SlideShare a Scribd company logo
1




                                                          ความร้อน
ความร้อน (Thermal) ดูทฤษฎีความร้อนเพิ่มเติม(MS word )
         ความร้อนเป็นพลังงานรูปหนึ่งที่เปลี่ยนมาจากพลังงานรูปอื่น เช่น พลังงานไฟฟ้า พลังงานกล (พลังงานศักย์และพลังงานจลน์)
พลังงานเคมี พลังงานนิวเคลียร์ หรืองาน เป็นต้น
         พลังงานความร้อนมีหน่วยเป็นจูล (Joule, J ) ในระบบเอสไอ (SI) แต่บางครั้งอาจบอกเป็นหน่วยอื่นได้ เช่น แคลอรี (cal) และบีทียู
(BTU)
         พลังงานความร้อน 1 แคลอรี คือพลังงานความร้อนที่ท้าให้น้ามวล 1 กรัม มีอุณหภูเพิ่มขึ้น 1
 องศาเซลเซียส (°C ) ในช่วง 14.5 °C ถึง 15.5 °C
        พลังงานความร้อน 1 บีทียู คือ พลังงานความร้อนที่ท้าให้น้าที่มีมวล 1 ปอนด์ มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1
องศาฟาเรนไฮต์ (°F) ในช่วง 58.1 °F ถึง 59.1 °F
         จากการทดลองพบว่า
         1 cal = 4.186 J
         1 BTU = 252 cal = 1055 J


อุณหภูมิ
2




           นักวิทยาศาสตร์ได้ก้าหนดว่าอุณหภูมิ คือ ปริมาณที่แปรผันโดยตรงกับพลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊ส การที่เราจะบอกว่าวัตถุใดร้อน
มากหรือน้อย เราสามารถบอกได้ด้วยอุณหภูมิของวัตถุนั้น คือ วัตถุที่มีระดับความร้อนมากจะมีอุณหภูมิสูง วัตถุที่มีระดับความร้อนน้อยจะมี
อุณหภูมิต่้า ดังนั้นถ้าเราเอาวัตถุที่มีอุณหภูมิสงมาสัมผัสวัตถุที่มีอุณหภูมิต่้า พลังงานความร้อนจะถูกถ่ายโอนจากวัตถุที่มีอุณหภูมิสูงไปยังวัตถุ
                                                ู
ที่มีอุณหภูมิต่้า จนวัตถุทั้งสองมีอุณหภูมิเท่ากัน
 อุปกรณ์ที่ใช้วัดอุณหภูมิเรียกว่า เทอร์โมมิเตอร์ เทอร์โมมิเตอร์มีหลายชนิด เช่น
        1. สเกลองศาเซลเซียส (Celsuis, °C) หรือบางที่เรียกว่าองศาเซนติเกรด (ที่ความดัน 1 บรรยากาศ จุดเยือกแข็งของน้้าเป็น 0 เซลเซียส
และจุดเดือดเป็น 100 เซลเซียส ระหว่างจุดเยือกแข็งและจุดเดือดแบ่งเป็น 100 ส่วนเท่าๆ กัน )
        2. สเกลองศาเคลวิน (Kelvin, °K) เป็นหน่วยของอุณหภูมิสัมบูรณ์ (ที่ความดัน 1 บรรยากาศ จุดเยือกแข็งของน้้าเป็น 273.16 เคลวิน
และจุดเดือดเป็น 373.16 เคลวิน ระหว่างจุดเยือกแข็งและจุดเดือดแบ่งเป็น 100 ส่วนเท่าๆ กัน ) ## หน่วยเคลวินเป็นหน่วยมาตรฐานใน
ระบบเอสไอ


ปริมาณความร้อนของวัตถุ (HEAT, Q)
        เป็นพลังงานความร้อนที่วัตถุรับเข้ามาหรือคายออกไป จากการศึกษาผลของความร้อนต่อสสารหรือวัตถุในชั้นนี้จะศึกษาเพียงสอง
ด้าน คือ
        1. ความร้อนจาเพาะ ( Specific heat ) หมายถึง พลังงานความร้อนที่ท้าให้วัตถุมีอุณหภูมิสูงขึ้นหรือต่้าลงโดยสถานะยังคงรูปเดิม
        2. ความร้อนแฝง (Latent Heat) หมายถึง พลังงานความร้อนที่ท้าให้วัตถุเปลี่ยนสถานะโดยอุณหภูมิคงที่
3




ความจุความร้อน ( Heat capacity, C ) คือความร้อนที่ท้าให้สารทั้งหมดที่ก้าลังพิจารณามีอุณหภูมิเปลี่ยนไปหนึ่งหน่วย โดยสถานะไม่
เปลี่ยน
        ถ้าให้ปริมาณความร้อน ΔQ แก่วัตถุ ท้าให้อุณหภูมิของวัตถุเปลี่ยนไป ΔT ดังนั้นถ้าอุณหภูมิของวัตถุเปลี่ยนไป 1 หน่วย จะใช้
ความร้อน C คือ

