกมาจากใจกลางโลก
กํอนเรียน หลังเรียน
ส่วนเนื้อหา  Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา  Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา  Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา  Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา  Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา  Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา  Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา  Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา  Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา  Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา  Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา  Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา  Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา  Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา  Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา  Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา  Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา  Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา  Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา  Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา  Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา  Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา  Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา  Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา  Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา  Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา  Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา  Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา  Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา  Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา  Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา  Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา  Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา  Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา  Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา  Report end_arunwan
ส่วนเนื้อหา  Report end_arunwan

More Related Content

What's hot

ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra1111
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติ
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติ
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติsoysuwanyuennan
 
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพ
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพโลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพMoukung'z Cazino
 
มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวง
มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวงมหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวง
มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวงmayuree_jino
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลMiewz Tmioewr
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะTa Lattapol
 
ความหมายของดาวฤกษ์
ความหมายของดาวฤกษ์ความหมายของดาวฤกษ์
ความหมายของดาวฤกษ์Noknun Luesat
 

What's hot (9)

ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
42101 3
42101 342101 3
42101 3
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติ
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติ
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติ
 
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพ
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพโลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพ
 
มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวง
มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวงมหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวง
มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวง
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
ดาราศาสตร
ดาราศาสตร ดาราศาสตร
ดาราศาสตร
 
ความหมายของดาวฤกษ์
ความหมายของดาวฤกษ์ความหมายของดาวฤกษ์
ความหมายของดาวฤกษ์
 

Viewers also liked

ส่วนหน้า ความเข้าใจผิดทางแนวคิดพื้นฐานในเนื้อหาสาระเกี่ยวกับแรงโน้มถ่วง
ส่วนหน้า ความเข้าใจผิดทางแนวคิดพื้นฐานในเนื้อหาสาระเกี่ยวกับแรงโน้มถ่วงส่วนหน้า ความเข้าใจผิดทางแนวคิดพื้นฐานในเนื้อหาสาระเกี่ยวกับแรงโน้มถ่วง
ส่วนหน้า ความเข้าใจผิดทางแนวคิดพื้นฐานในเนื้อหาสาระเกี่ยวกับแรงโน้มถ่วงArunwan Permlap
 
บทที่2เสร็จ
บทที่2เสร็จบทที่2เสร็จ
บทที่2เสร็จAnnop Phetchakhong
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555ครู กรุณา
 
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายเฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายkrurutsamee
 
สูตรสถิติ
สูตรสถิติสูตรสถิติ
สูตรสถิติTaew Nantawan
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลkrurutsamee
 

Viewers also liked (7)

ส่วนหน้า ความเข้าใจผิดทางแนวคิดพื้นฐานในเนื้อหาสาระเกี่ยวกับแรงโน้มถ่วง
ส่วนหน้า ความเข้าใจผิดทางแนวคิดพื้นฐานในเนื้อหาสาระเกี่ยวกับแรงโน้มถ่วงส่วนหน้า ความเข้าใจผิดทางแนวคิดพื้นฐานในเนื้อหาสาระเกี่ยวกับแรงโน้มถ่วง
ส่วนหน้า ความเข้าใจผิดทางแนวคิดพื้นฐานในเนื้อหาสาระเกี่ยวกับแรงโน้มถ่วง
 
บทที่2เสร็จ
บทที่2เสร็จบทที่2เสร็จ
บทที่2เสร็จ
 
การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)
การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)
การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555
 
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายเฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
 
สูตรสถิติ
สูตรสถิติสูตรสถิติ
สูตรสถิติ
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 

Similar to ส่วนเนื้อหา Report end_arunwan

Similar to ส่วนเนื้อหา Report end_arunwan (6)

ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
Contentastrounit5
Contentastrounit5Contentastrounit5
Contentastrounit5
 
