SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
ถ้าคุณเป็นนักการศึกษา หรือผู้ฝึกสอน คุณคงเคยได้ยินเกี่ยวกับ โรงเรียนในศตวรรษที่  21 ซอฟตแวร์แบบสังคม และอี เลิร์นนิ่ง
เมื่อกระแสเบาลง และถึงเวลาที่จะทำอะไรให้องค์กรของคุณ อะไรคือสิ่งที่คุณต้องการจากระบบการเรียนรู้ออนไลน์  ? ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ได้เวลาแนะนำ   Moodle !  Moodle  คือทางเลือกใหม่ในการเรียนแบบออนไลน์   ทั้งยังเป็นซอฟต์แวร์ฟรี ภายใต้ลิขสิทธิ์โอเพนซอร์ส ผู้ใช้มีสิทธิ์เข้าถึงซอร์สโคด และปรับปรุงได้ถ้าต้องการ ด้วยการออกแบบแบบแยกส่วนของ  Moodle  ทำให้การสร้างรายวิชา เนื้อหาต่างๆ ที่กระตุ้นผู้เรียนเป็นไปอย่างง่ายดาย ด้วยส่วนติดต่อกับผู้ใช้ที่เข้าใจง่ายของ  Moodle  ทำให้ผู้สอนสามารถสร้างรายวิชาได้อย่างง่ายดาย ผู้เรียนต้องการเพียงแค่เบราเซอร์เพื่อเริ่มเรียนรู้เท่านั้น modular object-oriented dynamic learning environment
สถาปัตยกรรมของ  Moodle กิจกรรม   คือหัวใจของระบบจัดการรายวิชา  Moodle  ได้รับการออกแบบโดยนักการศึกษา และนักวิจัยทางคอมพิวเตอร์   ด้วยหลักการ  “ สังคมแห่งการสร้าง ”  การสร้างยืนยันว่าการเรียนรู้มีประสิทธิผล เมื่อสร้างบางสิ่งให้กับประสบการณ์ของผู้อื่น สิ่งนี้สามารถเป็นอะไรก็ได้ตั้งแต่ประโยคที่พูด หรือโพสต์บนอินเตอร์เนต ไปจนถึงสิ่งที่ซับซ้อนกว่าเช่นภาพวาด บ้าน หรือชุดซอฟต์แวร์ หลักการ สังคมแห่งการสร้าง ได้ขยายเลยแนวคิดข้างต้น ไปเป็นกลุ่มของสังคมที่สร้างสิ่งต่างๆเพื่ออีกคนหนึ่ง ร่วมมือกันสร้างวัฒนธรรมเล็กๆ ของสิ่งที่แบ่งปันกัน เมื่อเขาได้อยู่ในวัฒนธรรมเช่นนี้ เขาจะเรียนรู้ตลอดเวลาในการเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมนี้ในหลายระดับ Martin Dougiamas ผู้สร้างและหัวหน้าผู้พัฒนา
ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้เรียน “ นักสร้างจะมองผู้เรียนให้มีส่วนร่วมอย่างกระตือรือร้นในการสร้างความหมาย การสอน ด้วยสิ่งทีคล้ายกัน จะมองหาสิ่งที่ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ สำรวจ ทำงานร่วมกัน แบ่งกัน สร้าง บนพื้นฐานของสิ่งที่พวกเขารู้อยู่แล้ว มากกว่าความจริง ความสามารถ หรือกระบวนการที่พวกเขาจะท่องจำ ”  นี่คือหลักการบางข้อของการสร้าง ในความหมายของการสอน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
เริ่มต้นใช้งาน เมื่อเริ่มการแก้ไข ผู้สร้างรายวิชาสามารถเพิ่มกิจกรรมจากรายการเลื่อนลงได้ Moodle  ได้ออกแบบอย่างแยกส่วน ทำให้การเพิ่มรายวิชา และกิจกรรม ทำได้ด้วยขั้นตอนง่ายๆ 1.  ให้สิทธิ์การสร้างรายวิชาการอาจารย์ 2.  สร้างรายวิชา โดยเลือกรูปแบบจากสามแบบ คือ แบบหัวข้อ รายสัปดาห์ หรือ  กลุ่มสนทนา 3.  คลิก เริ่มการแก้ไขในหน้านี้ 4.  สร้างรายวิชา
จุดเด่นระบบจัดการรายวิชา   -  หน่วยการเรียน การบ้าน ให้งานได้ทั้งแบบออนไลน์   หรือออฟไลน์ ผู้เรียนสามารถส่งงานได้ในรูปแบบต่างๆ เช่น  MS Word, PDF,  รูปภาพ พูดคุย ผู้เรียนสามารถส่งข้อความระหว่างกันได้แบบแสดงผลทันที คำถาม ผู้สอนสามารถตั้งคำถาม กำหนดจำนวนตัวเลือก   และแสดงผลลัพธ์แก่ผู้เรียน บทสนทนา หน้าคุณสมบัติ ช่วยนำทางผู้สอนในการตั้งค่าการบ้าน การบ้านบางอย่างอาจต้องการให้ผู้เรียนอัพโหลดผลงานของตน สามารถส่งข้อความแบบตัวต่อตัวระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน หรือระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียนได้
