SlideShare a Scribd company logo
ทฤษฎีส ม พัน ธ์เ ชือ มโยงของธอร์น ไดค์
       ั           ่
( Thorndike’s early
            Connectionism )
แนวคิด ของธอร์น ไดค์
        ธอร์น ไดค์ (Edwar dL
T hor ndike) เป็นนักจิตวิทยาและ
นักการศึกษาชาวอเมริกน เป็นเจ้าของ
                            ั
 ทฤษฎีการเรียนรู้ทเน้นความสัมพันธ์
                   ี่
 เชือมโยงระหว่างสิงเร้า (S) กับการ
    ่                 ่
ตอบสนอง (R) เขาเชือว่าการเรียนรู้
                          ่
 เกิดขึ้นได้ตองสร้างสิงเชื่อมโยงหรือ
             ้          ่
 พันธ์(Bond) ระหว่างสิงเร้ากับการ
                              ่
ตอบสนอง จึงเรียกทฤษฎีนว่า ทฤษฎี ี้
พันธะระหว่างสิงเร้ากับการตอบสนอง
               ่
หลัก การเรีย นรู้

      หลัก การเรีย นรู้    ทฤษฎีสัมพันธ์
                           
เชื่อมโยง กล่าวถึง การเชื่อมโยงระหว่าง
  สิงเร้ากับการตอบสนอง โดยมีหลักพืน
    ่                                 ้
 ฐานว่า การเรียนรู้เกิดจากการเชือมโยง
                                  ่
 ระหว่างสิงเร้ากับการตอบสนองที่มกจะ
            ่                       ั
  ออกมาในรูปแบบต่างๆ หลายรูปแบบ
 โดยการลองถูกลองผิด จนกว่าจะพบรูป
         แบบทีดีและเหมาะสมทีสด
              ่               ่ ุ
1. กฎแห่ง ความพร้อ ม ( Law of
 readiness )    หมายถึง สภาพความ
 พร้อมหรือวุฒิภาวะของผู้เรียนทั้งทาง
 ร่างกาย อวัยวะต่างๆ ในการเรียนรู้
 และจิตใจ รวมทั้งพื้นฐานและ
 ประสบการณ์เดิม สภาพความพร้อม
 ของหู ตา ประสาทสมองกล้ามเนือ    ้
 ประสบการณ์เดิมที่จะเชื่อมโยงกับ
 ความรู้ใหม่หรือสิ่งใหม่ ตลอดจน
 ความสนใจ ความเข้าใจต่อสิ่งที่เห็น
2. กฎแห่ง การฝึก หัด (Law o f
 Exercise)       หมายถึง การทีผู้เรียน
                                 ่
 ได้ฝึกหัดหรือกระทำาซำ้าๆบ่อยๆ ย่อมจะ
 ทำาให้เกิดความสมบูรณ์ถกต้อง ซึ่งกฎ
                         ู
 นีเป็นการเน้นความมั่นคงระหว่างการ
   ้
 เชือมโยงและการตอบสนองที่ถกต้อง
     ่                         ู
 ย่อมนำามาซึ่งความสมบูรณ์
3. กฎแห่ง ความพอใจ (Law of
   Effect) กฎนี้ เป็นผลทำาให้เกิด
ความพอใจ กล่าวคือ เมื่ออินทรีย์ได้รับ
ความพอใจ จะทำาให้หรือสิงเชือมโยง
                            ่ ่
แข็งมันคง ในทางกลับกันหากอินทรีย์
      ่
 ได้รับความไม่พอใจ จะทำาให้พันธะ
หรือสิงเชื่อมโยงระหว่างสิงเร้ากับการ
        ่                 ่
ตอบสนองอ่อนกำาลังลง หรืออาจกล่าว
 ได้ว่า หากอินทรีย์ได้รับความพอใจ
 จากผลการทำากิจกรรม ก็จะเกิดผลดี
กับการเรียนรู้ทำาให้อินทรีย์อยากเรียน
การทดลอง
                   
