SlideShare a Scribd company logo
การสารวจเบื้องต้น
(Preliminary Investigation)
การสารวจเบื้องต้น (Preliminary Investigation)
การสารวจเบื้องต้นอยู่ในส่วนของการวางแผนระบบ ซึ่งเป็นระยะแรกของวงจรการ
พัฒนาระบบ(SDLC) เป็นการระบุถึงปัญหาที่เกิดขึ้น กาหนดทางเลือกและวิธีการในการ
แก้ปัญหา โดยการนาเอาระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ให้
เหมาะสม
การกาหนดประเด็นปัญหา (Problem
Definition)
เป็นสิ่งสาคัญและเป็นจุดเริ่มต้นของกระบวนการพัฒนาระบบทั้งหมด เพราะหากสรุป
ปัญหาและเป้าหมายในการแก้ปัญหาได้ถูกต้อง ก็จะนาไปสู่การพัฒนาระบบที่ตอบสนองต่อ
ความต้องการใช้งาน
วิธีการรวบรวมข้อมูล
วิธีการ สัญญานที่บ่งบอกถึงปัญหา
ตรวจสอบผลลัพธ์ที่ได้กับเกณฑ์ที่กาหนดไว้ พบข้อผิดพลาดระหว่างการทางาน
งานสาเร็จล่าช้ากว่าที่กาหนดไว้
งานที่ได้ไม่ถูกต้อง
งานที่ได้ไม่สมบูรณ์
งานที่ค้างต่อวันมากเกินไป
ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานสูงเกินกว่าที่กาหนดไว้
วิธีการรวบรวมข้อมูล (ต่อ)
วิธีการ สัญญานที่บ่งบอกถึงปัญหา
สังเกตพฤติกรรมของพนักงานในองค์กร การมาสาย/ลา/ขาดงาน/ลาออกของพนักงาน
จานวนพนักงานที่ใช้ในการทางานมากเกินความ
จาเป็น
พนักงานไม่ให้ความสนใจลูกค้า
ผลงานที่ได้อยู่ในระดับที่ไม่น่าพึงพอใจ
ผลงานถูกส่งกลับมาแก้ไขบ่อยครั้ง
ศึกษาจากรายงานสถิติต่าง ๆ ขององค์กร รายงานปัญหาจากฝ่ายต่าง ๆ รวมทั้งผู้บริหาร
รายงานผลการดาเนินงานจากฝ่ายคอมพิวเตอร์
รายงานจากผู้ตรวจสอบภายใน
วิธีการรวบรวมข้อมูล (ต่อ)
วิธีการ สัญญานที่บ่งบอกถึงปัญหา
สังเกคจากผลสะท้อนกลับจากภายนอกองค์กร เช่น
ลูกค้า ผู้ขาย และผู้ผลิตวัตถุดิบให้แก่องค์กร
คาวิจารณ์และข้อเสนอแนะ
การถูกปฏิเสธการขาย
ส่วนแบ่งการตลาดและกาไรลดลง
ผลจากการศึกษาประเด็นปัญหา
1. การนิยามปัญหา เป็นการอธิบายถึงปัญหาทุกประเด็นที่เกิดขึ้นทั้งปัญหาหลักและปัญหาอื่น
ๆ
2. การกาหนดขอบเขตของปัญหา เป็นการระบุถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นจากปัญหาดังกล่าวในทุก
มุมมองว่าส่งผลในระดับใดบ้าง
3. การกาหนดเป้าหมายในการแก้ปัญหา เป็นสิ่งสาคัญของการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นด้วยการ
ปรับปรุงกระบวนการทางานที่เกี่ยวข้องกับปัญหานั้น ๆ
การศึกษาสถานภาพของระบบปัจจุบัน
การศึกษาสถานภาพของระบบปัจจุบัน เป็นขั้นตอนของการรวบรวมข้อเท็จจริงจาก
ระบบปัจจุบัน เพื่อให้เข้าใจระบบงานรวมไปถึงปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นและนาไปใช้สื่อสาร
ร่วมกันระหว่างทีมนักพัฒนาระบบและผู้ใช้ที่เกี่ยวข้อง
เครื่องมือที่นิยมนามาใช้
1. การสร้างแบบจาลองของระบบ
2. การวิเคราะห์จุดแข็งและจุดอ่อน (SWOT Analysis)