กระดานเสวนา กระดานเสวนา สำหรับแรกเปลี่ยนความคิดเห็นในวิชา การมีส่วนร่วมในกระดานพูดคุยอาจเป็นส่วนประกอบสำคัญในการเรียนรู้ ช่วยให้ผู้เรียนพัฒนาความเข้าใจในวิชาได้มากขึ้น ผู้เรียนสามารถให้คะแนนโพสต์ในกระดานเสวนา โดยอิงการวัดที่ตั้งโดยผู้สร้างรายวิชา จุดเด่นระบบจัดการรายวิชา   -  หน่วยการเรียน
จุดเด่นระบบจัดการรายวิชา   -  หน่วยการเรียน อภิธานศัพท์ สร้างอภิธานศัพท์ในรายวิชา ด้วยรูปแบบต่างๆ เช่น สารานุกรม ,  คำถามที่พบบ่อย ,  พจนานุกรม และอื่นๆ บันทึกประจำวัน ทบทวน สะท้อน และบันทึกความคิดของผู้เรียน ป้ายประกาศ เพิ่มคำอธิบายให้รูปภาพได้ทุกพื้นที่ของรายวิชา บทเรียน ผู้สอนสามารถสร้างและจัดการหน้าต่างๆ ในแต่ละหน้าอาจจบลงด้วยคำถามให้ผู้เรียนตอบคำถามและศึกษาบทเรียนต่อ หรือย้อนหลัง คำศัพท์ในอภิธานศัพท์ จะปรากฏโดยเน้นสีในทุกๆเนื้อหาของกิจกรรม  Moodle  ยังมีระบบค้นหาในตัวด้วย
จุดเด่นระบบจัดการรายวิชา   -  หน่วยการเรียน ชุดคำถาม ด้วยรูปแบบการทดสอบต่างๆที่คุ้นเคย เช่น จริง / เท็จ ปรนัย อัตนัย จับคู่ สุ่ม เกี่ยวกับตัวเลข และคำถามพร้อมภาพและตัวอักษรบรรยาย ผู้สอนสามารถควบคุมการให้การบ้านของรายวิชา นำเข้าชุดคำถามจากโปรแกรมต่างๆ เช่น   Blackboard, IMS QTI  และ  WebCT. Moodle  ยังสนับสนุนการเพิ่มเสียงเข้าไปในคำถามด้วย
จุดเด่นระบบจัดการรายวิชา   -  หน่วยการเรียน แหล่งข้อมูล เครื่องมือหลักในการนำเนื้อหามาสู่รายวิชา อาจะเป็นเนื้อหาธรรมดา ไฟล์ที่อัพโหลด ลิ้งไปหาเว็บ วิกิ หรือ  เนื้อหาแบบหลากหลาย หรือการอ้างอิงบรรณานุกรม แบบสำรวจ ส่วนนี้ช่วยผู้สอนในการสร้างชั้นเรียนออนไลน์ให้มีประสิทธิผลมากขึ้น โดยมีแบบสำรวจหลายแบบ เช่น  COLLES, ATTLS  รวมไปถึงตัวอย่าง  Critical Incident เวิร์กชอป กิจกรรมสำหรับประเมินผลเพื่อนๆ   ผู้เข้าร่วมสามารถประเมินงานของคนอื่น   ผู้สอนเป็นผู้ประเมินผลครั้งสุดท้าย  และสามารถควบคุมการเปิดปิดคาบ Moodle  สนับสนุนการใช้นิพจน์ทางคณิตศาสตร์ในแหล่งข้อมูล ด้วยเครื่องมือแก้ไข  HTML  ในตัว
จุดเด่นระบบจัดการผู้เรียน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
จุดเด่นระบบจัดการผู้เรียน   -  ผู้มีส่วนร่วม เพียงคลิกเดียว คุณสามารถแสดงกิจกรรมของผู้ที่มีส่วนร่วมในรายวิชาได้ทั้งหมด ผู้เรียนสามารถสร้างข้อมูลส่วนตัวที่ใส่รูปได้ ช่วยติดต่อกับผู้เรียนในชุมชนการเรียนออนไลน์ ข้อมูลส่วนตัวที่สมบูรณ์ของผู้เรียน ช่วยสร้างชุมชนการเรียนรู้ออนไลน์ การเพิ่มรูปและรายละเอียดยังช่วยสร้างสังคมที่ติดต่อกัน
จุดเด่นระบบจัดการผู้เรียน   -  กลุ่ม การจัดกลุ่มผู้เรียน เป็นเรื่องปกติในการศึกษาหรือธุรกิจ  Moodle  อนุญาตให้ผู้สอนสามารถสร้างกลุ่ม และกำหนดการมีปฏิสัมพันธ์ของสมาชิกในกลุ่มได้ การสร้างกลุ่มทำได้ง่าย ผู้เรียนและผู้สอนสามารถถูกจัดกลุ่มโดยการคลิกครั้งเดียว
จุดเด่นระบบจัดการผู้เรียน   –  ปฏิทิน ปฏิทินเหตุการณ์ มีความสำคัญต่อทั้งผู้สอนและผู้เรียน   เหตุการณ์สามารถสร้างได้ในประเภทต่างๆ เช่น เหตุการณ์ที่กำลังมาถึง จะปรากฏบนหน้าแรกของรายวิชา เตือนผู้เรียนในทุกๆรายวิชาที่สมัครไว้ในแต่ละประเภทของเหตุการณ์ เหตุการณ์จะถูกให้สีตามประเภท ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
จุดเด่นระบบจัดการผู้เรียน   -  การจัดการระบบ หน้าจอควบคุมระบบได้รวบรวมคำสั่งการจัดการผู้เรียนไว้ให้เข้าถึงได้เพียงคลิกเดียว   ผู้สอนและผู้เรียนสามารถถูกลบออก หรือเพิ่มเข้ามาในรายวิชาได้   การตั้งค่าสำรอง และกู้คืนข้อมูลสามารถทำได้เช่นเดียวกันในหน้าเดียว การกู้คืนรายวิชา หรือการอัพโหลดไฟล์สามารถทำได้ภายในคลิกเดียว  Moodle  ทำให้การแบ่งปัน และใช้ซ้ำของรายวิชาง่ายขึ้น การสำรองข้อมูลสามารถเลือกที่จะสำรองข้อมูลนักเรียนและข้อมูลรายวิชาหรือไม่ก็ได้