Solar system
Solar systemSolar system
Solar system
 
ข่าวสุริยะ
ข่าวสุริยะข่าวสุริยะ
ข่าวสุริยะ
 

ส่วนเนื้อหา Report end_arunwan

  • 1. 1 บทที่ 1 บทนํา ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา ความเข๎าใจผิดทางฟิสิกส์ดาราศาสตร์มีมากมายหลายเรื่อง จากการทบทวนงานวิจัย ของ Claudine Kavanagh. (2007) พบตัวอยํางความเข๎าใจผิดอาทิ  แรงโน๎มถํวงต๎องการอากาศ  วัตถุในวงโคจรมีน้้าหนัก ดังนั้น แรงโน๎มถํวงจึงไมํมีผลตํอวงโคจร  ดาวเคราะห์ที่ใกล๎ดวงอาทิตย์ หรือมันหมุนตัวเร็วขึ้นในที่ที่มีแรงโน๎มถํวงมาก  แรงโน๎มถํวง ถูกมองวําสิ้นสุดที่ชั้นบนสุดของชั้นบรรยากาศ  วัตถุบนดวงจันทร์จะลอยเพราะ ไมํมีอากาศ เนื่องจาก ไมํมีแรงโน๎มถํวงบนดวง จันทร์  ไมํมีแรงโน๎มถํวงในสุญญากาศ  แรงโน๎มถํวงจะลดลงที่ระดับสูงขึ้น เนื่องจากอากาศมีความเบาบาง  ไมํมีแรงโน๎มถํวงในอวกาศ ส้าหรับความเข๎าใจผิดที่เราจะศึกษาเป็นเรื่องเกี่ยวกับแรงโน๎มถํวง ผู๎คนสํวนใหญํเข๎าใจ วํา “ในอวกาศไมํมีแรงโน๎มถํวง เพราะภาพที่นักบินอว กาศพยายามลงไปเหยียบดวงจันทร์แล๎ว รํางของนักบินอวกาศอยูํในลักษณะดูเหมือนจะลอย” ความเข๎าใจผิดในประเด็นดังกลําวเกิดจาก สื่อภาพยนตร์ หรือภาพถํายที่เห็นนักบินอวกาศลอยไปมาในอวกาศนอกยานอวกาศ ปัญหานี้ถือเป็นเนื้อหาพื้นฐานส้าหรับฟิสิกส์ดาราศาสตร์ ใช๎อธิบายปรากฏกา รณ์ทาง ดาราศาสตร์ตลอดจนอธิบายปรากฏการณ์และพิสูจน์ทฤษฏีทางฟิสิกส์ เชํนแรงดึงดูด และ ปรากฏการณ์อื่นๆ เป็นต๎น ฉะนั้นจะปลํอยให๎เกิดความเข๎าใจผิดไมํได๎ ผู๎วิจัยเห็นความส้าคัญและ มีแนวคิดวําจะศึกษาปัญหาความเข๎าใจผิดของนักเรียนไทยโดยเลือกใช๎กลุํมตัวอยํางเป็นนักเรียน โรงเรียนฟากกว๏านวิทยาคม จะเน๎นปัญหาความเข๎าใจผิด เรื่อง แรงโน๎มถํวง โดยเลือก กลุํม ตัวอยํางเป็นนักเรียนสายวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์จ้านวน 26 คน และผลิตสื่อการสอน ส้าหรับแก๎ไข๎ปัญหาดังกลําวตํอไป
  • 2. 2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาความเข๎าใจผิดของนักเรียนเกี่ยวกับเรื่อง แรงโน๎มถํวงกับอากาศ 2. เพื่อน้าผลการศึกษามาวิเคราะห์และพัฒนาเป็นสื่อการสอน ส้าหรับแก๎ปัญหาความ เข๎าใจผิด สมมติฐานของการวิจัย ผลการทดสอบความเข๎าใจของนักเรียนที่เรียนโดยใช๎สื่อการสอนเรื่อง แรงโน๎มถํวง กับ อากาศ หลังเรียนสูงกวํากํอนเรียน ขอบเขตของการวิจัย กลุํมเป้าหมาย หรือประชากร กลุํมเป้าหมายในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนสายวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ โรงเรียนฟากกว๏านวิทยาคม จ.พะเยา จ้านวน 26 คน เป็นนักเรียนชาย 13 คน นักเรียนหญิง 13 คน ระยะเวลาที่ใช๎ในการวิจัยคือภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 เนื้อหาที่ใช๎ในการวิจัยเป็น เนื้อหาในกลุํมสาระการเรียนรู๎วิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี 4 หนํวยการเรียนรู๎เรื่อง แรง โน๎มถํวง ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรต๎น คือ การจัดการเรียนรู๎โดยใช๎สื่อการสอน ตัวแปรตาม คือ ผลการทดสอบความเข๎าใจวิชา ฟิสิกส์ เรื่องแรงโน๎มถํวง ขอ ง กลุํมตัวอยําง ขอบเขตด๎านเนื้อหา การวิจัยครั้งนี้ใช๎เนื้อหาเรื่อง แรงโน๎มถํวง จาก คูํมือรายวิชาเพิ่มเติม ฟิสิกส์เลํม 1 ม.4-6 กลุํมสาระการเรียนรู๎วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หน๎า 85-90 ระยะเวลาที่ศึกษา การวิจัยด้าเนินในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 ใช๎เวลาในการศึกษาระหวํางเดือน ตุลาคม 2557 ถึง เดือนกุมภาพันธ์ 2558
  • 3. 3 นิยามศัพท์เฉพาะ ฟิสิกส์ดาราศาสตร์ (Astrophysics) หมายถึง ศึกษาฟิสิกส์ของเอกภพ รวมถึงสมบัติทาง กายภาพ (สภาพสํองสวําง ความหนาแนํน อุณหภูมิ องค์ประกอบทางเคมี ) ของวัตถุทางดารา ศาสตร์ สื่อการสอน (Instructional Media) หมายถึงสิ่งตําง ๆ ที่ใช๎เป็นเครื่องมือ หรือชํองทาง ส้าหรับท้าให๎การสอนของครูไปถึงผู๎เรียน และท้าให๎ผู๎เรียนเรียนรู๎ตามจุดประสงค์ หรือ จุดมุํงหมายที่วางไว๎เป็นอยํางดี สื่อที่ใช๎ในการสอนนี้ อาจจะเป็นวัตถุสิ่ งของที่มีตัวตน หรือไมํมี ตัวตนก็ได๎ เชํน วัตถุสิ่งของตามธรรมชาติ ปรากฎการณ์ตามธรรมชาติ วัตถุสิ่งของที่คิดประดิษฐ์ หรือสร๎างขึ้นส้าหรับการสอน ค้าพูดทําทาง วัสดุ และเครื่องมือสื่อสาร กิจกรรมหรือ กระบวนการถํายทอดความรู๎ตํางๆ (ศน.บัว,2552) ประโยชน์ที่จะได้รับจากการวิจัย 1. ได๎สื่อการสอนเรื่อง แรงโน๎มถํวงกับอากาศ ที่มีประสิทธิภาพ เพื่อใช๎ในการแก๎ไขความ เข๎าใจผิดในประเด็นดังกลําว 2. เป็นแนวทางในการสร๎างและประยุกต์ใช๎สื่อการสอนในการเรียนการสอนวิชาฟิสิกส์ หรือวิชาวิทยาศาสตร์ในเนื้อหาบทเรียนอื่น ๆ
  • 4. 4 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การวิจัยครั้งนี้ผู๎วิจัยได๎ศึกษาค๎นคว๎าเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข๎องน้ามาเรียบเรียง เป็นหัวข๎อดังนี้ 1. กฎแรงดึงดูดระหวํางมวล 2. สนามแรงโน๎มถํวง 3. ความสัมพันธ์ระหวํางแรงโน๎มถํวงกับอากาศ 4. ชุดทดลอง กระดิ่งไฟฟ้าในสุญญากาศ 5. การเลือกกลุํมตัวอยํางของ Taro Yamane 6. สื่อการสอน 7. วิธีสอน 8. การสร๎างแบบทดสอบ 9. เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข๎อง 1. กฎแรงดึงดูดระหว่างมวล เราจะพิจารณาแรงโน๎มถํวงซึ่งเป็นแรงดึงดูดระหวํางมวลของวัตถุ 2 ก๎อน ในขั้นแรก เราจะกลําวถึงกฎของเคปเลอร์กํอน ในศตวรรษที่ 17 [Johannes Kepler] นักดาราศาสตร์ นัก โหราศาสตร์และนักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน ผู๎มีสํวนส้าคัญในการปฏิวัติวงการวิทยาศาสตร์ เขาค๎นพบกฎการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ ได๎สังเกตปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ และค๎นพบ กฎการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ 3 ข๎อ กฎข๎อที่ 1 ดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงรี โดยมีดวงอาทิตย์อยูํที่ต้าแหนํงหนึ่ง ของจุดโฟกัสของวงรี
  • 5. 5 รูปที่ 2.1 อธิบายวําดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงรี ที่มา : http://www.rmutphysics.com/charud/specialnews/7/Dynamics/8197.jpg กฎข๎อที่ 2 เวกเตอร์รัศมีจากดวงอาทิตย์ไปยังดาวเคราะห์นั้น ภายในชํวงเวลาที่เทํากัน จะกวาดพื้นที่ไปได๎เทํากัน รูปที่ 2.2 ภาพแสดงพื้นที่สามเหลี่ยม ABF เทํากับพื้นที่ สามเหลี่ยม CDF ที่ถูกกวาดมาในเวลาที่เทํากัน ที่มา : http://www.rmutphysics.com/charud/specialnews/7/Dynamics/8198.jpg กฎข๎อที่ 3 อัตราสํวนระหวํางครึ่งแกนเอก (semi-major axis) ยกก้าลังสาม กับคาบ การโคจรของดาวเคราะห์ยกก้าลังสอง ของทุกๆดาวเคราะห์มีคําเทํากัน