1. การสร้างแบบจาลองของระบบ
1. ระบบปัจจุบัน
1. แบบจาลองของระบบปัจจุบันในเชิงกายภาพ (Current Physical System)
2. แบบจาลองของระบบปัจจุบันในเชิงกายภาพ (Current Logical System)
2. ระบบใหม่
1. แบบจาลองของระบบปัจจุบันในเชิงกายภาพ (New Logical System)
2. แบบจาลองของระบบปัจจุบันในเชิงกายภาพ (New Physical System)
2. การวิเคราะห์จุดแข็งและจุดอ่อน (SWOT
Analysis)
1. จุดแข็ง (Strength +)
• ภายใน เช่น บุคลากร การรักษาความปลอดภัยของระบบ การบริการ
2. จุดอ่อน (Weakness -)
• ภายใน เช่น ความล่าช้าของระบบ การเชื่อมโยงข้อมูลกับระบบอื่น
3. โอกาส (Opportunity +)
• ภายนอก เช่น สภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง กฎหมาย เทคโนโลยี
4. ภัยคุกคาม (Threat -)
• ภายนอก เช่น อัตราดอกเบี้ย อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต้นทุนทางพลังงาน
สรุปแนวทางในการแก้ไขปัญหาระบบงาน
ปัจจุบัน
สรุปแนวทางในการแก้ไขปัญหาระบบงาน
ปัจจุบัน (ต่อ)
1. ยังคงใช้ระบบงานเดิม
• เปลี่ยนกระบวนการทางาน อบรมเพื่อเพิ่มทักษะความชานาญ
2. ปรับปรุงระบบเดิม
• เพื่อให้ทันสมัยและตรงกับความต้องการยิ่งขึ้น นาเทคโนโลยีเข้ามาใช้ เพิ่มประสิทธิภาพระบบ
3. พัฒนาระบบใหม่
• ล้าสมัย พบข้อผิดพลาดบ่อย ระบบงานซ้าซ้อนมาก ปรับปรุงระบบเดิมเสียเวลาและค่าใช้จ่ายสูงกว่า
พัฒนาระบบใหม่
การศึกษาความเป็ นไปได้ (Feasibility Study)
หมายถึง การพิจารณาถึงความเหมาะสมและประโยชน์ที่จะได้รับเมื่อเปรียบเทียบกับ
ทรัพยากรที่ใช้ไป ทาให้สามารถตัดสินใจกาหนดทางเลือกในการแก้ไขปัญหาได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
ประโยชน์ของการศึกษาความเป็นไปได้
• เข้าใจถึงนิยามและขอบเขตของปัญหา รวมทั้งเป้าหมายในการพัฒนาระบบอย่างชัดเจน
• พัฒนาระบบที่เหมาะสมกับองค์กรได้
• ลดความเสี่ยงจากการประมาณการที่ผิดพลาด
• ทาให้แน่ใจว่าจะได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหารหรือไม่
การศึกษาความเป็ นไปได้ (Feasibility Study)
(ต่อ)
1. ความเป็นไปได้ด้านการดาเนินงาน (Operational Feasibility)
2. ความเป็นไปได้ด้านเทคนิค (Technical Feasibility)
3. ความเป็นไปได้ด้านเศรษฐศาสตร์ (Economic Feasibility)
4. ความเป็นไปได้ด้านระยะเวลาการดาเนินงาน (Schedule Feasibility)
การศึกษาความเป็ นไปได้ (Feasibility Study)
(ต่อ)
1. ความเป็นไปได้ด้านการดาเนินงาน (Operational Feasibility)
1. ผลการดาเนินงาน
2. สารสนเทศ
3. ประสิทธิภาพ
4. การควบคุม
5. การบริการ
การศึกษาความเป็ นไปได้ (Feasibility Study)
(ต่อ)
2. ความเป็นไปได้ด้านเทคนิค (Technical Feasibility)
1. ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคนิคขององค์กร