จุดเด่นระบบจัดการผู้เรียน   -  วิธีการวัด ผู้สอนสามารถกำหนดเกณฑ์การวัดของตนได้ ซึ่งสามารถนำมาใช้ได้กับการให้คะแนนกระดานเสวนา การบ้าน และบันทึก   การวัดผลปกติจะให้คะแนนเป็นเปอร์เซนต์  1-100  และชี้ว่าผู้เรียนแสดงคุณลักษณะใดในกิจกรรมนั้น วิธีการวัดแบบกำหนดเอง ช่วยให้ผู้สอนสามารถปรับการวัดผลในแต่ละเนื้อหาได้   เพียงสร้างวิธีการวัดหลายๆแบบ และเชื่อมโยงเข้ากับกิจกรรมในรายวิชา ,[object Object],[object Object],[object Object]
จุดเด่นระบบจัดการผู้เรียน   -  สมุดคะแนน ด้วยสมุดคะแนน คุณสามารถดูคะแนนทั้งหมดของแต่ละการบ้าน แบบทดสอบ เวิร์กชอป แต่ละวิชา และแต่ละผู้เรียนได้จากที่เดียว   และสามารถเลือกให้แสดงคะแนนเป็นตัวเลข เปอร์เซนต์ หรือตัวอักษรได้ด้วย คะแนนสามารถดาวน์โหลดในรูปแบบ   Excel, Openoffice Spreadsheet  , XML  หรือเฉพาะเนื้อหา เพื่อให้สามารถผนวกเข้าไปในสมุดผลการเรียนที่มีอยู่แล้วได้
จุดเด่นระบบจัดการผู้เรียน   -  ผลการเรียนรู้ คุณสามารถกำหนดรายการผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง และเชื่อมโยงเข้ากับรายวิชา และกิจกรรมต่างๆได้ คุณยังสามารถวัดผลการเรียนหลายๆข้อได้ภายในครั้งเดียว การวัดผลการเรียนรู้ สามารถวัดได้โดยหลายเกณฑ์ และกำหนดใช้ได้หลายอัน โดยใช้วิธีการวัด  ( Scale)
จุดเด่นระบบจัดการผู้เรียน  –  บันทึกย่อ ผู้สอนสามารถเขียนบันทึกย่อ เกี่ยวกับความคิดเห็นของผู้สอนต่องานของผู้เรียน หรือต่อตัวผู้เรียนเองได้ บันทึกย่อมีอยู่  3  ระดับ บันทึกย่อไม่ว่าระดับใดสามารถเห็นได้เฉพาะผู้สอนเท่านั้น ผู้เรียนจะไม่เห็นบันทึกย่อนี้ แต่ถ้าผู้สอนต้องการส่งข้อความให้ผู้เรียนก็สามารถทำได้ ,[object Object],[object Object],[object Object]
จุดเด่นระบบจัดการผู้เรียน   -  ให้คะแนน ตรวจการบ้านและบันทึกของผู้เรียน ให้คะแนนและความคิดเห็น ทุกอย่างทำได้ภายในหน้าเดียว ที่แสดงนักเรียนที่สมัครในรายวิชาทุกคน การจัดการงานของผู้เรียน ทำได้ภายในหน้าเดียว ช่วยลดเวลาในการประเมินนักเรียนหลายๆคน
จุดเด่นระบบจัดการผู้เรียน   -  บันทึกการใช้งาน ตรวจสอบได้ว่า รายวิชาอะไร เมื่อไร ที่ผู้เรียนเข้าใช้   บันทึกการใช้งานของ   Moodle  ให้ข้อมูลกิจกรรมการเรียนอย่างละเอียด บันทึกการใช้งานแบบเฉพาะเจาะจง ให้รายละเอียดถึงตำแหน่ง เวลา และการเข้าถึงกิจกรรมในบทเรียน
จุดเด่นระบบจัดการผู้เรียน   -  ไฟล์ ไฟล์ของทุกรายวิชาจะเก็บไว้ในพื้นที่เก็บไฟล์กลางของ  Moodle  จึงสามารถเข้าถึงได้เมื่อสร้างกิจกรรมใดๆก็ตาม พื้นที่เก็บไฟล์ที่คล้ายกับคอมพิวเตอร์ของคุณ ทำให้การเพิ่ม ย้าย บีบอัด หรือลบไฟล์ เป็นไปได้โดยง่าย
จุดเด่นระบบจัดการผู้เรียน   -  แทก แทก เป็นการใช้คำสั้นๆ อธิบายข้อมูลต่างๆ ช่วยในการจัดกลุ่มข้อมูล ทำให้สามารถรู้ถึงข้อมูลที่มีลักษณะคล้ายกันได้ ระบบแทกใน  Moodle  ประกอบด้วย แทกความสนใจของสมาชิก แทกของหน้าเนื้อ โพสต์ในบล้อก ซึ่งข้อมูลหนึ่งอาจใส่แทกได้หลายแทก เมฆของแทก  ( Tag Cloud)  คือการบอกถึงแทกของข้อมูลต่างๆ ยิ่งตัวอักษรใหญ่แสดงว่ายิ่งมีข้อมูลที่มีแทกนั้นเยอะ แทกในเนื้อหาของ  Moodle
จุดเด่นระบบจัดการผู้เรียน   -  การช่วยเหลือ ข้อมูลช่วยเหลือที่ครอบคลุมกว้างขวางของ  Moodle  เข้าถึงได้เพียงแค่คลิกเดียว ด้วยลิ้งค์  Moodle Docs for this page  หากต้องการความช่วยเหลือในหน้าใด เพียงแค่คลิกลิ้งค์นี้ก็จะพาไปสู่ข้อมุลความช่วยเหลือของ  Moodle  ทันที Moodle Docs :  http://docs.moodle.org/en/Main_Page   คู่มือ  Moodle  อย่างละเอียดในหน้าต่างๆ