                  มีหน่วยเป็น จูล/เคลวิน (J/K)


ความจุความร้อนจาเพาะ (Specific Heat capacity , c ) คือความร้อนที่ท้าให้สาร(วัตถุ) มวลหนึ่งหน่วยมีอุณหภูมิเปลี่ยนไปหนึ่งองศาเคล
วิน คือ

                     ความจุความร้อนจ้าเพาะของสาร(J/kg-K)
นั่นคือ เมื่อสารมวล m มีอุณหภูมิเพิ่มจาก T1 เป็น T2 และความจุความร้อนจ้าเพาะมีคาคงตัว ความร้อนที่สารได้รับ
                                                                               ่
คือ


การเปลี่ยนสถานะของสาร
       สารและสิ่งของที่อยู่รอบตัวเราจะพบว่ามีอยู่ 3 สถานะ คือ ของแข็ง (น้้าแข็ง) ของเหลว (น้้า) และ
แก๊ส (ไอน้้า) ได้
4




       I. ของแข็ง แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลมีค่ามาก ท้าให้โมเลกุลอยู่ใกล้กัน จึงท้าให้รูปทรงของของแข็งไม่เปลี่ยนแปลงมากเมื่อมีแรง
ขนาดไม่มากนักมากระท้า ตามค้าจ้ากัดความนี้ เหล็ก คอนกรีต ก้อนหิน เป็นของแข็ง
       II. ของเหลว แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลมีค่าน้อย โมเลกุลจึงเคลื่อนที่ไปมาได้บ้าง จึงท้าให้รูปทรงของของเหลวเปลี่ยนแปลงไปตาม
ภาชนะที่ที่บรรจุ น้้า น้้ามัน ปรอท เป็นของเหลว
       III. แก๊ส แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลมีค่าน้อยมาก จนโมเลกุลของแก๊สอยู่ห่างกันมากและเคลื่อนที่ได้สะเปะสะปะ ฟุ้งกระจายเต็ม
ภาชนะที่บรรจุ เช่นอากาศและแก๊สชนิดต่างๆ


สถานการณ์จ้าลอง แสดงให้เห็นการเปลี่ยนแปลงของสสาร( น้้า ) เมื่อได้รับความร้อน


การขยายตัวของวัตถุเนื่องจากความร้อน
     วัตถุโดยทั่วไปเมื่อได้รับความร้อนจะขยายตัว การขยายตัวของวัตถุจะขึ้นอยู่กับรูปร่างคือ
   วัตถุที่มีความยาวมีลักษณะเป็นเส้นหรือแท่งยาว จะมีการขยายตัวตามเส้น (การขยายตัวตามยาว)

   วัตถุที่เป็นแผ่นจะมีการขยายตัวตามพื้นที่

   วัตถุที่มีรูปร่างเป็นปริมาตรจะมีการขยายตัวตามปริมาตร

ในทางกลับกันถ้าวัตถุสูญเสียความร้อนก็จะหดตัว
5




  ขยายตัวตามเส้น ขยายตัวตามพื้นที่ ขยายตัวตามปริมาตร
สมบัติที่สาคัญๆ เกี่ยวกับการขยายของของแข็ง ได้แก่
       1. ของแข็งต่างชนิดกัน ถ้าเดิมมีความยาวเท่ากัน เมื่อร้อนขึ้นเท่ากันจะมีส่วนขยายตัวเพิ่มขึ้นไม่เท่ากัน
       2. ของแข็งชนิดเดียวกัน ถ้าเดิมมีความยาวเท่ากัน เมื่อร้อนขึ้นเท่ากันจะมีส่วนขยายตัวเพิ่มขึ้นเท่ากัน
       3. การขยายตัวของวัตถุเป็นเรื่องที่ส้าคัญมากในทางวิศวกรรม เช่น การวางเหล็กรางรถไฟ การขึงสายไฟฟ้าแรงสูงเป็นต้น

การถ่ายโอนความร้อน (Heat Transfer)
       ความร้อนจะถ่ายโอนหรือส่งผ่านจากวัตถุที่ระดับความร้อนสูง (อุณหภูมิสูง) ไปสู่วัตถุที่มีระดับความร้อนต่้า (อุณหภูมต่้า) การถ่ายโอน
                                                                                                                      ิ
ความร้อนมี 3 แบบ คือ
6