  • 6. 6 รูปที่ 2.3 ภาพแสดงระยะแกนเอกมีคําเทํากับสองเอก ดังอธิบายได๎ดังสมการ ที่มา : http://www.rmutphysics.com/charud/specialnews/7/Dynamics/8199.jpg สมการ a3 /(T)2 = คําคงที่ (1) โดย a คือ ระยะครึ่งแกนเอก T คือ คาบการโคจรรอบดวงอาทิตย์ของดาวเคราะห์ กฎแรงดึงดูดระหวํางมวลของนิวตัน จากการศึกษากฎของเคปเลอร์ นิวตันเสนอทฤษฎีแรงดึงดูดระหวํ างมวล หรือที่ เรียกวํา กฎความโน๎มถํวงสากล (Newton’s law of universal gravitation) รูปที่ 2.4 มวลสองก๎อนอยูํหํางกันเป็นระยะทาง ที่มา : http://www.rmutphysics.com/charud/specialnews/7/Dynamics/8202.gif ให๎ m1 และ m2 เป็นมวลสองก๎อนอยูํหํางกันเป็นระยะทาง ขนาดของแรงดึงดูด ระหวํางมวลที่กระท้าตํอมวลทั้งสองก๎อนคือ
  • 7. 7 F = Gm1m2/r2 (2) Sir Henry Cavendish ได๎ท้าการทดลองวัดคําคงที่โน๎มถํวง (gravitational constant) (คํา G) G = 6.6730×10-11 Nm2 Kg2 2. สนามแรงโน้มถ่วง เมื่อปลํอยวัตถุ วัตถุจะตกสูํพื้ นโลกเนื่องจากโลกมีสนามโน๎มถํวง (gravitational field) อยูํรอบโลก สนามโน๎มถํวงท้าให๎เกิดแรงดึงดูดกระท้าตํอมวลของวัตถุทั้งหลาย แรงดึงดูดนี้ เรียกวํา แรงโน๎มถํวง (gravitational force) สนามโน๎มถํวงเขียนแทนด๎วยสัญลักษณ์ g และ สนามมีทิศพุํงสูํศูนย์กลางของโลกสนามโน๎มถํวง ณ ต้าแหนํงตํางๆบนผิวโลกมีคําประมาณ 9.8 นิวตันตํอกิโลกรัม ตารางที่ 2.1 ค่าสนามโน้มถ่วงของโลกที่บางตําแหน่งจากผิวโลก ระยะจากผิวโลก (km) สนามโน้มถ่วง (N/kg) หมายเหตุ 0 9.80 - 10 9.77 เพดานบินของเครื่องบินโดยสาร 400 8.65 ความสูงของสถานีอวกาศนานาชาติ ยานขนสํงอวกาศ 35700 0.225 ระดับความสูงของดาวเทียมสื่อสารคมนาคม 384000 0.0026 ระยะทางเฉลี่ยระหวํางโลกและดวงจันทร์ ดาวฤกษ์ โลก ดวงจันทร์ ดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ และบริวารของดาวเคราะห์ ให๎ระบบ สุริยะรวมทั้งสรรพวัตถุทั้งหลายก็มีสนาม โน๎มถํวงรอบตัวเอง โดยสนามโน๎มถํวงเหลํานี้มีคํา ตํางกันไป การเคลื่อนที่ของวัตถุในสนามโน้มถ่วง วัตถุที่อยูํในสนามโน๎มถํวงของโลกจะถูกโลกดึงดูด แรงโน๎มถํวงของโลกจะท้าให๎วัตถุ เคลื่อนที่เร็วขึ้น นั่นคือวัตถุมีความเรํงเนื่องจากแรงโน๎มถํวงโลก (ทํองโลก Physics,ไมํระบุปีที่ พิมพ์)
  • 8. 8 3. ความสัมพันธ์ระหว่างแรงโน้มถ่วงกับอากาศ “แรงโน๎มถํวงไมํต๎องการอากาศ แตํอากาศ ถูกแรงโน๎มถํวงดึงดูดไว๎” นั่นคือ ไมํวําจะมี อากาศ หรือไมํมีอากาศ แรงโน๎มถํวงก็ยังสามารถกระท้าตํอวัตถุได๎อยูํ เพราะ หากไมํมีอากาศ วัตถุตํางๆก็มีทิศทางการตกพุํงเข๎าหาโลก สํวนอากาศที่ถูกแรงโน๎มถํวงดึงดูดไว๎ นั้นคือ แรงโน๎ม ถํวงจะดึงดูดโมเลกุลอากาศให๎มีความหนาแนํนมาก 4. ชุดทดลองเรื่อง กระดิ่งไฟฟ้าในสุญญากาศ นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษได๎ทดลองน้ากระดิ่งไฟฟ้า (Electric bell ) ใสํในภาชนะแก๎ว ปิด (Bell Jar) แล๎วตํอสายกระดิ่งไฟฟ้ากับแบตเตอรี ให๎กระดิ่งไฟฟ้าท้างาน ขณะเดียวกันก็สูบ อากาศออก โดยใช๎แวคคูอัมปั๊ม (Vacuum Pump) จะได๎ยินเสียงกระดิ่งไฟฟ้าเบาลงเรื่อยๆจนนก ระทั่งสูบอากาศออกหมดท้าให๎ภายในครอบแก๎วเป็นสุญญากาศ จะไมํได๎ยินเสียงกระดิ่งไฟฟ้าเลย 5. การเลือกกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane การวิจัยทางสังคมศาสตร์จ้าเป็นต๎องอาศัยวิธีวิทยาศาสตร์ในการคัดเลือก กลุํมเป้าหมายที่จะท้าการศึกษาซึ่งสามารถท้าได๎โดยการอาศัยการสุํมตัวอยําง (Sampling) การ สุํมตัวอยํางเป็นการคัดเลือกจากประชากรทั้งหมด โดยสุํมตัวอยํางมาเพียงสํวนหนึ่ง เป็นตัวแทน ของประชากรทั้งหมดเพื่อน้ามาศึกษาองค์ความรู๎ในการสุํมตัวอยําง 5.1 ข๎อมูลประชากร (Population) ข๎อมูลประชากร (Population) หมายถึง กลุํมเป้าหมายที่ต๎องการศึกษาทั้งหมด ซึ่ง อาจจะเป็น คน สัตว์ พืช วัตถุ หรือปรากฏการณ์ตํางๆ เชํน ในการศึกษาความรู๎ในการประกอบ อาชีพด๎านหมํอนไหมของเกษตรกรผู๎ปลูกหมํอนเลี้ยงไหมในเขต ภาคอีสานตอนบน ประชากรใน ที่นี้คือ เกษตรกร ที่มีภูมิล้าเนาอยูํในเขตจังหวัดตํางๆ ของภาคอีสานตอนบนในการวิจัยเชิง สังคมศาสตร์ ประชากรแบํงออกได๎ 2 ประเภทดังนี้ 1. ประชากรที่มีจ้านวนจ้ากัด (Finite population) หมายถึงประชากรที่มีปริ มาณซึ่ง สามารถนับออกมาเป็นตัวเลขได๎ครบถ๎วนเชํน ประชากรนิสิต หรือนักศึกษา ของมหาวิทยาลัย ทุกแหํง ประชากรของเกษตรกรในภาคกลาง ฯลฯ
  • 9. 9 2. ประชากรที่มีจ้านวนไมํจ้ากัด (Infinite population) หมายถึงประชากรที่มีปริมาณซึ่ง ไมํสามารถนับจ้านวนออกมาเป็นตัวเลขได๎ครบถ๎วน เชํน ประ ชากรเมล็ดถั่วเหลืองที่จ้าหนํายใน จังหวัดขอนแกํน ฯลฯ 5.2 ขนาดตัวอยําง (Sample size) ขนาดตัวอยํางต๎องมากพอที่จะเป็นตัวแทนได๎ วิธีการประมาณขนาดตัวอยํางโดยใช๎ สูตรของ TARO YAMANE ดังนี้ n = N/1+Ne2 (3) เมื่อ n = ขนาดของหนํวยตัวอยํางกลุํมเป้าหมาย N = ประชากรทั้งหมด D = ระดับความมีนัยส้าคัญ 5.3 ประเภทและวิธีการสุํมตัวอยําง ทฤษฎีการสุํมตัวอยําง ได๎แบํงประเภทการสุํมตัวอยํางออกเป็น 2 ประเภทใหญํๆ คือ 1. การสุํมตัวอยํางในเชิงเป็นไปได๎ (Probability sampling) การสุํมตัวอยํางแบบนี้เรา สามารถก้าหนดได๎วําทุกภาคสํวนของประชากรมีโอกาสได๎รับเลือกเป็นตัวอยํางเทํากัน การสุํม แบบนี้มีหลายวิธีดังนี้ 1.1 การสุํมตัวอยํางแบบงําย (Simple random sampling) หมายถึง การสุํม ตัวอยํางที่ประชากรทุกภาคสํวนมีโอกาสเทําเทียมกันที่จะได๎รับการคัดเลือกเป็น ตัวอยํางโดยวิธีการใช๎ (1) ตารางเลขสุํม น้าจ้านวนขนาดตัวอยํางไปสุํมในตารางส้าเร็จรูปที่นักสถิติจัดท้าไว๎ แล๎ว เพียงแตํนักวิจัยก้าหนดหลักที่จะใช๎วํามีกี่หลัก และจะนับไปซ๎ายขวา ขึ้นบน ลงลําง อยํางไรต๎องก้าหนดไว๎และปฏิบัติอยํางนั้นตลอด สุํมโดยการชี้ตัวเลขเริ่มต๎น เมื่อชี้ ตรงไหนก็บ อกวําเป็นเลขประจ้าตัวของประชากรหรือไมํถ๎าไมํใชํให๎ข๎ามไป ท้าการ คัดเลือกไปเรื่อยๆ จนได๎ตามจ้านวนที่ต๎องการ (2) โดยวิธีการจักฉลากโดยการเขียนหมายเลขก้ากับประชากรตัวอยําง แตํละรายการ กํอนแล๎วจึงจับฉลากขึ้นมา ซึ่งวิธีการจับฉลากอาจใช๎ 2 แบบคือ ก. ไมํสุํมประชากรที่ถูกสุํมแล๎วขึ้นมาอีก (Simple Random Sampling with out Replacement) คือหยิบแล๎วเอาออกได๎เลยไมํต๎องใสํกลับลงไปอีก