ประสบการณ์ของผู้เรียน   –  การเข้าสู่ระบบ ผู้เรียนจะพบว่าง่ายเพียงใดในการเข้าชมหน้าต่างๆ ด้วยลิ้งค์แบบ  “ เกล็ดขนมปัง ”  ที่จะปรากฏอยู่เสมอ   การเข้าสู่ระบบผ่านหน้าที่คุ้นเคย และการตั้งค่าผู้ใช้ล่วงหน้า สามารถทำได้โดยผู้ดูแลระบบ Moodle  มีระบบเข้าสู่ระบบของตัวเอง แต่สามารถรวมกับฐานข้อมูลภายนอก ,   POP3, IMAP, LDAP  หรือ  NNTP  เพื่อให้เข้าสู่ระบบได้จากหลากหลายโดเมน แถบนำทางช่วยให้ลิ้งค์เกล็ดขนมปัง เชื่อมโยงจากหน้าแรกของรายวิชา ไปยังกิจกรรม
ประสบการณ์ของผู้เรียน   –  รหัสในการเข้าเรียน ผู้สอนสามารถต้องการให้ผู้เรียนกรอก  “ รหัสเข้าเรียน ”  ก่อนจะอนุญาตให้นักเรียนเข้าเรียนได้   รหัสเข้าเรียนนี้แตกต่างจากรหัสในการเข้าสู่ระบบ รายวิชาที่ต้องการรหัสเข้าเรียน จะถูกระบุในคำอธิบายใน  “ ประเภทรายวิชา ” ประเภทรายวิชาแสดงคำอธิบายของแต่ละรายวิชา สัญลักษณ์ในหน้าอธิบายแสดงว่ารายวิชาต้องการรหัสในการเข้าเรียน และอนุญาตให้การเข้าของแขกหรือไม่ ผู้เรียนจะเห็นรายการของรายวิชาที่ตนสมัครเรียน  ( รายวิชาของฉัน )  บนหน้าแรกของเว็บไซต์หลังจากเข้าสู่ระบบ
ผู้เรียนสามารถเลือกจาก  34  ภาษาได้ ผู้เรียนสามารถเข้าสู่ระบบได้ทุกที่ ทุกเวลา ทั้งยังสามารถระบุเขตเวลาและภาษาที่ใช้ได้ ปัจจุบัน  Moodle  มีส่วนติดต่อกับผู้ใช้  34  ภาษา ประสบการณ์ของผู้เรียน  –  24 / 7 / 365  ทุกที่ ทุกเวลา
ประสบการณ์ของผู้เรียน  –  การเตือนผ่านอีเมล์ อีเมล์แบบตัวอักษรหรูหรา ส่งไปให้ผู้เรียนที่สมัครในแต่ละกระดานเสวนา ผู้สอนสามารถตั้งการสนทนาส่วนตัว กับการเตือนผ่านอีเมล์ เมื่อมีการเพิ่มความคิดเห็นได้ เมื่อผู้เรียน สมัครในกระดานเสวนา จะได้รับการเตื่อนโพสต์ใหม่ๆทางอีเมล์ มากไปกว่านั้น ผู้สอนสามารถส่งอีเมล์เตือนสำหรับการสนทนาส่วนตัวได้
ใครใช้  Moodle  บ้าง ? เมื่อเดือนธันวาคม  2007  มากกว่า  36650   เว็บไซต์ จาก  203   ประเทศ ได้ลงทะเบียนกับ  Moodle  ( http:// moodle.org /sites ).  จำนวนนี้ได้เพิ่มขึ้นราวเดือนละ  10%  เมื่อผู้สอนและนักการศึกษา เห็นคุณค่าของการนำ  Moodle  ไปใช้ Moodle  คือคำตอบของการเรียนการสอนแบบออนไลน์สำหรับ “ ชั้นเรียนสดแรกของฉันจบลงด้วยความสำเร็จครั้งมโหฬาร ทั้งในด้านของแผนงาน คุณภาพ และความยั่งยืนของผู้เข้าร่วม  Moodle  ช่วยฉันทำงานได้ยากยอดเยี่ยม   ด้วยเหตุผลใดก็ไม่ทราบ มันดูเหมือนจะไม่หน้าเบื่อหน่ายเหมือนที่ฉันทำงานกับโปรแกรมการเรียนการสอนอื่นๆ เช่น  Blackboard  หรือ  WebCT - Paula Edmiston, Trainer ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ใครจะช่วยคุณในการใช้  Moodle ? ผู้ใช้โอเพนซอร์สหลายร้อยคนได้เข้าร่วมการพัฒนา  Moodle  ในชุมชนของเรา
ทำไมถึงไม่ลอง   Moodle  ตอนนี้ล่ะ ? หากองค์กรของคุณพร้อม หรือต้องการสนับสนุนการเรียนรู้แบบออนไลน์ นี่คือโอกาสที่จะพัฒนาการค้นคว้าของคุณไปอีกขั้น เว็บไซต์เกี่ยวกับ  Moodle  เหล่านี้เปิดกว้างสำหรับคุณ ไม่ว่าคุณจะเป็นผู้เรียน หรือผู้สอนก็ตาม ใช้งาน   Moodle:  http:// moodle.org/course/view.php?id =5   Moodle  สำหรับการสอนภาษา   :  http:// moodle.org/course/view.php?id =31 Moodle  ในภาษาไทย  :  http:// moodle.org/course/view.php?id =36   คู่มือการใช้  :  http:// docs.moodle.org/en/Main_Page การสนับสนุนจากผู้พัฒนา :  http:// moodle.com