2. เทคโนโลยีที่นามาใช้ในระบบใหม่ที่จะพัฒนา
• ประสิทธิภาพของฮาร์ดแวร์ ซอฟท์แวร์ และอุปกรณ์ต่อพ่วงอื่น ๆ
• ความปลอดภัย
• ความเข้ากันของฮาร์ดแวร์ ซอฟท์แวร์ และอุปกรณ์ต่อพ่วงอื่น ๆ
• การรองรับสาหรับการขยายงานในอนาคต
การศึกษาความเป็ นไปได้ (Feasibility Study)
(ต่อ)
3. ความเป็นไปได้ด้านเศรษฐศาสตร์ (Economic Feasibility)
1. ต้นทุน (Costs)
• ต้นทุนที่จับต้องได้ (Tangible Costs)
• ต้นทุนที่จับต้องไม่ได้ (Intangible Costs)
2. ผลตอบแทน (Benefits)
• ผลตอบแทนที่จับต้องได้ (Tangible Benefits)
• ผลตอบแทนที่จับต้องไม่ได้ (Intangible Benefits)
การศึกษาความเป็ นไปได้ (Feasibility Study)
(ต่อ)
4. ความเป็นไปได้ด้านระยะเวลาการดาเนินงาน (Schedule Feasibility)
การจัดทาแผนการดาเนินโครงการ (Software
Development Plan : SDP)
1. การกาหนดขอบเขตโครงการ(Project Scope)
2. การวางแผนการใช้ทรัพยากร (Resource Planning)
3. การกาหนดกิจกรรมและระยะเวลาการทางาน (Work Breakdown
Structure and Schedule)
การจัดทาแผนการดาเนินโครงการ (Software
Development Plan : SDP) (ต่อ)
4. การวิเคราะห์ความเสี่ยง
• ขนาดโครงการ
• ลักษณะของโครงการ
• เทคโนโลยีที่นามาใช้ในโครงการ
• ทัศนคติของผู้ใช้กับการพัฒนาระบบ
การจัดทาแผนการดาเนินโครงการ (Software
Development Plan : SDP) (ต่อ)
5. การจัดทาข้อกาหนดของงาน (Statement of Work) 3 ด้าน
• ยุทธสาสตร์ด้านผลผลิต (Productivity Strategy)
• ยุทธศาสตร์ด้านความแตกต่าง (Differentiation Strategy)
• ยุทธศาสตร์ด้านการจัดการ (Management Strategy)
หมายเหตุ : ข้อมูลและรายละเอียดทั้งหมดจะสรุปรวบรวมไว้ใน
รายงานการศึกษาเบื้องต้น (Inception Report)
แผนภาพสรุปการสารวจเบื้องต้น
แบบฝึ กหัด
1. อธิบายวัตถุประสงค์และความสาคัญของการสารวจเบื้องต้น
2. อธิบายวิธีการต่าง ๆ ในการกาหนดประเด็นปัญหา พร้อมทั้งยกตัวอย่างประกอบ
3. อธิบายวัตถุประสงค์ของการศึกษาสถานภาพของระบบปัจจุบัน พร้อมทั้ง
คุณลักษณะสาคัญของแบบจาลองต่าง ๆ ที่สร้างขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูลในขั้นตอน
ดังกล่าว
4. SWOT Analysis คืออะไร และมีประโยชน์ในแง่ของการจัดองค์กรอย่างไร
5. การศึกษาความเป็นไปได้แบ่งออกเป็นกี่ด้าน และแต่ละด้านมีประเด็นหลักในการ
พิจารณาความเป็นไปได้อย่างไรบ้าง
แบบฝึ กหัด (ต่อ)
6. การจัดทาแผนการดาเนินโครงการจะประกอบไปด้วยกิจกรรมใดบ้าง
7. อธิบายรายละเอียดของปัจจัยที่อาจก่อให้เกิดความเสี่ยงสาหรับโครงการพัฒนา
ระบบสารสนเทศ
8. แผนยุทธศาสตร์ในการพัฒนาระบบแบ่งออกเป็นกี่ด้าน และแต่ละด้านมี
วัตถุประสงค์ในการดาเนินงานอย่างไร
9. ผลที่ได้จากการสารวจเบื้องต้นจะถูกรวบรวมไว้ในเอกสารใด