รูป แสดงการถ่ายโอนความร้อนแบบต่าง ๆ
     1. การนา เป็นการถ่ายโอนพลังงานความร้อนผ่านตัวกลางซึ่งโดยมากจะเป็นพวกโลหะต่างๆ เช่น เราเอามือไปจับช้อนโลหะที่ปลายข้าง
หนึ่งแช่อยู่ในน้้าร้อน มือเราจะรู้สึกร้อน เพราะความร้อนถูกส่งผ่านจากน้้าร้อนมายังมือเราโดยมีช้อนโลหะเป็นตัวน้าความร้อน

    2. การพา เป็นการถ่ายโอนความร้อนโดยการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของตัวกลางเป็นตัวพาความร้อนไปจากบริเวณที่ระดับความร้อนสูง
(อุณหภูมิสูง) ไปสู่บริเวณที่มีระดับความร้อนต่้า (อุณหภูมิต่้า) เช่นเวลาต้มน้้า ความร้อนจากเตาท้าให้น้าที่ก้นภาชนะร้อนจะขยายตัวท้าให้มี
ความหนาแน่นน้อยกว่าน้้าด้านบนจึงลอยตัวสูงขึ้นส่วนน้้าด้านบนที่มีอุณหภูมิต่้ากว่าและความหนาแน่นมากก็จะจมลงมาแทนที่ การหมุนวน
ของน้้าท้าให้เกิดการพาความร้อน
7




      3. การแผ่รังสี เป็นการส่งพลังงานความร้อนที่อยู่ในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (รังสีอินฟราเรด) ดังนั้นจึงไม่ต้องอาศัยตัวกลางในการ
เคลื่อนที่ เช่นการแผ่รังสีความร้อนจากดวงอาทิตย์มายังโลก โดยทั่วไปวัตถุที่แผ่รังสีได้ดีก็จะรับ(ดูดกลืน)รังสีได้ดีด้วย วัตถุชนิดนั้นเรา
เรียกว่าวัตถุด้า (Black Body) วัตถุด้าไม่มีในธรรมชาติ มีแต่ในอุดมคติ ดังนั้นวัตถุที่มีลักษณะใกล้เคียงวัตถุด้าคือ วัตถุที่มีสีด้า ในทางกลับกัน
วัตถุขาวจะไม่ดูดกลืนรังสีและ ไม่แผ่รังสีที่ตกกระทบ มีแต่ในอุดมคติเท่านั้น

More Related Content

What's hot

การถ่ายโอนความร้อนEbook
การถ่ายโอนความร้อนEbookการถ่ายโอนความร้อนEbook
การถ่ายโอนความร้อนEbookKhwankamon Changwiriya
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
Chakkrawut Mueangkhon
 
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
Thepsatri Rajabhat University
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
Banyat Niyomvas
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
พัน พัน
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพWijitta DevilTeacher
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
Wijitta DevilTeacher
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
Wichai Likitponrak
 
เรื่องที่ 10 ความร้อน
เรื่องที่ 10  ความร้อนเรื่องที่ 10  ความร้อน
เรื่องที่ 10 ความร้อนthanakit553
 
03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับ03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับ
Wijitta DevilTeacher
 
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันWannalak Santipapwiwatana
 
เรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อนเรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อนApinya Phuadsing
 
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดาดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
nang_phy29
 

What's hot (19)

การถ่ายโอนความร้อนEbook
การถ่ายโอนความร้อนEbookการถ่ายโอนความร้อนEbook
การถ่ายโอนความร้อนEbook
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
แรง
แรงแรง
แรง
 
Themodynamics
ThemodynamicsThemodynamics
Themodynamics
 
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 
เรื่องที่ 10 ความร้อน
เรื่องที่ 10  ความร้อนเรื่องที่ 10  ความร้อน
เรื่องที่ 10 ความร้อน
 
03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับ03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับ
 
8 3
8 38 3
8 3
 
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
วัฏจักรคาร์โนต์
วัฏจักรคาร์โนต์วัฏจักรคาร์โนต์
วัฏจักรคาร์โนต์
 
เรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อนเรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อน
 
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดาดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
 

Similar to Lesson10

Thermodynamics.pptx
Thermodynamics.pptxThermodynamics.pptx
Thermodynamics.pptx
Mrjoe Sripaison
 
ความร้อน.pptx
ความร้อน.pptxความร้อน.pptx
ความร้อน.pptx
ssuserdebdcf
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
Chanthawan Suwanhitathorn
 
002 introduction and basic concepts thai
002 introduction and basic concepts thai002 introduction and basic concepts thai
002 introduction and basic concepts thai
Saranyu Pilai
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
Wijitta DevilTeacher
 
สารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารสารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารZee Gopgap
 
สารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารสารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารZee Gopgap
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
Chanthawan Suwanhitathorn
 