More Related Content

What's hot

แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excel
แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excelแผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excel
แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office ExcelKhon Kaen University
 
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนTeerasak Nantasan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8Giftfy Snw
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Supaluck
 
คู่มือการใช้งานบทเรียนออนไลน์ สำหรับนักเรียน
คู่มือการใช้งานบทเรียนออนไลน์ สำหรับนักเรียนคู่มือการใช้งานบทเรียนออนไลน์ สำหรับนักเรียน
คู่มือการใช้งานบทเรียนออนไลน์ สำหรับนักเรียนDuangnapa Inyayot
 
กิจกรรมที่2และ3
กิจกรรมที่2และ3กิจกรรมที่2และ3
กิจกรรมที่2และ3spchy
 
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้Thamonwan Kottapan
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์yuyjanpen
 
2 8edit-140916022926-phpapp02
2 8edit-140916022926-phpapp022 8edit-140916022926-phpapp02
2 8edit-140916022926-phpapp02Sarawut Fuekhat
 
โครงงาน โปรแกรมช วยต ดเกรด (1)
โครงงาน โปรแกรมช วยต ดเกรด (1)โครงงาน โปรแกรมช วยต ดเกรด (1)
โครงงาน โปรแกรมช วยต ดเกรด (1)Supamongkol Chomchuen
 
โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1A-ae Rcna
 
แผนการจัดการเรียนรู้การทำบัตรอวยพร
แผนการจัดการเรียนรู้การทำบัตรอวยพรแผนการจัดการเรียนรู้การทำบัตรอวยพร
แผนการจัดการเรียนรู้การทำบัตรอวยพรPoom Pho
 
ใบงานที่2-16
ใบงานที่2-16ใบงานที่2-16
ใบงานที่2-16PrinceKs
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานNattawoot Boonmee
 

What's hot (18)

แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excel
แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excelแผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excel
แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excel
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8
 
Com
ComCom
Com
 
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodleคู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
คู่มือการใช้งานบทเรียนออนไลน์ สำหรับนักเรียน
คู่มือการใช้งานบทเรียนออนไลน์ สำหรับนักเรียนคู่มือการใช้งานบทเรียนออนไลน์ สำหรับนักเรียน
คู่มือการใช้งานบทเรียนออนไลน์ สำหรับนักเรียน
 
กิจกรรมที่2และ3
กิจกรรมที่2และ3กิจกรรมที่2และ3
กิจกรรมที่2และ3
 
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
 
Chapter 7
Chapter 7 Chapter 7
Chapter 7
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
 
2 8edit-140916022926-phpapp02
2 8edit-140916022926-phpapp022 8edit-140916022926-phpapp02
2 8edit-140916022926-phpapp02
 
โครงงาน โปรแกรมช วยต ดเกรด (1)
โครงงาน โปรแกรมช วยต ดเกรด (1)โครงงาน โปรแกรมช วยต ดเกรด (1)
โครงงาน โปรแกรมช วยต ดเกรด (1)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1
 
แผนการจัดการเรียนรู้การทำบัตรอวยพร
แผนการจัดการเรียนรู้การทำบัตรอวยพรแผนการจัดการเรียนรู้การทำบัตรอวยพร
แผนการจัดการเรียนรู้การทำบัตรอวยพร
 
ใบงานที่2-16
ใบงานที่2-16ใบงานที่2-16
ใบงานที่2-16
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 

Similar to Moodle Presentation Th

การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1Ailada_oa
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2Jiramet Ponyiam
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยpanggoo
 
งานบทที่5
งานบทที่5งานบทที่5
งานบทที่5Vi Mengdie
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนwannaphakdee
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
โครงงานคอมพิวเตอร์2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์2-8โครงงานคอมพิวเตอร์2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์2-8bowing3925
 
Computer project type (1)
Computer project type (1)Computer project type (1)
Computer project type (1)Natchaya49391
 
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภทประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภทmcf_cnx1
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 

Similar to Moodle Presentation Th (20)

D L M S
D L M SD L M S
D L M S
 
Socialmedia(group4)
Socialmedia(group4)Socialmedia(group4)
Socialmedia(group4)
 
Pp social
Pp socialPp social
Pp social
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
Utq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdfUtq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdf
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
งานบทที่5
งานบทที่5งานบทที่5
งานบทที่5
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
โครงงานคอมพิวเตอร์2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์2-8โครงงานคอมพิวเตอร์2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์2-8
 
Computer project type (1)
Computer project type (1)Computer project type (1)
Computer project type (1)
 
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภทประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 