  • 10. 10 ข. สุํมประชากรที่ถูกสุํมแล๎วขึ้นมาได๎อีก (Sample Random Sampling with Replacement) คือ หยิบขึ้นมาแล๎วก็ใสํลงไปใหมํเพื่อให๎โอกาสแกํประชากรทุก หนํวย มีโอกาสถูกเลือกขึ้นมาเทําเดิม 1.2 การสุํมตัวอยํางแบบมีระบบ (Systematic Sampling) การสุํมแบบนี้นักวิจัย จะต๎องอาศัยบัญชีรายชื่อ เกี่ยวกับประชากรกลุํมเป้าหมาย โดยเลือกตามเลขที่ที่ ก้าหนดไว๎ เชํน ประชากรจ้านวน 1,000 นักวิจัยต๎องการตัวอยํางจ้านวน 100 นักวิจัย จะต๎องคัดเลือกทุกหนํวยที่ 10 เป็นต๎น 1.3 การสุํมตัวอยํางแบบแบํงชั้น (Stratified Random Sampling) การสุํม ตัวอยํางแบบนี้ต๎องแยกประเภทของประชากรเป็นกลุํมยํอยหรือชั้นกํอน แล๎วจึงสุํม ตัวอยํางแยกกันคนและกลุํมโดยวิธี Simple Random Sampling หรือ Systematic Sampling ก็ได๎ กลุํมยํอยที่มีลักษณะเป็น Homegeneous คือมีลักษณะเหมือนกันภายใน กลุํมเชํน การแยกประเภทของประชากรตามสถานการณ์เป็นสมาชิกของกลุํมเกษตรกร 1.4 การสุํมตัวอยํางแบบกลุํม (Cluster Sampling) คือการสุํมตัวอยํางประชากร โดยแบํงประชากรออกเป็นกลุํมๆ ให๎แตํละกลุํมมีความเป็น Heterogeneous กัน คือมี ความแตกตํางกันภายในกลุํม เชํน การสุํมตัวอยํางโดยการแบํงตามเขตการปกครอง 1.5 การสุํมตัวอยํางในทุกขั้นตอน (Multi Stage Sampling) เชํน ต๎องการจะท้า การวิจัยโดยการสุํมตัวอยํางประชากร โดยท้าการสุํมจังหวัดที่เป็นตัวอยํางกํอน ตํอไปก็ สุํมอ้าเภอ ต้าบล หมูํบ๎าน และครัวเรือนที่เป็นตัวอยํางตามล้าดับ 2. การสุํมตัวอยํางในเชิงเป็นไปไมํได๎ (Non-probability sampling) คือ การสุํมตัวอยําง โดยไมํอาจก้าหนดได๎วําทุกสํวนของประชากรมีโอกาสได๎รับการคัดเลือกโดยเทํากัน ซึ่งท้าให๎ไมํ สามารถจะคาดคะเนหรือค้านวณหาความผิดพลาดใน การสุํมเลือกตัวอยํางได๎ การสุํมแบบนี้มี หลายวิธีคือ 2.1 การสุํมตัวอยํางแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) เชํน พบใครก็สัมภาษณ์ ตามความพอใจของผู๎วิจัย เชํน สุํมนักทํองเที่ยวที่จะเข๎าประเทศไทยที่สนามบินดอน เมือง 2.2 การสุํมตัวอยํางโดยวิธีการจัดสรรโควตา (Quota Sampling) การสุํม ตัวอยํางเหลํานี้ต๎องแบํงกลุํมของประชากรแล๎วจัดสรรโควตาตัวอยํางไปให๎แตํละกลุํม ตามสัดสํวนของปริมาณประชากรในกลุํมนั้นๆ ที่มีอยูํจากนั้นก็ท้าการสุํมจากแตํละกลุํม ตามโควตาที่จัดสรร ทั้งนี้เพื่อให๎ได๎ตัวแทนจากกลุํมตํางๆ อยํางเหมาะสม เชํน ชาย 80 คน หญิง 80 คน
  • 11. 11 2.3 การสุํมตัวอยํางแบบเจาะจง (Purposive sampling) โดยจะเลือกศึกษาจาก ประชากรที่มีลักษณะตรงตามวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาเชํน เกษตรกรที่ปลูกหมํอน บร . 60 เป็นต๎น 2.4 การสุํมตัวอยํางพิจารณาตามความสะดวก (Convenience Sampling) โดย จะเลือกศึกษากลุํมประชากรที่เห็ นวํางํายตํอการศึกษา เชํน ไมํอยูํในแดนของ ผู๎กํอการร๎าย หรือเลือกเฉพาะผู๎เป็นสมาชิกของกลุํมทางการเกษตร กลุํมใดกลุํมหนึ่ง 3. ปัจจัยที่ท้าให๎ส้าเร็จในการสุํมตัวอยําง (Key success factor) 1. ฐานข๎อมูล/ประชากรต๎องเป็นปัจจุบัน (update population) 2. วิธีการสุํม ต๎องมีความนําเชื่อถือ (มีแหลํงที่มาอ๎างอิงได๎) 3. ขนาดตัวอยํางต๎องมีการกระจายตัวและครอบคลุมประชากรเพื่อให๎มีความ คลาดเคลื่อนน๎อยที่สุด 6. สื่อการสอน 6.1 ความหมายของสื่อการเรียนการสอน สื่อนับเป็นสิ่งที่มีบทบาทส้าคัญอยํางมากในการสอนตั้งแตํในอดีตจนถึงปัจจุ บัน เนื่องจากเป็นตัวกลางที่ชํวยให๎การสื่อสารระหวํางผู๎สอนและผู๎เรียนด้าเนินไปอยํางมี ประสิทธิภาพ ชํวยให๎ผู๎เรียนเข๎าใจความหมายของเนื้อหาบทเรียนให๎ตรงกับผู๎สอนต๎องการ ไมํวํา สื่อนั้นจะอยูํในรูปแบบใดก็ตามล๎วนแตํเป็นทรัพยากรที่สามารถอ้านวยความสะดวกในการ เรียนรู๎ได๎ทั้งสิ้น และค้าวํา สื่อ (medium, pl. media) เป็นค้ามาจากภาษาลาตินวํา “ระหวําง” สิ่ง ใดก็ตามที่บรรจุข๎อมูลสารสนเทศหรือเป็นตัวกลางข๎อมูล สํงผํานจากผู๎สํงหรือแหลํงสํงไปยังผู๎รับ (ไพศาล สุวรรณน๎อย, 2553) สื่อการสอน หมายถึงสิ่งใดก็ตามไมํวําจะเป็นเทปบันทึกเสียง สไลด์ วิทยุ โทรทัศน์ วีดี ทัศน์ แผนภูมิ แผํนซีดีส้าเร็จรูป รูปภาพ ฯลฯ ซึ่งเป็นวัสดุบรรจุเนื้อหาเกี่ยวกับการเรียนการสอน หรือเป็นอุปกรณ์เพื่อถํายทอดเนื้อหาสิ่งเหลํานี้เป็นวัสดุอุปกรณ์ทางกายภาพที่น้ามาใช๎ เทคโนโลยีการศึกษาเป็นสิ่งที่ใช๎เป็นเครื่องมือหรือชํองทางท้าให๎การสอนสํงไปถึงผู๎เรียน สื่อการ สอนถือวํามีบทบาทมากในการเรียนการสอนตั้งแตํอดีตจนถึงปัจจุบัน เนื่องจากเป็นตัวกลางที่ ชํวยให๎การสื่อระหวํางผู๎สอนและผู๎เรียนด้าเนินการไปได๎อยํางมีประสิทธิภาพ ท้าให๎ผู๎เรียนมี ความหมายของเนื้อหาบทเรียนได๎ตรงกับที่ผู๎สอนต๎องการเ รียนรู๎ได๎ทั้งสิ้น ในการใช๎สื่อการสอน
  • 12. 12 นั้นผู๎สอนจ้าเป็นต๎องศึกษาถึงลักษณะคุณสมบัติของสื่อแตํละชนิดเพื่อเลือกสื่อให๎ตรงกับ วัตถุประสงค์การสอนและสามารถจัดประสบการณ์การเรียนรู๎ให๎แกํผู๎เรียนโดยต๎องการวางแผน อยํางเป็นระบบ (กิดานันท์ มลิทอง, 2553 ) สื่อ คือชํองทางในการติดตํอสื่อสาร สื่อ มีรากศัพท์มาจากภาษาลาติน มีความหมาย วํา ระหวําง (between) หมายถึง อะไรก็ตามซึ่งท้าการบรรทุกหรือน้าพาข๎อมูลหรือสารสนเทศ สื่อเป็นสิ่งที่อยูํระหวํางแหลํงก้าเนิดสารกับผู๎รับสาร (ไฮนิคส์ (Heinich ) และคณะ, ไมํระบุปีที่ พิมพ์ ) สื่อ คือตัวน้าสารจากแหลํงก้าเนิดของการสื่อสาร (ซึ่งอาจจะเป็นมนุษย์ หรือวัตถุที่ไมํ มีชีวิต ) ไปยังผู๎รับสาร (ซึ่งในกรณี ของการเรียนการสอนก็คือ ผู๎เรียน )" (A. J. Romiszowski, ไมํ ระบุปีที่พิมพ์) สื่อการสอน " หมายถึง บุคคล วัสดุหรือเหตุการณ์ตําง ๆ ซึ่งท้าให๎นักเรียนได๎ รับ ความรู๎ ทักษะ ทัศนคติ ครู หนังสือ และสิ่งแวดล๎อมของโรงเรียนจัดเป็นสื่อการสอนทั้งสิ้ น (เกอร์ลัช และอีลีม, ไมํระบุปีที่พิมพ์) สื่อการสอน หมายถึง ตัวกลางที่ชํวยน้า และถํายทอดข๎อมูลความรู๎จากครูผู๎สอน หรือ จากแหลํงความรู๎ไปยังผู๎เรียน เพื่อให๎ผู๎เรียนสามารถบ รรลุถึง วัตถุประสงค์การเรียนที่ตั้งไว๎ (กิ ดานันท์ มลิทอง, ไมํระบุปีที่พิมพ์) สื่อการสอน คือวัสดุ (สิ้นเปลือง ) อุปกรณ์ (เครื่องมือที่ใช๎ไมํผุพังงําย ) วิธีการ (กิจกรรม เกม การทดลอง ฯลฯ) ที่ใช๎สื่อกลางให๎ผู๎สอนสามารถสํง หรือถํายทอดความรู๎ เจตคติ (อารมณ์ ความรู๎สึก ความสนใจ ทัศนคติ และคํานิยม ) และ ทักษะไปยังผู๎เรียน ได๎อยํางมี ประสิทธิภาพ (ชัยยงค์ พรหมวงศ์, ไมํระบุปีที่พิมพ์) สื่อการสอน หมายถึง สิ่งที่ชํวยให๎การเรียนรู๎ ซึ่งครูและนักเรียนเป็นผู๎ใช๎ เพื่อให๎การ เรียนการสอนมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น (ไชยยศ เรืองสุวรรณ, ไมํระบุปีที่พิมพ์)