  ในการทดลอง ธอร์นไดค์ได้นำาแมวไป
 ขังไว้ในกรงทีสร้างขึ้น แล้วนำาปลาไป
                ่
 วางล่อไวนอกกรงให้ห่างพอประมาณ
โดยให้แมวไม่สามารถยื่นเท้าไปเขี่ยได้
จากการสังเกต พบว่าแมวพยายามใช้วิธี
 การต่าง ๆ เพือจะออกไปจากกรง จน
              ่
 กระทั่งเท้าของมันไปเหยียบถูกคานไม้
 โดยบังเอิญ ทำาให้ประตูเปิดออก หลัง
จากนันแมวก็ใช้เวลาในการเปิดกรงได้
      ้
จากการทดลอง ธอร์น ไดค์อ ธิบ าย
ว่า การตอบสนองซึ่ง แมวแสดงออก
มาเพื่อ แก้ป ัญ หา เป็น การตอบสนอง
    แบบลองผิด ลองถูก การที่แ มว
 สามารถเปิด กรงได้เ ร็ว ขึ้น ในช่ว ง
   หลัง แสดงว่า แมวเกิด การสร้า ง
พัน ธะหรือ ตัว เชื่อ มขึ้น ระหว่า งคาน
         ไม้ก ับ การกดคานไม้
การประยุก ต์ท ฤษฎีข องธ
       อร์น ไดค์
1.ธอร์นไดค์ในฐานะนักจิตวิทยาการ
  ศึกษา เข้าได้ให้ความสนใจใน
  ปัญหาการปรับปรุงการเรียนการ
  สอนของนักเรียนในโรงเรียน เขา
  เน้นว่า นักเรียนต้องให้ความสนใจ
  ในสิงทีเรียน ความสนใจจะเกิดขึ้น
       ่ ่
  ก็ต่อเมื่อครูจัดเนือหาทีผู้เรียนมอง
                     ้    ่
  เห็นว่ามีความสำาคัญต่อตัวเขา
2. ครูควรจะสอนเด็กเมือเด็กมีความพร้อมที่
                         ่
 เรียน ผู้เรียนต้องมีวุฒิภาวะเพียงพอที่จะ
 เรียนและไม่ตกอยูในสภาวะบางอย่าง เช่น
                    ่
 เหนื่อย ง่วงนอน เป็นต้น

3. ครูควรจัดให้ผู้เรียนได้มีโอกาสฝึกฝน
 และทดทวนในสิงที่เรียนไปแล้วในเวลาอัน
                ่
 เหมาะสม

4. ครูควรจัดให้ผู้เรียนได้รับความพึงพอใจ
                                   ่
 และประสบผลสำาเร็จในการทำากิจกรรม
อ้างอิง

http://ednet.kku.ac.th/~sumcha/tar/page
s/operent/thorndike.htm

More Related Content

What's hot

บรู
บรูบรู
บรู
pattamasatun
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
Mod DW
 
Values
ValuesValues
Values
June Ongart
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้pajyeeb
 
Mapทฤษฎีการเรียนรู้
Mapทฤษฎีการเรียนรู้Mapทฤษฎีการเรียนรู้
Mapทฤษฎีการเรียนรู้
TupPee Zhouyongfang
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
Kanny Redcolor
 
นวัตกรรม 21022015
นวัตกรรม 21022015นวัตกรรม 21022015
นวัตกรรม 21022015
juthamat fuangfoo
 

What's hot (7)

บรู
บรูบรู
บรู
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
Values
ValuesValues
Values
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
Mapทฤษฎีการเรียนรู้
Mapทฤษฎีการเรียนรู้Mapทฤษฎีการเรียนรู้
Mapทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
นวัตกรรม 21022015
นวัตกรรม 21022015นวัตกรรม 21022015
นวัตกรรม 21022015
 

Viewers also liked

Part 1 (rhacid)
Part 1 (rhacid)Part 1 (rhacid)
Part 1 (rhacid)
group4zer
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้maymymay
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
7roommate
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2kungcomedu
 
ทฤษฏีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์(Thorndike’s
ทฤษฏีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์(Thorndike’sทฤษฏีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์(Thorndike’s
ทฤษฏีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์(Thorndike’s
Wuttipong Tubkrathok
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
จารุวรรณ ชื่นใจชน
 
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
Pop Punkum
 
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์monnareerat
 
ธอร์นไดค์
ธอร์นไดค์ธอร์นไดค์
ธอร์นไดค์
ping1393
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
7roommate
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Nat Thida
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้masaya_32
 

Viewers also liked (17)

บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
จิต
จิตจิต
จิต
 
Part 1 (rhacid)
Part 1 (rhacid)Part 1 (rhacid)
Part 1 (rhacid)
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ 333333
จิตวิทยาการเรียนรู้ 333333จิตวิทยาการเรียนรู้ 333333
จิตวิทยาการเรียนรู้ 333333
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
 
บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)
 
ทฤษฏีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์(Thorndike’s
ทฤษฏีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์(Thorndike’sทฤษฏีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์(Thorndike’s
ทฤษฏีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์(Thorndike’s
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
 
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์
 
ธอร์นไดค์
ธอร์นไดค์ธอร์นไดค์
ธอร์นไดค์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 

Similar to Original thorndike

ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
Pattarawadee Dangkrajang
 
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาitedu355
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3poms0077
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2poms0077
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3poms0077
 
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth025cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02Mai Amino
 
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้Tawanat Ruamphan
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...Rorsed Mardra
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...Rorsed Mardra
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...Rorsed Mardra
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...Rorsed Mardra
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2team00428
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้pajyeeb
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
Natida Boonyadetwong
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้hadesza
 
จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้kungcomedu
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
Bay Phitsacha Kanjanawiwin
 
จิตวิทยา
จิตวิทยาจิตวิทยา
จิตวิทยาpoms0077
 

Similar to Original thorndike (20)

ทดลองส่ง 538144213
ทดลองส่ง 538144213ทดลองส่ง 538144213
ทดลองส่ง 538144213
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
 
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth025cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
 
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ 5555
จิตวิทยาการเรียนรู้ 5555จิตวิทยาการเรียนรู้ 5555
จิตวิทยาการเรียนรู้ 5555
 
จิตวิทยา
จิตวิทยาจิตวิทยา
จิตวิทยา
 

More from Rorsed Mardra

Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
Rorsed Mardra
 

More from Rorsed Mardra (20)

Original bandura
Original banduraOriginal bandura
Original bandura
 
Original ausubel
Original ausubelOriginal ausubel
Original ausubel
 
Original kohlberg
Original kohlbergOriginal kohlberg
Original kohlberg
 
Original b.
Original b.Original b.
Original b.
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
Original bandura
Original banduraOriginal bandura
Original bandura
 
Original ausubel
Original ausubelOriginal ausubel
Original ausubel
 
Original bandura
Original banduraOriginal bandura
Original bandura
 
Original ausubel
Original ausubelOriginal ausubel
Original ausubel
 
Original bandura
Original banduraOriginal bandura
Original bandura
 
Original ausubel
Original ausubelOriginal ausubel
Original ausubel
 
Original bandura
Original banduraOriginal bandura
Original bandura
 
Original ausubel
Original ausubelOriginal ausubel
Original ausubel
 
Original bandura
Original banduraOriginal bandura
Original bandura
 
Original kohlberg
Original kohlbergOriginal kohlberg
Original kohlberg
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
บรู
บรูบรู
บรู
 