Moodle Presentation Th

  • 1. ถ้าคุณเป็นนักการศึกษา หรือผู้ฝึกสอน คุณคงเคยได้ยินเกี่ยวกับ โรงเรียนในศตวรรษที่ 21 ซอฟตแวร์แบบสังคม และอี เลิร์นนิ่ง
  • 2.
  • 3. ได้เวลาแนะนำ Moodle ! Moodle คือทางเลือกใหม่ในการเรียนแบบออนไลน์ ทั้งยังเป็นซอฟต์แวร์ฟรี ภายใต้ลิขสิทธิ์โอเพนซอร์ส ผู้ใช้มีสิทธิ์เข้าถึงซอร์สโคด และปรับปรุงได้ถ้าต้องการ ด้วยการออกแบบแบบแยกส่วนของ Moodle ทำให้การสร้างรายวิชา เนื้อหาต่างๆ ที่กระตุ้นผู้เรียนเป็นไปอย่างง่ายดาย ด้วยส่วนติดต่อกับผู้ใช้ที่เข้าใจง่ายของ Moodle ทำให้ผู้สอนสามารถสร้างรายวิชาได้อย่างง่ายดาย ผู้เรียนต้องการเพียงแค่เบราเซอร์เพื่อเริ่มเรียนรู้เท่านั้น modular object-oriented dynamic learning environment
  • 4. สถาปัตยกรรมของ Moodle กิจกรรม คือหัวใจของระบบจัดการรายวิชา Moodle ได้รับการออกแบบโดยนักการศึกษา และนักวิจัยทางคอมพิวเตอร์ ด้วยหลักการ “ สังคมแห่งการสร้าง ” การสร้างยืนยันว่าการเรียนรู้มีประสิทธิผล เมื่อสร้างบางสิ่งให้กับประสบการณ์ของผู้อื่น สิ่งนี้สามารถเป็นอะไรก็ได้ตั้งแต่ประโยคที่พูด หรือโพสต์บนอินเตอร์เนต ไปจนถึงสิ่งที่ซับซ้อนกว่าเช่นภาพวาด บ้าน หรือชุดซอฟต์แวร์ หลักการ สังคมแห่งการสร้าง ได้ขยายเลยแนวคิดข้างต้น ไปเป็นกลุ่มของสังคมที่สร้างสิ่งต่างๆเพื่ออีกคนหนึ่ง ร่วมมือกันสร้างวัฒนธรรมเล็กๆ ของสิ่งที่แบ่งปันกัน เมื่อเขาได้อยู่ในวัฒนธรรมเช่นนี้ เขาจะเรียนรู้ตลอดเวลาในการเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมนี้ในหลายระดับ Martin Dougiamas ผู้สร้างและหัวหน้าผู้พัฒนา
  • 5.
  • 6. เริ่มต้นใช้งาน เมื่อเริ่มการแก้ไข ผู้สร้างรายวิชาสามารถเพิ่มกิจกรรมจากรายการเลื่อนลงได้ Moodle ได้ออกแบบอย่างแยกส่วน ทำให้การเพิ่มรายวิชา และกิจกรรม ทำได้ด้วยขั้นตอนง่ายๆ 1. ให้สิทธิ์การสร้างรายวิชาการอาจารย์ 2. สร้างรายวิชา โดยเลือกรูปแบบจากสามแบบ คือ แบบหัวข้อ รายสัปดาห์ หรือ กลุ่มสนทนา 3. คลิก เริ่มการแก้ไขในหน้านี้ 4. สร้างรายวิชา
  • 7. จุดเด่นระบบจัดการรายวิชา - หน่วยการเรียน การบ้าน ให้งานได้ทั้งแบบออนไลน์ หรือออฟไลน์ ผู้เรียนสามารถส่งงานได้ในรูปแบบต่างๆ เช่น MS Word, PDF, รูปภาพ พูดคุย ผู้เรียนสามารถส่งข้อความระหว่างกันได้แบบแสดงผลทันที คำถาม ผู้สอนสามารถตั้งคำถาม กำหนดจำนวนตัวเลือก และแสดงผลลัพธ์แก่ผู้เรียน บทสนทนา หน้าคุณสมบัติ ช่วยนำทางผู้สอนในการตั้งค่าการบ้าน การบ้านบางอย่างอาจต้องการให้ผู้เรียนอัพโหลดผลงานของตน สามารถส่งข้อความแบบตัวต่อตัวระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน หรือระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียนได้
  • 8. กระดานเสวนา กระดานเสวนา สำหรับแรกเปลี่ยนความคิดเห็นในวิชา การมีส่วนร่วมในกระดานพูดคุยอาจเป็นส่วนประกอบสำคัญในการเรียนรู้ ช่วยให้ผู้เรียนพัฒนาความเข้าใจในวิชาได้มากขึ้น ผู้เรียนสามารถให้คะแนนโพสต์ในกระดานเสวนา โดยอิงการวัดที่ตั้งโดยผู้สร้างรายวิชา จุดเด่นระบบจัดการรายวิชา - หน่วยการเรียน
  • 9. จุดเด่นระบบจัดการรายวิชา - หน่วยการเรียน อภิธานศัพท์ สร้างอภิธานศัพท์ในรายวิชา ด้วยรูปแบบต่างๆ เช่น สารานุกรม , คำถามที่พบบ่อย , พจนานุกรม และอื่นๆ บันทึกประจำวัน ทบทวน สะท้อน และบันทึกความคิดของผู้เรียน ป้ายประกาศ เพิ่มคำอธิบายให้รูปภาพได้ทุกพื้นที่ของรายวิชา บทเรียน ผู้สอนสามารถสร้างและจัดการหน้าต่างๆ ในแต่ละหน้าอาจจบลงด้วยคำถามให้ผู้เรียนตอบคำถามและศึกษาบทเรียนต่อ หรือย้อนหลัง คำศัพท์ในอภิธานศัพท์ จะปรากฏโดยเน้นสีในทุกๆเนื้อหาของกิจกรรม Moodle ยังมีระบบค้นหาในตัวด้วย