  • 13. 13 สื่อการสอน หมายถึง สิ่งตํางๆ ที่ใช๎เป็นเครื่องมือ หรือ ชํองทางส้าหรับท้าให๎การสอน สํงไปถึงผู๎เรียน ท้าให๎ผู๎เรียนสามารถเกิดการเรียนรู๎ตามวัตถุประสงค์ หรือจุดมุํงหมายที่ผู๎สอน วาดไว๎ได๎เป็นอยํางดี (เปรื่อง กุมุท, ไมํระบุปีที่พิมพ์) สื่อการเรียนรู๎ (Media for learning) มาจาภาษาลาตินวํา “Medium” แปลวําระหวําง (between) หมายถึง สิ่งใดก็ตามที่บรรจุข๎อมูลเพื่อให๎ผู๎สํงและผู๎รับการสื่อสารกันได๎ ตรงตาม วัตถุประสงค์ เมื่อน้ามาใช๎ในการเรียนการสอนจึงเรียกสื่อการสอน (Instructional Media) หมายถึงสื่อชนิดใดก็ตาม เชํน เทปบันทึกเสียง ภาพนิ่ง แผนภูมิ หนังสือ วิทยุ โทรทัศน์ สไลด์ เป็นต๎น ที่บรรจุเนื้อหาเกี่ยวกับการเรียนการสอน สิ่งเหลํานี้เป็นวัสดุอุปกรณ์ทางกายภาพที่ น้าเอามาใช๎ในเทคโนโลยีการศึกษา เป็นเครื่องมือที่ผู๎สอนสํงไปถึงผู๎เรียน ท้าให๎ผู๎เรียนเ กิดการ เรียนรู๎ตามวัตถุประสงค์ หรือจุดมุํงหมาย ที่วางไว๎เป็นอยํางดี (ตานันท์ มลิทอง อ๎างถึงใน อรนุช ลิมตศิริ(2543หน๎า 79)) สื่อการสอนวิทยาศาสตร์ หมายถึง สิ่งตํางๆทั้งทางกายภาพ และจิตภาพ ที่กํอให๎เกิด สถานการณ์ ท้าให๎ผู๎เรียนเกิดการเรียนรู๎ เนื้อหาที่เป็นคว ามรู๎ กระบวนการวิทยาศาสตร์ และเจ คติทางวิทยาศาสตร์ ได๎แกํ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร ของจริงและสัญลักษณ์เป็นต๎น นอกจากนั้นสื่อการสอนวิทยาศาสตร์ที่น้ามาใช๎ ควรจัดให๎ตํอเนื่อง สอดคล๎องกับวิธีการทาง วิทยาศาสตร์ และจัดระบบให๎มีประสิทธิภาพตามประเภทของสื่อนั้นๆ (นิคม ทาแดง (2527,หน๎า 78-80)) 6.2 ประเภทของสื่อการเรียนการสอน สื่อการสอนมี 3 ประเภท ดังนี้ 1. วัสดุ ได๎แกํ สิ่งสิ้นเปลืองทั้งหลาย เชํน รูปภาพ บัตรค้า แผนภูมิ หนังสือ แผํนโปรํงใส เป็นต๎น 2. อุปกรณ์ ได๎แกํ บรรดาเครื่องมือทั้งหลาย ทั้งที่เป็นเครื่องมือที่ใช๎รํวมกับวัสดุ อื่น และสิ่งที่ใช๎ในตัวของมันเอง เชํน เครื่องฉายภาพยนตร์, เครื่องฉายสไลด์, เครื่องฉายภาพ ข๎ามศีรษะ เป็นต๎น 3. กิจกรรมหรือวิธีการ ได๎แก ํกระบวนการที่จะใช๎ทั้งวัสดุและอุปกรณ์ประกอบ กัน หรือกระบวนการของมันเองล๎วนๆ ได๎แกํ การสาธิต, กลุํมสัมพันธ์,์ นิทรรศการ, ทัศนศึกษา, การอภิปราย เป็นต๎น (ชัยยงค์ พรหมวงศ์, ไมํระบุปีที่พิมพ์)
  • 14. 14 สื่อการสอนแบํงเป็นหมวดหมูํดังนี้ 1. สิ่งพิมพ์, หนังสือแบบเรียน, หนังสืออุเทศก์, หนังสืออํานประกอบ, นิตยสาร หรือวารสาร 2. วัสดุกราฟิก, แผนภูมิ, แผนสถิติ, แผนภาพ, โปสเตอร์, การ์ตูน 3. วัสดุและเครื่องฉาย, เครื่องฉายภาพนิ่ง, เครื่องฉายภาพเคลื่อนไหว, เครื่อง ฉายข๎ามศีรษะ, ฟิล์มสไลด์, ฟิล์มภาพยนตร์, แผํนโปรํงใส 4. วัสดุถํายทอดเสียง, เครื่องเลํนแผํนเสียง, เครื่องบันทึกเสียง, เครื่องรับวิทยุ, เครื่องรับโทรทัศน์ (Shorse. 1960 : 11) การจ้าแนกสื่อการสอนตามประสบการณ์ ประสบการณ์ตรงที่เป็นรูปธรรมจะท้าให๎เกิดการเรียนรู๎แตกตํางกับ ประสบการณ์ที่เป็นนามธรรม ดังนั้นจึงจ้าแนกสื่อการสอนโดยยึดประสบการณ์เป็นหลักเรียง ตามล้าดับจากประสบการณ์ที่งํายไปยาก 10 ขั้น เรียกวํา กรวยประสบการณ์ (Cone of Experience) ขั้นที่ 1 ประสบการณ์ตรง (Direct Experiences) มีความหมายเป็นรูปธรรมมาก ที่สุดท้าให๎ผู๎เรียนได๎เรียนรู๎จากประสบการณ์จริง เชํน เลํนกีฬา ท้าอาหาร ปลูกพืชผัก หรือเลี้ยง สัตว์ เป็นต๎น ขั้นที่ 2 ประสบการณ์รอง (Verbal Symbols) เป็นกรณีที่ประสบการณ์หรือของ จริงมีข๎อจ้ากัด จ้าเป็นต๎องจ้าลองสิ่งตําง ๆ เหลํานั้นมาศึกษาแทน เชํน หุํนจ้าลอง ของตัวอยําง การแสดงเหตุการณ์จ้าลองทางดาราศาสตร์ ขั้นที่ 3 ประสบการณ์นาฏการ (Dramaticed Experiences) เป็นประสบการณ์ที่ จัดขึ้นแทนประสบการณ์ตรงหรือเหตุการณ์จริงที่เกิดขึ้นในอดีตหรืออาจเป็นความคิด ความฝัน สามารถเรียนด๎วยประสบการณ์ตรงหรือประสบการณ์จ้าลองได๎ เชํน การแสดงละคร บทบาท สมมุติ เป็นต๎น ขั้นที่ 4 การสาธิต (Demonstration) เป็นการอธิบายข๎อเท็จจริงล้าดับความคิด หรือกระบวนการเหมาะสมกับเนื้อหาที่ต๎องการความเข๎าใจ ความช้านาญหรือทักษะ เชํน การ สาธิตการผายปอดการสาธิตการเลํนของครูพละ เป็นต๎น
  • 15. 15 ขั้นที่ 5 การศึกษานอกสถานที่ (Field Trips) เป็นการพาผู๎เรียนไปศึกษาหา ความรู๎นอกห๎องเรียน โดยมีจุดมุํงหมายที่แนํนอน ประสบการณ์นี้มีความเป็นนามธรรมมากกวํา การสาธิต เพราะผู๎เรียนแทบไมํได๎มีสํวนในกิจกรรมที่ได๎พบเห็นนั้นเลย ขั้นที่ 6 นิทรรศการ (Exhibits) เป็นการจัดประสบการณ์ให๎ผู๎เรียนได๎รับด๎วยการ ดูเป็นสํวนใหญํ อาจจัดแสดงสิ่งตําง ๆ เชํน ของจริง หุํนจ้าลอง วัสดุสาธิต แผนภูมิ ภาพยนตร์ เป็นต๎น ขั้นที่ 7 โทรทัศน์และภาพยนตร์ (Television and Motion Picture) เป็น ประสบการณ์ที่เป็นนามธรรมมากกวําการจัดนิทรรศการ เพราะผู๎เรียนเรียนรู๎ได๎ด๎วยการดูภาพ และฟังเสียงเทํานั้น ขั้นที่ 8 ภาพนิ่ง วิทยุและการบันทึกเสียง (Still Picture) เป็นประสบการณ์ที่รับรู๎ ได๎ทางใดทางหนึ่งระหวํางการฟังและการพูด ซึ่งนับเป็นนามธรรมมากขึ้น ขั้นที่ 9 ทัศนสัญลักษณ์ (Visual Symbols) เป็นประสบการร์ที่เป็นนามธรรมมาก ที่สุด บรรยาย การปราศรัย ค้าโฆษณา ฯลฯ ดังนั้นผู๎เรียนควรมีพื้นฐานเชํนเดียวกับทัศน สัญลักษณ์นั้น ๆ จะท้าให๎เกิดการเรียนรู๎ได๎อยํางดี ขั้นที่ 10 วัจนสัญลักษณ์ (Verbal Symbols) ได๎แกํ ค้าพูด ค้าอธิบาย หนังสือ เอกสาร แผํนปลิว แผํนพับ ที่ใช๎ตัวอักษร ตัวเลข แทนความหมายของสิ่งตําง ๆ นับเป็น ประสบการณ์ที่เป็นนามธรรมมากที่สุด (Edgar Dale. 1969 : 107) ทุกสิ่งทุกอยํางไมํวําจะเป็นคนหรือสัตว์ สิ่งของ สถานที่ เหตุกา รณ์ หรือความคิดก็ ตามถือเป็นสื่อการสอนได๎ทั้งสิ้น ขึ้นอยูํกับวําเราเรียนรู๎จากสิ่งนั้นๆหรือน้าสิ่งเหลํานั้นเข๎ามาสูํ การเรียนรู๎ของเราหรือไมํ สื่อทั้งมวลอาจแยกเป็นประเภทใหญํๆได๎ดังนี้ 1. สื่อสิ่งพิมพ์ หมายถึง หนังสือหรือเอกสารสิ่งพิมพ์ตํางๆ ซึ่งได๎แสดงหรือ จ้าแนกหรือเรียบเรียงสาระความรู๎ตํางๆโดยใช๎ตัวหนังสือ ที่เป็นตัวเขียนหรือตัวพิมพ์ เป็นสื่อเพื่อ แสดงความหมาย สื่อสิ่งพิมพ์มีหลายประเภทได๎แกํ เอกสาร หนังสือ ต้ารา หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วารสาร จุลสาร จดหมาย จดหมายเหตุ บันทึก รายงาน วิทยานิพนธ์ เป็นต๎น 2. สื่อเทคโนโลยี หมายถึง สื่อการสอนที่ได๎ผลิตขึ้นเพื่อใช๎ควบคูํกับเครื่องมือ โสตทัศนวัสดุ หรือเครื่องมือที่เป็นเทคโนโลยีใหมํๆ สื่อการเรียนรู๎ดังกลําว เชํน แถบบันทึกภาพ พร๎อมเสียง แถบบันทึกเสียง สไลด์ สื่อคอมพิวเตอร์ชํวยสอน นอกจากนี้สื่อเทคโนโลยี ยังหมาย รวมถึงกระบวนการตํางๆที่เกี่ยวข๎องกับการน้าเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช๎ในการเรียนการสอน เชํน การใช๎อินเตอร์เน็ตเพื่อการเรียนการสอน การศึกษาผํานดาวเทียม