บรู
บรูบรู
บรู
 
ฟรอยด์
ฟรอยด์ฟรอยด์
ฟรอยด์
 

Original thorndike

  • 1. ทฤษฎีส ม พัน ธ์เ ชือ มโยงของธอร์น ไดค์ ั ่ ( Thorndike’s early Connectionism )
  • 2. แนวคิด ของธอร์น ไดค์ ธอร์น ไดค์ (Edwar dL T hor ndike) เป็นนักจิตวิทยาและ นักการศึกษาชาวอเมริกน เป็นเจ้าของ ั ทฤษฎีการเรียนรู้ทเน้นความสัมพันธ์ ี่ เชือมโยงระหว่างสิงเร้า (S) กับการ ่ ่ ตอบสนอง (R) เขาเชือว่าการเรียนรู้ ่ เกิดขึ้นได้ตองสร้างสิงเชื่อมโยงหรือ ้ ่ พันธ์(Bond) ระหว่างสิงเร้ากับการ ่ ตอบสนอง จึงเรียกทฤษฎีนว่า ทฤษฎี ี้ พันธะระหว่างสิงเร้ากับการตอบสนอง ่
  • 3. หลัก การเรีย นรู้ หลัก การเรีย นรู้    ทฤษฎีสัมพันธ์      เชื่อมโยง กล่าวถึง การเชื่อมโยงระหว่าง สิงเร้ากับการตอบสนอง โดยมีหลักพืน ่ ้ ฐานว่า การเรียนรู้เกิดจากการเชือมโยง ่ ระหว่างสิงเร้ากับการตอบสนองที่มกจะ ่ ั ออกมาในรูปแบบต่างๆ หลายรูปแบบ โดยการลองถูกลองผิด จนกว่าจะพบรูป แบบทีดีและเหมาะสมทีสด ่ ่ ุ
  • 4. 1. กฎแห่ง ความพร้อ ม ( Law of readiness ) หมายถึง สภาพความ พร้อมหรือวุฒิภาวะของผู้เรียนทั้งทาง ร่างกาย อวัยวะต่างๆ ในการเรียนรู้ และจิตใจ รวมทั้งพื้นฐานและ ประสบการณ์เดิม สภาพความพร้อม ของหู ตา ประสาทสมองกล้ามเนือ ้ ประสบการณ์เดิมที่จะเชื่อมโยงกับ ความรู้ใหม่หรือสิ่งใหม่ ตลอดจน ความสนใจ ความเข้าใจต่อสิ่งที่เห็น
  • 5. 2. กฎแห่ง การฝึก หัด (Law o f Exercise) หมายถึง การทีผู้เรียน ่ ได้ฝึกหัดหรือกระทำาซำ้าๆบ่อยๆ ย่อมจะ ทำาให้เกิดความสมบูรณ์ถกต้อง ซึ่งกฎ ู นีเป็นการเน้นความมั่นคงระหว่างการ ้ เชือมโยงและการตอบสนองที่ถกต้อง ่ ู ย่อมนำามาซึ่งความสมบูรณ์
  • 6. 3. กฎแห่ง ความพอใจ (Law of Effect) กฎนี้ เป็นผลทำาให้เกิด ความพอใจ กล่าวคือ เมื่ออินทรีย์ได้รับ ความพอใจ จะทำาให้หรือสิงเชือมโยง ่ ่ แข็งมันคง ในทางกลับกันหากอินทรีย์ ่ ได้รับความไม่พอใจ จะทำาให้พันธะ หรือสิงเชื่อมโยงระหว่างสิงเร้ากับการ ่ ่ ตอบสนองอ่อนกำาลังลง หรืออาจกล่าว ได้ว่า หากอินทรีย์ได้รับความพอใจ จากผลการทำากิจกรรม ก็จะเกิดผลดี กับการเรียนรู้ทำาให้อินทรีย์อยากเรียน
  • 7. การทดลอง   ในการทดลอง ธอร์นไดค์ได้นำาแมวไป ขังไว้ในกรงทีสร้างขึ้น แล้วนำาปลาไป ่ วางล่อไวนอกกรงให้ห่างพอประมาณ โดยให้แมวไม่สามารถยื่นเท้าไปเขี่ยได้ จากการสังเกต พบว่าแมวพยายามใช้วิธี การต่าง ๆ เพือจะออกไปจากกรง จน ่ กระทั่งเท้าของมันไปเหยียบถูกคานไม้ โดยบังเอิญ ทำาให้ประตูเปิดออก หลัง จากนันแมวก็ใช้เวลาในการเปิดกรงได้ ้
  • 8. จากการทดลอง ธอร์น ไดค์อ ธิบ าย ว่า การตอบสนองซึ่ง แมวแสดงออก มาเพื่อ แก้ป ัญ หา เป็น การตอบสนอง แบบลองผิด ลองถูก การที่แ มว สามารถเปิด กรงได้เ ร็ว ขึ้น ในช่ว ง หลัง แสดงว่า แมวเกิด การสร้า ง พัน ธะหรือ ตัว เชื่อ มขึ้น ระหว่า งคาน ไม้ก ับ การกดคานไม้
  • 9. การประยุก ต์ท ฤษฎีข องธ อร์น ไดค์ 1.ธอร์นไดค์ในฐานะนักจิตวิทยาการ ศึกษา เข้าได้ให้ความสนใจใน ปัญหาการปรับปรุงการเรียนการ สอนของนักเรียนในโรงเรียน เขา เน้นว่า นักเรียนต้องให้ความสนใจ ในสิงทีเรียน ความสนใจจะเกิดขึ้น ่ ่ ก็ต่อเมื่อครูจัดเนือหาทีผู้เรียนมอง ้ ่ เห็นว่ามีความสำาคัญต่อตัวเขา
  • 10. 2. ครูควรจะสอนเด็กเมือเด็กมีความพร้อมที่ ่ เรียน ผู้เรียนต้องมีวุฒิภาวะเพียงพอที่จะ เรียนและไม่ตกอยูในสภาวะบางอย่าง เช่น ่ เหนื่อย ง่วงนอน เป็นต้น 3. ครูควรจัดให้ผู้เรียนได้มีโอกาสฝึกฝน และทดทวนในสิงที่เรียนไปแล้วในเวลาอัน ่ เหมาะสม 4. ครูควรจัดให้ผู้เรียนได้รับความพึงพอใจ ่ และประสบผลสำาเร็จในการทำากิจกรรม