  • 10. จุดเด่นระบบจัดการรายวิชา - หน่วยการเรียน ชุดคำถาม ด้วยรูปแบบการทดสอบต่างๆที่คุ้นเคย เช่น จริง / เท็จ ปรนัย อัตนัย จับคู่ สุ่ม เกี่ยวกับตัวเลข และคำถามพร้อมภาพและตัวอักษรบรรยาย ผู้สอนสามารถควบคุมการให้การบ้านของรายวิชา นำเข้าชุดคำถามจากโปรแกรมต่างๆ เช่น Blackboard, IMS QTI และ WebCT. Moodle ยังสนับสนุนการเพิ่มเสียงเข้าไปในคำถามด้วย
  • 11. จุดเด่นระบบจัดการรายวิชา - หน่วยการเรียน แหล่งข้อมูล เครื่องมือหลักในการนำเนื้อหามาสู่รายวิชา อาจะเป็นเนื้อหาธรรมดา ไฟล์ที่อัพโหลด ลิ้งไปหาเว็บ วิกิ หรือ เนื้อหาแบบหลากหลาย หรือการอ้างอิงบรรณานุกรม แบบสำรวจ ส่วนนี้ช่วยผู้สอนในการสร้างชั้นเรียนออนไลน์ให้มีประสิทธิผลมากขึ้น โดยมีแบบสำรวจหลายแบบ เช่น COLLES, ATTLS รวมไปถึงตัวอย่าง Critical Incident เวิร์กชอป กิจกรรมสำหรับประเมินผลเพื่อนๆ ผู้เข้าร่วมสามารถประเมินงานของคนอื่น ผู้สอนเป็นผู้ประเมินผลครั้งสุดท้าย และสามารถควบคุมการเปิดปิดคาบ Moodle สนับสนุนการใช้นิพจน์ทางคณิตศาสตร์ในแหล่งข้อมูล ด้วยเครื่องมือแก้ไข HTML ในตัว
  • 12.
  • 13. จุดเด่นระบบจัดการผู้เรียน - ผู้มีส่วนร่วม เพียงคลิกเดียว คุณสามารถแสดงกิจกรรมของผู้ที่มีส่วนร่วมในรายวิชาได้ทั้งหมด ผู้เรียนสามารถสร้างข้อมูลส่วนตัวที่ใส่รูปได้ ช่วยติดต่อกับผู้เรียนในชุมชนการเรียนออนไลน์ ข้อมูลส่วนตัวที่สมบูรณ์ของผู้เรียน ช่วยสร้างชุมชนการเรียนรู้ออนไลน์ การเพิ่มรูปและรายละเอียดยังช่วยสร้างสังคมที่ติดต่อกัน
  • 14. จุดเด่นระบบจัดการผู้เรียน - กลุ่ม การจัดกลุ่มผู้เรียน เป็นเรื่องปกติในการศึกษาหรือธุรกิจ Moodle อนุญาตให้ผู้สอนสามารถสร้างกลุ่ม และกำหนดการมีปฏิสัมพันธ์ของสมาชิกในกลุ่มได้ การสร้างกลุ่มทำได้ง่าย ผู้เรียนและผู้สอนสามารถถูกจัดกลุ่มโดยการคลิกครั้งเดียว
  • 15.
  • 16. จุดเด่นระบบจัดการผู้เรียน - การจัดการระบบ หน้าจอควบคุมระบบได้รวบรวมคำสั่งการจัดการผู้เรียนไว้ให้เข้าถึงได้เพียงคลิกเดียว ผู้สอนและผู้เรียนสามารถถูกลบออก หรือเพิ่มเข้ามาในรายวิชาได้ การตั้งค่าสำรอง และกู้คืนข้อมูลสามารถทำได้เช่นเดียวกันในหน้าเดียว การกู้คืนรายวิชา หรือการอัพโหลดไฟล์สามารถทำได้ภายในคลิกเดียว Moodle ทำให้การแบ่งปัน และใช้ซ้ำของรายวิชาง่ายขึ้น การสำรองข้อมูลสามารถเลือกที่จะสำรองข้อมูลนักเรียนและข้อมูลรายวิชาหรือไม่ก็ได้
  • 17.
  • 18. จุดเด่นระบบจัดการผู้เรียน - สมุดคะแนน ด้วยสมุดคะแนน คุณสามารถดูคะแนนทั้งหมดของแต่ละการบ้าน แบบทดสอบ เวิร์กชอป แต่ละวิชา และแต่ละผู้เรียนได้จากที่เดียว และสามารถเลือกให้แสดงคะแนนเป็นตัวเลข เปอร์เซนต์ หรือตัวอักษรได้ด้วย คะแนนสามารถดาวน์โหลดในรูปแบบ Excel, Openoffice Spreadsheet , XML หรือเฉพาะเนื้อหา เพื่อให้สามารถผนวกเข้าไปในสมุดผลการเรียนที่มีอยู่แล้วได้
  • 19. จุดเด่นระบบจัดการผู้เรียน - ผลการเรียนรู้ คุณสามารถกำหนดรายการผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง และเชื่อมโยงเข้ากับรายวิชา และกิจกรรมต่างๆได้ คุณยังสามารถวัดผลการเรียนหลายๆข้อได้ภายในครั้งเดียว การวัดผลการเรียนรู้ สามารถวัดได้โดยหลายเกณฑ์ และกำหนดใช้ได้หลายอัน โดยใช้วิธีการวัด ( Scale)
  • 20.
  • 21. จุดเด่นระบบจัดการผู้เรียน - ให้คะแนน ตรวจการบ้านและบันทึกของผู้เรียน ให้คะแนนและความคิดเห็น ทุกอย่างทำได้ภายในหน้าเดียว ที่แสดงนักเรียนที่สมัครในรายวิชาทุกคน การจัดการงานของผู้เรียน ทำได้ภายในหน้าเดียว ช่วยลดเวลาในการประเมินนักเรียนหลายๆคน
  • 22. จุดเด่นระบบจัดการผู้เรียน - บันทึกการใช้งาน ตรวจสอบได้ว่า รายวิชาอะไร เมื่อไร ที่ผู้เรียนเข้าใช้ บันทึกการใช้งานของ Moodle ให้ข้อมูลกิจกรรมการเรียนอย่างละเอียด บันทึกการใช้งานแบบเฉพาะเจาะจง ให้รายละเอียดถึงตำแหน่ง เวลา และการเข้าถึงกิจกรรมในบทเรียน