  • 16. 16 3. สื่ออื่นๆ นอกจากสิ่งพิมพ์และสื่อเทคโนโลยีแล๎ว ยังมีสื่ออื่นๆที่สํงเสริมการ เรียนการสอนซึ่งมีความส้าคัญ ไมํยิ่งไปกวําสื่อ 2 ประเภทดังกลําว เพราะสามารถอ้านวย ประโยชน์แกํท๎องถิ่นที่ขาดแคลนสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อเทคโนโลยี สื่อเหลํานี้อาจแบํงได๎เป็น 4 ประเภทดังนี้ 3.1 สื่อบุคคล บุคคลที่มีความรู๎ความสามารถ ความเชี่ยวชาญเฉพาะ ด๎านซึ่งสามารถถํายทอดสาระความรู๎ แนวคิด เจตคติและวิธีปฏิบัติตนไปสูํบุคคลอื่นสื่อ บุคคลอาจเป็นบุคคลในระบบ เชํน ผู๎บริหาร ครูผู๎สอน ตัวผู๎เรียน หรืออาจเป็น บุคคลภายนอก เชํน บุคลากรในท๎องถิ่นที่มีความช้านาญ และเชี่ยวชาญในสาขาอาชีพ ตํางๆ 3.2 สื่อธรรมชาติและสิ่งแวดล๎อม หมายถึง สิ่งที่เกิดขึ้นเองตาม ธรรมชาติหรือสภาพที่อยูํรอบตัวผู๎เรียน เชํน พืชผัก ผลไม๎ สัตว์ชนิดตํางๆ ปรากฏการณ์ แผํนดินไหว สภาพดินฟ้าอากาศ ห๎องเรียน ห๎องปฏิบัติการ แหลํงวิทยบริการ หรือแหลํง เรียนรู๎ ห๎องสมุด ชุมชน สังคม วัฒนธรรม สิ่งเหลํานี้เป็นสื่อที่มีความส้าคัญตํอการ สํงเสริมการเรียนรู๎ซึ่งครูหาได๎ไมํยาก 3.3 สื่อกิจกรรม/กระบวนการ หมายถึง กิจกรรมหรือกระบวนการที่ ครูและผู๎เรียนก้าหนดขึ้นเพื่อเสริมสร๎างประสบการณ์การเรียนรู๎ ใช๎ในการฝึกทักษะซึ่ง ต๎องใช๎กระบวนการคิด การปฏิบัติ การเผชิญสถานการณ์ การประยุกต์ความรู๎ของ ผู๎เรียน เชํน การแสดงละคร บทบาทสมมติ ก ารสาธิต สถานการณ์จ้าลอง การจัด นิทรรศการ การไปทัศนศึกษานอกสถานที่ การปฏิบัติตามใบงาน ฯลฯ 3.4 สื่อวัสดุ/เครื่องมือและอุปกรณ์ หมายถึง วัสดุที่ประดิษฐ์ขึ้นเพื่อ ประกอบการเรียนรู๎ เชํน หุํนจ้าลอง แผนภูมิ แผนที่ ตาราง สถิติ กราฟ นอกจากนี้ยัง รวมถึงสื่อประเภทเครื่องมื อและอุปกรณ์ที่จ้าเป็นต๎องใช๎ในการปฏิบัติงานตํางๆ เชํน อุปกรณ์ทดลองวิทยาศาสตร์ เครื่องมือวิชาชําง เป็นต๎น สื่อตํางๆในสถานศึกษาจัดท้าหรือจัดหามาใช๎เพื่อการเรียนรู๎ผู๎เรียนต๎องเชื่อมั่นได๎วําให๎ สาระการเรียนรู๎ที่ถูกต๎อง มีความหมาย และเกี่ยวพันกับการเรียนรู๎อยํางสร๎างสรรค์และมีคุณคํา ห๎องสมุดหรือศูนย์สื่อเป็นแหลํงการเรียนรู๎ที่ส้าคัญมากที่ผู๎เรียนสามารถเรียนรู๎ได๎ทั้งด๎วยตนเอง อยํางมีอิสระและอยํางรํวมมือกันและกันระหวํางเพื่อนสถานศึกษาจึงต๎องพัฒนาห๎องสมุดให๎ท้า หน๎าที่อยํางเต็มที่ ยิ่งกวํานั้นโลกรอบตัวผู๎เรียนสามารถเ ข๎าถึงได๎ด๎วยเทคโนโลยี ก็เป็นเครือขําย การเรียนรู๎ที่ไมํมีขีดจ้ากัดอีกทั้งยังเพิ่มพูนจนยากจะจ้าได๎ทั่วถึง ผู๎เรียนจึงต๎องได๎รับการชี้แนะ และฝึกให๎รู๎จักคิดแสวงหาแหลํงข๎อมูลและวิธีการค๎นคว๎าจากแหลํงความรู๎ตํางๆด๎วยตนเองอยําง
  • 17. 17 อิสระ ตลอดจนได๎ฝึกให๎สามารถคิด วิเครา ะห์ เพื่อเลือกสรรข๎อมูลมาใช๎ประโยชน์ (กระทรวงศึกษาธิการ(2545,หน๎า 8-9)) 6.3 การใช๎สื่อการเรียนการสอน การเลือกสื่อการสอนเพื่อน้ามาใช๎ในการเรียนการสอนนั้น ต๎องดูที่วัตถุประสงค์เชิง พฤติกรรมในการเรียนกํอน เพื่อที่จะได๎ใช๎เป็นแนวทางในการเลือกสื่อให๎ ตรงตาม วัตถุประสงค์ นอกจากนั้นมีวิธีพิจารณาในการเลือกสื่อดังนี้ 1. สื่อการสอนนั้นต๎องตรงตามจุดมุํงหมายของการเรียน 2. ต๎องมีเนื้อหาถูกต๎อง ทันสมัย และนําสนใจ 3. เหมาะสมกับวัย ความรู๎ และประสบการณ์ของผู๎เรียน 4. มีความสะดวกในการใช๎งาน รวมถึงการเก็บรักษา 5. มีราคาไมํแพงเกินไป สรุปวํา การจะเลือกสื่อมาใช๎ในการเรียนการสอนอยํางมีประสิทธิภาพนั้น ผู๎สอน จะต๎องมีความรู๎ความสามารถและทักษะในเรื่องตําง ๆ ดังนี้ 1. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมและจุดมุํงหมายในการเรียนการสอน 2. จุดมุํงหมายในการน้าสื่อมาใช๎ประกอบหรือรํวมในกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อใช๎ ในการน้าบทเรียน ใช๎ในการประกอบค้าอธิบาย ใช๎เพื่อสรุปบทเรียน 3. ต๎องเข๎าใจลักษณะเฉพาะของสื่อแตํละชนิด วํา สามารถเร๎าความสนใจและให๎ ความหมายตํอประสบการณ์การเรียนรู๎แกํผู๎เรียนได๎อยํางไรบ๎าง 4. ต๎องมีความรู๎เกี่ยวกับแหลํงของสื่อการเรียนการสอน ซึ่ งสื่อบางอยํางผลิตเองจะ คุ๎มคําหรือไมํ หรืออาจหายืมได๎ที่ไหนบ๎าง (กิดานันท์ มลิทอง, 2543) การเลือกสื่อการสอน 1. ควรใช๎สื่อการสอนได๎อยํางคลํองแคลํว โดยต๎องฝึกการใช๎กํอนใช๎จริงในชั้นเรียน 2. ควรแสดงสื่อการสอนให๎เห็นได๎ชัดเจนทั่วทั้งห๎อง เชํน การยกแบบจาลองให๎ผู๎เรียนดู ควรยกให๎สูงในระดับอกของผู๎สอน และผู๎สอนควรยืนอยูํด๎านหน๎าห๎องเรียนโดยพยายามยืนชิด กระดานดาให๎มากที่สุด โดยเฉพาะห๎องที่มีชํองวํางเล็กน๎อยระหวํางที่นั่งของผู๎เรียนกับกระดาน ดาเพื่อชํวยให๎ผู๎เรียนที่นั่งหน๎าสุดสามารถมองเห็นได๎
  • 18. 18 3. ควรหาที่ตั้งวางหรือแขวนสื่อการสอนที่มีขนาดใหญํและมีน๎าหนักมาก เชํน แผนภูมิ แผนที่ หุํนจาลองเซลล์พืช-เซลล์สัตว์ เขื่อนจาลอง ฯลฯ ในจุดที่จะทาให๎ผู๎เรียนเห็นได๎ชัดเจนทั่ว ทั้งห๎อง ไมํควรยืนถือแล๎วอธิบายเพราะจะทาให๎ผู๎สอนไมํคลํองแคลํวเทําที่ควร และอาจทาให๎ ผู๎เรียนเห็นสื่อนั้นไมํชัดเจน เนื่องจากระหวํางที่ผู๎สอนอธิบายมักมีทําทางเคลื่อนไหวไปมา 4. ควรใช๎ไม๎ยาวและมีปลายเรียวมน หรือใช๎แสงจากปากกาเลเซอร์ชี้แผนภูมิ แผนที่ กระดานดา แทนการใช๎นิ้วมือ โดยผู๎สอนควรยืนชิดไปด๎านใดด๎านหนึ่งเพื่อมิให๎บังสายตาของ ผู๎เรียนจากสํวนใดสํวนหนึ่งของสื่อการสอนนั้น 5. ควรนาสื่อการสอนมาวางเรียงไว๎เป็นลาดับที่หน๎าชั้นเรียนกํอนถึงเวลาจัดกิจกรรม การเรียนรู๎ เพื่อสะดวกในการหยิบใช๎ เชํน การใช๎รูปภาพหรือแผํนใส ภาพใดแผํนใดใช๎กํอนควร เรียงไว๎ข๎างบน และควรจัดวางในลักษณะที่จะไมํหันเหความสนใจของผู๎เรียนเมื่อยังไมํถึงเวลาใช๎ เชํน ควรวางภาพควําหน๎าลง หรือหุํนจาลองที่ยังไมํใช๎ก็ควรใสํกลํองไว๎กํอน เป็นต๎น 6. ควรเลือกใช๎เครื่องมือประกอบการใช๎สื่อการสอนให๎เหมาะสม เชํน ถ๎าต๎องการจะ ติดแผนภูมิภาพ แผนที่ ฯลฯ บนกระดานนิเทศ ควรใช๎หมุดติด แตํถ๎าจาเป็นต๎องติดบนกระดาน ดาก็ไมํควรใช๎หมุด ควรใช๎ดินน๎ามันหรือเทปกาวแทน และควรตัดเทปกาวเป็นชิ้นๆโดยติดปลาย ข๎างหนึ่งไว๎กับแผนภูมิให๎ครบทุกมุมเสียกํอน เมื่อจะใช๎ก็สามารถติดกระดานดาได๎เลย หรือตัด เทปกาวเป็นชิ้นๆตามขนาดที่ต๎องการเตรียมไว๎กํอนจะได๎ไมํเสียเวลาในขณะใช๎จริง 