More Related Content

What's hot

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaWan Ngamwongwan
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
Pinutchaya Nakchumroon
 
Learning force p5
Learning force p5Learning force p5
Learning force p5
Ornrutai
 
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณคำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณRock Rockie
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลก
พัน พัน
 
ตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการ
justymew
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
Wijitta DevilTeacher
 
Biomass energy
Biomass energy Biomass energy
Biomass energy
pitsanu duangkartok
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)
Thitaree Samphao
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
Pinutchaya Nakchumroon
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
Thanyamon Chat.
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
Ta Lattapol
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
Pinutchaya Nakchumroon
 
Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03
Chay Kung
 
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
Chanthawan Suwanhitathorn
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
Ta Lattapol
 
ลักษณะเฉพะของข้อสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
ลักษณะเฉพะของข้อสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ลักษณะเฉพะของข้อสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
ลักษณะเฉพะของข้อสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์สมพงษ์ หาคำ
 

What's hot (20)

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
 
Learning force p5
Learning force p5Learning force p5
Learning force p5
 
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณคำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลก
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
ตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการ
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
Biomass energy
Biomass energy Biomass energy
Biomass energy
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03
 
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
ลักษณะเฉพะของข้อสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
ลักษณะเฉพะของข้อสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ลักษณะเฉพะของข้อสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
ลักษณะเฉพะของข้อสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
 

Similar to การสำรวจเบื้องต้น Preliminary Investigation

ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ053681478
 
Chapter 02
Chapter 02Chapter 02
Chapter 02
Komsun See
 
แนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพ
แนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพแนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพ
แนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพRapeepan Thawornwanchai
 
สารสนเทศบทที่5
สารสนเทศบทที่5สารสนเทศบทที่5
สารสนเทศบทที่5parnee
 
การพัฒนาระบบสารสนเทศสถานศึ
การพัฒนาระบบสารสนเทศสถานศึการพัฒนาระบบสารสนเทศสถานศึ
การพัฒนาระบบสารสนเทศสถานศึteacher253
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เฟิน กะ ไค๊
 
Mini Master in software testing
Mini Master in software testingMini Master in software testing
Mini Master in software testing
Software Park Thailand
 
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
Thitikorn Prakrongyad
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศPaweena Kittitongchaikul
 
The system-analysis-and-design
The system-analysis-and-designThe system-analysis-and-design
The system-analysis-and-design
tumetr
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
Jakarin Damrak
 
Sdlc
SdlcSdlc
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาNaitbuu
 

Similar to การสำรวจเบื้องต้น Preliminary Investigation (20)

ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
Unit01
Unit01Unit01
Unit01
 
Ch8
Ch8Ch8
Ch8
 
Ch8
Ch8Ch8
Ch8
 
Chapter 02
Chapter 02Chapter 02
Chapter 02
 
แนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพ
แนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพแนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพ
แนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพ
 
สารสนเทศบทที่5
สารสนเทศบทที่5สารสนเทศบทที่5
สารสนเทศบทที่5
 
Inno5
Inno5Inno5
Inno5
 
การพัฒนาระบบสารสนเทศสถานศึ
การพัฒนาระบบสารสนเทศสถานศึการพัฒนาระบบสารสนเทศสถานศึ
การพัฒนาระบบสารสนเทศสถานศึ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Mini Master in software testing
Mini Master in software testingMini Master in software testing
Mini Master in software testing
 
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
The system-analysis-and-design
The system-analysis-and-designThe system-analysis-and-design
The system-analysis-and-design
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
 
56456456
5645645656456456
56456456
 
Sdlc
SdlcSdlc
Sdlc
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 

การสำรวจเบื้องต้น Preliminary Investigation