  • 23. จุดเด่นระบบจัดการผู้เรียน - ไฟล์ ไฟล์ของทุกรายวิชาจะเก็บไว้ในพื้นที่เก็บไฟล์กลางของ Moodle จึงสามารถเข้าถึงได้เมื่อสร้างกิจกรรมใดๆก็ตาม พื้นที่เก็บไฟล์ที่คล้ายกับคอมพิวเตอร์ของคุณ ทำให้การเพิ่ม ย้าย บีบอัด หรือลบไฟล์ เป็นไปได้โดยง่าย
  • 24. จุดเด่นระบบจัดการผู้เรียน - แทก แทก เป็นการใช้คำสั้นๆ อธิบายข้อมูลต่างๆ ช่วยในการจัดกลุ่มข้อมูล ทำให้สามารถรู้ถึงข้อมูลที่มีลักษณะคล้ายกันได้ ระบบแทกใน Moodle ประกอบด้วย แทกความสนใจของสมาชิก แทกของหน้าเนื้อ โพสต์ในบล้อก ซึ่งข้อมูลหนึ่งอาจใส่แทกได้หลายแทก เมฆของแทก ( Tag Cloud) คือการบอกถึงแทกของข้อมูลต่างๆ ยิ่งตัวอักษรใหญ่แสดงว่ายิ่งมีข้อมูลที่มีแทกนั้นเยอะ แทกในเนื้อหาของ Moodle
  • 25. จุดเด่นระบบจัดการผู้เรียน - การช่วยเหลือ ข้อมูลช่วยเหลือที่ครอบคลุมกว้างขวางของ Moodle เข้าถึงได้เพียงแค่คลิกเดียว ด้วยลิ้งค์ Moodle Docs for this page หากต้องการความช่วยเหลือในหน้าใด เพียงแค่คลิกลิ้งค์นี้ก็จะพาไปสู่ข้อมุลความช่วยเหลือของ Moodle ทันที Moodle Docs : http://docs.moodle.org/en/Main_Page คู่มือ Moodle อย่างละเอียดในหน้าต่างๆ
  • 26. ประสบการณ์ของผู้เรียน – การเข้าสู่ระบบ ผู้เรียนจะพบว่าง่ายเพียงใดในการเข้าชมหน้าต่างๆ ด้วยลิ้งค์แบบ “ เกล็ดขนมปัง ” ที่จะปรากฏอยู่เสมอ การเข้าสู่ระบบผ่านหน้าที่คุ้นเคย และการตั้งค่าผู้ใช้ล่วงหน้า สามารถทำได้โดยผู้ดูแลระบบ Moodle มีระบบเข้าสู่ระบบของตัวเอง แต่สามารถรวมกับฐานข้อมูลภายนอก , POP3, IMAP, LDAP หรือ NNTP เพื่อให้เข้าสู่ระบบได้จากหลากหลายโดเมน แถบนำทางช่วยให้ลิ้งค์เกล็ดขนมปัง เชื่อมโยงจากหน้าแรกของรายวิชา ไปยังกิจกรรม
  • 27. ประสบการณ์ของผู้เรียน – รหัสในการเข้าเรียน ผู้สอนสามารถต้องการให้ผู้เรียนกรอก “ รหัสเข้าเรียน ” ก่อนจะอนุญาตให้นักเรียนเข้าเรียนได้ รหัสเข้าเรียนนี้แตกต่างจากรหัสในการเข้าสู่ระบบ รายวิชาที่ต้องการรหัสเข้าเรียน จะถูกระบุในคำอธิบายใน “ ประเภทรายวิชา ” ประเภทรายวิชาแสดงคำอธิบายของแต่ละรายวิชา สัญลักษณ์ในหน้าอธิบายแสดงว่ารายวิชาต้องการรหัสในการเข้าเรียน และอนุญาตให้การเข้าของแขกหรือไม่ ผู้เรียนจะเห็นรายการของรายวิชาที่ตนสมัครเรียน ( รายวิชาของฉัน ) บนหน้าแรกของเว็บไซต์หลังจากเข้าสู่ระบบ
  • 28. ผู้เรียนสามารถเลือกจาก 34 ภาษาได้ ผู้เรียนสามารถเข้าสู่ระบบได้ทุกที่ ทุกเวลา ทั้งยังสามารถระบุเขตเวลาและภาษาที่ใช้ได้ ปัจจุบัน Moodle มีส่วนติดต่อกับผู้ใช้ 34 ภาษา ประสบการณ์ของผู้เรียน – 24 / 7 / 365 ทุกที่ ทุกเวลา
  • 29. ประสบการณ์ของผู้เรียน – การเตือนผ่านอีเมล์ อีเมล์แบบตัวอักษรหรูหรา ส่งไปให้ผู้เรียนที่สมัครในแต่ละกระดานเสวนา ผู้สอนสามารถตั้งการสนทนาส่วนตัว กับการเตือนผ่านอีเมล์ เมื่อมีการเพิ่มความคิดเห็นได้ เมื่อผู้เรียน สมัครในกระดานเสวนา จะได้รับการเตื่อนโพสต์ใหม่ๆทางอีเมล์ มากไปกว่านั้น ผู้สอนสามารถส่งอีเมล์เตือนสำหรับการสนทนาส่วนตัวได้
  • 30.
  • 31. ใครจะช่วยคุณในการใช้ Moodle ? ผู้ใช้โอเพนซอร์สหลายร้อยคนได้เข้าร่วมการพัฒนา Moodle ในชุมชนของเรา
  • 32. ทำไมถึงไม่ลอง Moodle ตอนนี้ล่ะ ? หากองค์กรของคุณพร้อม หรือต้องการสนับสนุนการเรียนรู้แบบออนไลน์ นี่คือโอกาสที่จะพัฒนาการค้นคว้าของคุณไปอีกขั้น เว็บไซต์เกี่ยวกับ Moodle เหล่านี้เปิดกว้างสำหรับคุณ ไม่ว่าคุณจะเป็นผู้เรียน หรือผู้สอนก็ตาม ใช้งาน Moodle: http:// moodle.org/course/view.php?id =5 Moodle สำหรับการสอนภาษา : http:// moodle.org/course/view.php?id =31 Moodle ในภาษาไทย : http:// moodle.org/course/view.php?id =36 คู่มือการใช้ : http:// docs.moodle.org/en/Main_Page การสนับสนุนจากผู้พัฒนา : http:// moodle.com