7. ในบางกรณีควรมีการเตรียมความพร๎อมของผู๎เรียนลํวงหน๎ากํอนการใช๎สื่อการสอน เชํน ในการทดลองทางวิทยาศาสตร์ที่ต๎องการให๎มีการสังเกตผล ผู๎สอนควรแจ๎งให๎ผู๎เรียนทราบ เสียกํอนวําต๎องการให๎ผู๎เรียนสังเกตเรื่องใด ตอนใด เพื่อให๎ผู๎เรียนสามารถทาตามความประสงค์ ของผู๎สอนได๎ 8. ควรใช๎สื่อการสอนให๎คุ๎มคํากับเ วลาที่ใช๎ไปในการเตรียมและใช๎อยํางทะนุถนอม ใช๎ ให๎เป็นประโยชน์มากที่สุด เชํน ได๎ใช๎แผํนใสแสดงระบบขับถํายของคน ในขั้นการสอนแล๎ว ครู อาจใช๎แผํนใสนั้นซ๎าอีกครั้งในขั้นสรุป แตํต๎องมีวิธีใช๎ที่แตกตํางกัน ขั้นการสอนครูใช๎แผํนใสชํวย อธิบายเนื้อหาสาระ จึงควรให๎ผู๎เรีย นได๎เห็นคาอธิบายประกอบแผํนใสนั้น ได๎แกํ ไต ตํอมหมวก ไต ทํอไต กระเพาะปัสสาวะ เส๎นเลือดเข๎าไต ฯลฯ แตํถ๎าใช๎ในขั้นสรุป ผู๎สอนควรใช๎กระดาษแผํน เล็กๆปิดคาอธิบายนั้นเมื่อตั้งคาถามผู๎เรียนในแตํละสํวน เพื่อจะได๎วัดผลการเรียนในชั่วโมงนั้น ด๎วย การใช๎สื่อการสอนเชํนนี้นอกจากจะทาให๎ประหยัดแรงงานในการทาสื่อแล๎วยังใช๎ประโยชน์ ได๎เต็มที่ บรรลุผลการเรียนรู๎ที่คาดหวังในแตํละขั้นตอนของกิจกรรมการเรียนรู๎ด๎วย
  • 19. 19 9. พยายามเปิดโอกาสให๎ผู๎เรียนได๎มีกิจกรรมรํวมหรือได๎ศึกษาสื่อการสอนนั้นๆด๎วย ตนเอง เชํน การให๎ผู๎เรียนอธิบายภาพในแผํนใส หรือ อธิบายสํวนประกอบตํางๆในหุํนจาลอง เป็นต๎น 10. ควรฝึกให๎ผู๎เรียนเกิดระเบียบในการใช๎สื่อการสอน เชํน ในโอกาสที่ต๎องการแจกสื่อ การสอนไปตามโต๏ะของผู๎เรียน เพื่อทาการทดสอบ ผู๎สอนควรสํงสื่อทั้งหมดให๎กับผู๎เรียนที่นั่งอยูํ ด๎านหน๎าหยิบสํวนของตนไว๎แล๎วสํงที่เหลือให๎คนตํอไป หรือในโอกาสที่ต๎องการให๎ผู๎เรียนมาใช๎สื่อ การสอนหน๎าชั้นเรียนควรฝึกให๎ผู๎เรียนหันหน๎าเข๎าหา ชั้นเรียน และไมํยืนบังสายตาของเพื่อนจาก สื่อการสอนตํางๆที่ใช๎ 11. ควรคานึงถึงความปลอดภัย การใช๎สื่อบางชนิด โดยเฉพาะในกรณีที่จาเป็นให๎ผู๎เรียน ใช๎เองก็ควรกาชับผู๎เรียนให๎ระมัดระวังในการใช๎เป็นพิเศษ เชํน ไมํควรวางก๎านไม๎ขีดที่จุดแล๎วทิ้ง ไว๎บนโต๏ะ ซึ่งอาจทาให๎โต๏ะเป็นรอยไหม๎และอาจเกิดอุบัติเหตุขึ้นได๎ ควรมีฝาโลหะหรือจานแก๎ว หรือกระป๋องทรายสาหรับรองรับ (ชาตรี เกิดธรรม, การเลือกสื่อการสอนวิทยาศาสตร์. คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ วันที่สืบค๎น 12 ธันวาคม 2558 ) 7. วิธีสอน 7.1 วิธีการสอนได๎จ้าแนกไว๎ 14 วิธี (ทัศนา แขมมณี) 1. วิธีสอนโดยใช๎การบรรยาย (Lecture) 2. วิธีสอนโดยใช๎การสาธิต (Demonstration) 3. วิธีสอนโดยใช๎การทดลอง (Experiment) 4. วิธีสอนโดยใช๎การนิรมัย (Deduction) 5. วิธีสอนโดยใช๎การอุปนัย (Induction) 6. วิธีสอนโดยใช๎การไปทัศนศึกษา (Field Trip) 7. วิธีสอนโดยใช๎การอภิปรายกลุํมยํอย (Small Group Discussion) 8. วิธีสอนโดยใช๎การแสดงละคร (Dramatization) 9. วิธีสอนโดยใช๎การแสดงบทบาทสมมุติ (Role Playing) 10. วิธีสอนโดยใช๎กรณีตัวอยําง (Case) 11. วิธีสอนโดยใช๎เกม (Game) 12. วิธีสอนโดยใช๎สถานการณ์จ้าลอง (Simulation) 13. วิธีสอนโดยใช๎ศูนย์การเรียน (Learning Center)
  • 20. 20 14. วิธีสอนโดยใช๎บทเรียนแบบโปรแกรม (Programmed Intruction) ผู๎วิจัยได๎ศึกษาวิธีการสอ นโดยใช๎การสาธิต (Demonstration) วิธีสอนแบบสาธิต หมายถึง การที่ครูหรือนักเรียนคนใดคนหนึ่ง แสดงบางสิ่งบางอยํางให๎นักเรียนดู หรือให๎ เพื่อนๆดู อาจเป็นการแสดงการใช๎เครื่องมือแสดงให๎เห็นกระบวนการวิธีการ กลวิธีหรือการ ทดลองที่มีอันตราย ซึ่งไมํเหมาะที่จะให๎นักเรียนท้าการทดลอง การสอนวิธีนี้ชํวยให๎นักเรียนเกิด ความรู๎ความเข๎าใจและสามารถท้าในสิ่งนั้นได๎ถูกต๎อง และยังเป็นการสอนให๎นักเรียนได๎ใช๎ทักษะ ในการสังเกต และถือวําเป็นการได๎ประสบการณ์ตรงวิธีหนึ่ง วิธีสอนแบบสาธิต จึงเป็นการสอน ที่ยึดผู๎สอนเป็นศูนย์กลาง เพราะผู๎สอนเป็นผู๎วางแผน ด้าเนินการ และลงมือปฏิบัติ ผู๎เรียนอาจมี สํวนรํวมบ๎างเล็กน๎อย วิธีสอนแบบนี้จึงเหมาะส้าหรับ จุดประสงค์การสอนที่ต๎องการให๎ผู๎เรียน เห็นขั้นตอนการปฏิบัติ เชํน วิชาพลศึกษา ศิลปศึกษา อุตสาหกรรมศิลป์ วิชาในกลุํมการงาน และพื้นฐานอาชีพ เป็นต๎น 7.2 ความมุํงหมาย เพื่อแสดงให๎ผู๎เรียนได๎เห็นขั้นตอนการปฏิบัติตํางๆ ซึ่งจะชํวยให๎ผู๎เรียนเกิดความเข๎าใจ ได๎อยํางแจํมแจ๎ง และสามารถปฏิบัติตามได๎ 7.3 เมื่อใดจึงจะใช๎การสอนแบบสาธิต 1. เมื่อน้าเข๎าสูํบทเรียน ผู๎สอนสาธิตให๎ผู๎ดูเพื่อให๎ผู๎เรียนตั้งปัญหาและเกิดความอยากรู๎ อยากเห็น อยากค๎นหาค้าตอบตํอไป 2. เพื่อสร๎างปัญหาให๎ผู๎เรียนคิด 3. เพื่อต๎องการสร๎างความเข๎าใจในความคิดรวบยอด ความจริงหลักทฤษฎี โดย นักเรียนสามารถมองเห็นโดยตรง 4. เมื่ออธิบายเครื่องมือวิทยาศาสตร์สํวนไหนท้าหน๎าที่อะไร 5. เมื่อเครื่องมือที่จะท้าการทดลองมีราคาแพง หรือเกิดอันตรายได๎งําย 6. ควรค้านึงถึงฤดูกาล 7.4 โอกาศในการใช๎ เพื่อกระตุ๎นความสนใจของนักเรียนให๎มีความสนใจในบทเรียนชํวยอธิบายเนื้อหาวิชาที่ ยาก ต๎องใช๎เวลานานให๎เข๎าใจงํายขึ้นและประหยัดเวลาเพื่อแสดงวิธีการหรือกลไกวิธีในการ
  • 21. 21 ปฏิบัติงานซึ่งไมํสามารถอธิบายได๎ด๎วยค้าพูด เชํน การท้ากิจกรรม วิชาศิลปะ หัตถกรรม งาน ประดิษฐ์ นาฏศิลป์เพื่อชํวยสรุปบทเรียน เพื่อใช๎ทบทวนบทเรียน เพื่อสร๎างความเข๎าใจ ความคิดรวบยอด ความจริง หลักทฤษฎี โดยนักเรียนมองเห็นได๎โดยตรง เพื่อทดสอบหรือ ยืนยันการสังเกตในครั้งกํอนๆ วําผลเหมือนเดิมหรือไมํ 7.5 ประเภทของการสาธิต แบบที่ 1 1. สาธิตให๎ดูทั้งชั้น การสาธิตให๎ดูทั้งชั้นผู๎สอนจะต๎องระวังให๎ทุกคนมองเห็นและเข๎าใจ การสาธิตในแตํละครั้ง อยํางไรก็ตามการสาธิตให๎ดูทั้งชั้นยํอมมีผู๎เรียนบางคนไมํเข๎าใจดีพอ เนื่องจากบางคนมีพื้นความรู๎หรือประสบการณ์แตกตํางกัน 2. การสาธิตให๎ดูเป็นกลุํมหรือเป็นหมูํ เมื่อมีผู๎เรียนจ้านวนหนึ่ง เรียนไมํเข๎าใจดีพอ จึงจ้าเป็นต๎องสาธิตให๎ดูใหมํเป็นกลุํมเล็ก ในแตํละชั้นเรียนอาจมีผู๎เรียนได๎เร็วมาก ปานกลาง หรือช๎าไปบ๎าง การสาธิตให๎ดูเป็นหมูํ เฉพาะที่มีความรู๎ไลํเลี่ยกั นจะเป็นแรงจูงใจให๎ผู๎เรียนแตํละ หมูํท้างานอยํางเต็มความสามารถของตน 3. การสาธิตให๎ดูเป็นรายบุคคล เมื่อผู๎สอนสาธิตให๎ดูเป็นหมูํ เป็นกลุํมแตํผู๎เรียนบาง คนไมํอาจจะเข๎าใจการสาธิตทั้งชั้นหรือเป็นกลุํมได๎ หรือผู๎เรียนบางคนไมํได๎เข๎ารํวม ผู๎สอนจึง ต๎องสาธิตให๎ดูเป็นรายบุคคล แบบที่ 2 1. ครูแสดงการสาธิตคนเดียว ( Teacher- Demonstration) 2. ครูและนักเรียนชํวยกันแสดงสาธิต (Teacher-Student- Demonstration ) 3. กลุํมนักเรียนล๎วนเป็นผู๎สาธิต (Student Group Demonstration ) 4. นักเรียนคนเดียวเป็นผู๎สาธิต (Individual Student Demonstration ) 5. วิทยากรเป็นผู๎สาธิต ( Guest Demonstration ) 8. การสร้างแบบทดสอบ การวิจัยครั้งนี้ผู๎วิจัยใช๎แบบทดสอบแบบอัตนัย เป็นแบบทดสอบที่ประกอบด๎วย ค้าถามที่มีจ้านวนข๎อไมํมากนัก ไมํมีค้าตอบให๎เลือกตอบ ผู๎ตอบจะต๎องคิดหาค้าตอบเองโดย บูรณาการความรู๎และความคิดแล๎วแสดงออกเป็นภาษาเขียนอยํางถูกต๎องและสมเหตุสมผลตาม หลักวิชาโดยมีขั้นตอนดังนี้
  • 22. 22 1. วางแผนการสร๎างข๎อสอบตั้งวัตถุประสงค์ของการสร๎างข๎อสอบอัตนัยวํามุํงวัด พฤติกรรมด๎านใด 2. ขั้นการสร๎างแบบทดสอบจะเน๎นค้าตอบสั้น ๆ เน๎นค้าตอบที่มีขอบเขตจ้ากัด 3. ขั้นคัดเลือกแบบทดสอบ จะเลือกแบบทดสอบตามจ้านวนข๎อที่ต๎องการ พร๎อมทั้ง พิจารณาวําจ้านวนข๎อที่คัดเลือกให๎เหมาะสมกับระยะเวลาในการสอบ 4. การให๎คะแนน ผู๎วิจัยจะ วิเคราะห์เป็นสํวน ๆ เป็นวิธีการตรวจให๎คะแนนโดยการ เปรียบเทียบค้าตอบกับค้าเฉลย 9. เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง Claudine Kavanagh. (2007). Learning about Gravity II. Trajectories and Orbits: A Guide for Teachers and Curriculum Developers. Astronomy Education Review, 5(2).
  • 23. 23 บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย การวิจัยครั้งนี้จัดท้าขึ้นเพื่อศึกษาความเข๎าใจผิดของกลุํมตัวอยํางในเรื่อง ความเข๎าใจ ผิดทางแนวคิดพื้นฐานในเนื้อหาสาระเกี่ยวกับแรงโน๎มถํวงโดยมีขั้นตอนดังตํอไปนี้ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สายวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ โรงเรียนฟากกว๏าน วิทยาคม จังหวัดพะเยา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 จ้านวน 26 คน เป็นนักเรียนชาย 13 คน นักเรียนหญิง 13 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช๎ในการศึกษาค๎นคว๎าประกอบด๎วย 1. แผนการสาธิตกิจกรรมเรื่อง แรงโน๎มถํวงกับอากาศ จากที่ได๎ศึกษาเนื้อหาเรื่อง แรงโน๎มถํวง ผู๎วิจัยได๎วางแผนกิจกรรมการสาธิต โดย การสาธิตประกอบด๎วย แบบส้ารวจกํอนเรียนและหลังเรียน สื่อการสอนชุดทดลองเรื่อง กระดิ่ง ไฟฟ้าในสุญญากาศ และเอกสารประกอบการสาธิต 2. แรงโน๎มถํวง ซึ่งเป็นข๎อสอบแบบอัตนัย จ้านวน 6 ข๎อ 2.1 จากการศึกษาเนื้อหาเรื่องแรงโน๎มถํวง ผู๎วิจัยได๎ออกแบบ แบบส้ารวจกํอนเรียน และหลังเรียน โดยแบบส้าร วจกํอนเรียนและหลังเรียนเป็นแบบส้ารวจอัตนัย มีประเด็นค้าถาม ใกล๎เคียงกัน 2.2 น้าแบบส้ารวจที่ผู๎วิจัยออกแบบให๎อาจารย์ที่ปรึกษาตรวจสอบความถูกต๎อง และเสนอแนะ 2.3 ผู๎วิจัยน้าสิ่งที่อาจารย์ที่ปรึกษาเสนอแนะมาปรับปรุงแก๎ไข และสํงให๎อาจารย์ที่ ปรึกษาตรวจอีกครั้ง 3. สื่อที่ใช๎ในการสาธิต ชุดทดลองเรื่อง กระดิ่งไฟฟ้าในสุญญากาศ
  • 24. 24 3.1 ศึกษาเอกสารตํางๆ เกี่ยวกับ เรื่องแรงโน๎มถํวง และตัวอยํางสื่อการสอนจาก แหลํงตํางๆ 3.2 น้าสิ่งที่ได๎ศึกษามาออกแบบเป็นเป็นสื่อการสอน มีอุปกรณ์ดังนี้ 3.2.1 ชุดการทดลองส้าเร็จรูป เรื่อง กระดิ่งไฟฟ้าในสุญญากาศ 3.2.2 มวลแขวนสปริง 3.2.3 สเกลไม๎บรรทัด รูปที่ 3.1 สื่อการสอน (ชุดการทดลองกระดิ่งไฟฟ้าในสุญญากาศ) การดําเนินงานวิจัย การด้าเนินงานวิจัยในครั้งนี้ผู๎วิจัยได๎ทบทวนงานวิจัยและมีการวางแผนการด้าเนินงาน มีขั้นตอนดังนี้ 1. การทบทวนงานวิจัยในประเด็ นการเรียนการสอนของประเทศไทยและตํางประเทศ ท้าให๎ผู๎วิจัยเกิดความสนใจที่จะน้าความรู๎จากการทบทวนงานวิจัยมาประยุกต์ใช๎ศึกษากับ นักเรียนไทยวํา มีความเข๎าใจผิดในเนื้อหาวิชาฟิสิกส์พื้นฐานเรื่อง แรงโน๎มถํวงหรือไมํ
  • 25. 25 2. การวางแผนงานคือ ผู๎วิจัยจะใช๎แบบ ส้ารวจความเข๎า ใจของนั กเรียนกํอน วํามี ปัญหาความเข๎าใจผิดเกี่ยวกับเรื่องแรงโน๎มถํวงหรือไมํ หลังจากนั้นจะ ประดิษฐ์ สื่อการสอน ส้าหรับการแก๎ปัญหาความเข๎าใจผิดนั้น และผู๎วิจัยจะใช๎แบบส้ารวจความเข๎าใจกับผู๎เรียนอีกครั้ง เพื่อวิเคราะห์ผลวําการสอนโดยใช๎สื่อจะชํวยให๎ผู๎เรียนเข๎าใจขึ้นหรือไมํ 3. การออกแบบผู๎วิจัยจะใช๎ แบบส้ารวจความเข๎าใจกํอนเรียน- หลังเรียน ใช๎การตอบ ค้าถามแบบอัตนัยจ้านวน 6 ข๎อ โดยการตั้งค้าถามเพื่อการส้ารวจนั้นอยูํ ในการดูแลของครูที่ ปรึกษา รวมถึงการออกแบบสื่อการสอนส้าหรับ แก๎ปัญหาความเข๎าใจผิดดังกลําวก็อยูํในการ ดูแลของครูที่ปรึกษาเชํนกัน 4. การเลือกกลุํมตัวอยําง ผู๎วิจัยใช๎กลุํมตัวอยํางเป็นนักเรียนสายวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ โรงเรียนฟากกว๏านวิทยาคม โดยใช๎สูตรการเลือกกลุํมตัวอยํางของTARO YAMANE ใช๎ความเชื่อมั่นที่ 85% ได๎ขนาดของหนํวยตัวอยํางกลุํมเป้าหมาย จ้านวน 26 คน จากประชากร ทั้งหมด 60 คน 5. การวิเคราะห์ผล การเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข๎อมูลในครั้งนี้ผู๎วิจัยท้าการเก็บรวบรวมข๎อมูลด๎วยตนเอง ซึ่งมี ขั้นตอนดังนี้ 1. ท้าหนังสือขอความอนุเคราะห์ผู๎บริหารโรงเรียนฟากกว๏านวิทยาคม เพื่อขอกลุํม ตัวอยําง 2. ใช๎แบบส้ารวจความเข๎าใจผิดกํอนเรียนเรื่อง แรงโน๎มถํวง กับผู๎เรียนกํอนใช๎เวลา 20 นาที 3. สาธิตกิจกรรมโดยสื่อการสอนชุด กระดิ่งไฟฟ้าในสุญญากาศ ใช๎เวลา 30 นาที 4. ใช๎แบบส้ารวจความเข๎าใจผิดหลังเรียนเรื่อง แรงโน๎มถํวง กับผู๎เรียนอีกครั้ง ใช๎เวลา 20 นาที 5. วิเคราะห์ผล วํานักเรียนมีความที่ถูกต๎องเพิ่มมากขึ้นหรือไมํ 6. สรุปผลการการวิจัยตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
  • 27. 27 บทที่ 4 ผลการวิจัย ผู๎วิจัยได๎น้าข๎อมูลตัวอยํางที่เก็บรวบรวมมาได๎จ้านวน 26 ชุดที่มาท้า การวิเคราะห์ ด๎วยวิธีการทางสถิติ (ร๎อยละ) โดยจะน้าเสนอผลการ วิเคราะห์กํอนเรียนและหลังเรียน ดังตํอไปนี้ ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 1. สรุปความเข๎าใจกํอนเรียนและหลังเรียนของกลุํมตัวอยําง 2. แนวการตอบค้าถามกํอนเรียนและหลังเรียนของกลุํมตัวอยําง 3. สรุปผลการเปรียบเทียบการตอบค้าถามกํอนเรียนและหลังเรียน ของกลุํมตัวอยําง สรุปความเข้าใจก่อนเรียนและหลังเรียนของกลุ่มตัวอย่าง (ข้อที่ 1 ) รูปที่ 4.1 สรุปความเข๎าใจกํอนเรียนและหลังเรียนของกลุํมตัวอยําง (ข๎อที่ 1) ตารางที่ 4.1 แนวการตอบคําถามก่อนเรียนของกลุ่มตัวอย่าง (ข้อที่ 1) คําถามที่ 1 ถ๎าไมํมีอากาศจะมีแรงโน๎มถํวงหรือไมํ เพราะเหตุใด ถูก/ผิด แนวคําตอบ ถูก [11] - เพราะมันไมํเกี่ยวข๎องกัน [6] - เพราะแรงโน๎มถํวงออกมาจากใจกลางโลก กํอนเรียน หลังเรียน