กิจกรรมที่ 10 อุณหภูมิกับการเดือด
กิจกรรมที่ 10 อุณหภูมิกับการเดือดกิจกรรมที่ 10 อุณหภูมิกับการเดือด
กิจกรรมที่ 10 อุณหภูมิกับการเดือดkrupornpana55
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศdnavaroj
 
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยา
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยาใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยา
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยาyaowaluk
 
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
GanKotchawet
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า1
เครื่องใช้ไฟฟ้า1เครื่องใช้ไฟฟ้า1
เครื่องใช้ไฟฟ้า1Keatisak TAtanarua
 
เจษฎา
เจษฎาเจษฎา
เจษฎา
supphawan
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้าmaxkyza5
 
ไฟฟ้า2
ไฟฟ้า2ไฟฟ้า2
ไฟฟ้า2hiphopsky
 

Similar to Lesson10 (20)

Thermodynamics.pptx
Thermodynamics.pptxThermodynamics.pptx
Thermodynamics.pptx
 
ความร้อน.pptx
ความร้อน.pptxความร้อน.pptx
ความร้อน.pptx
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
002 introduction and basic concepts thai
002 introduction and basic concepts thai002 introduction and basic concepts thai
002 introduction and basic concepts thai
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
 
สารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารสารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสาร
 
สารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารสารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสาร
 
นำเสนอสาร
นำเสนอสารนำเสนอสาร
นำเสนอสาร
 
นำเสนอสาร
นำเสนอสารนำเสนอสาร
นำเสนอสาร
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
กิจกรรมที่ 10 อุณหภูมิกับการเดือด
กิจกรรมที่ 10 อุณหภูมิกับการเดือดกิจกรรมที่ 10 อุณหภูมิกับการเดือด
กิจกรรมที่ 10 อุณหภูมิกับการเดือด
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศ
 
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยา
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยาใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยา
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยา
 
แข็ง เหลว แก๊ส
แข็ง เหลว แก๊สแข็ง เหลว แก๊ส
แข็ง เหลว แก๊ส
 
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
 
P10
P10P10
P10
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า1
เครื่องใช้ไฟฟ้า1เครื่องใช้ไฟฟ้า1
เครื่องใช้ไฟฟ้า1
 
เจษฎา
เจษฎาเจษฎา
เจษฎา
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้า2
ไฟฟ้า2ไฟฟ้า2
ไฟฟ้า2
 

More from saiyok07 (20)

0 o net-2549
0 o net-25490 o net-2549
0 o net-2549
 
9.2
9.29.2
9.2
 
20
2020
20
 
19
1919
19
 
18
1818
18
 
17.4
17.417.4
17.4
 
17.3
17.317.3
17.3
 
17.2
17.217.2
17.2
 
17.1
17.117.1
17.1
 
16.4
16.416.4
16.4
 
16.3
16.316.3
16.3
 
16.2
16.216.2
16.2
 
16.1
16.116.1
16.1
 
14.4
14.414.4
14.4
 
15.4
15.415.4
15.4
 
15.3
15.315.3
15.3
 
15.2
15.215.2
15.2
 
15.1
15.115.1
15.1
 
14.3
14.314.3
14.3
 
14.2
14.214.2
14.2
 

Lesson10

  • 1. 1 ความร้อน ความร้อน (Thermal) ดูทฤษฎีความร้อนเพิ่มเติม(MS word ) ความร้อนเป็นพลังงานรูปหนึ่งที่เปลี่ยนมาจากพลังงานรูปอื่น เช่น พลังงานไฟฟ้า พลังงานกล (พลังงานศักย์และพลังงานจลน์) พลังงานเคมี พลังงานนิวเคลียร์ หรืองาน เป็นต้น พลังงานความร้อนมีหน่วยเป็นจูล (Joule, J ) ในระบบเอสไอ (SI) แต่บางครั้งอาจบอกเป็นหน่วยอื่นได้ เช่น แคลอรี (cal) และบีทียู (BTU) พลังงานความร้อน 1 แคลอรี คือพลังงานความร้อนที่ท้าให้น้ามวล 1 กรัม มีอุณหภูเพิ่มขึ้น 1 องศาเซลเซียส (°C ) ในช่วง 14.5 °C ถึง 15.5 °C พลังงานความร้อน 1 บีทียู คือ พลังงานความร้อนที่ท้าให้น้าที่มีมวล 1 ปอนด์ มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1 องศาฟาเรนไฮต์ (°F) ในช่วง 58.1 °F ถึง 59.1 °F จากการทดลองพบว่า 1 cal = 4.186 J 1 BTU = 252 cal = 1055 J อุณหภูมิ
  • 2. 2 นักวิทยาศาสตร์ได้ก้าหนดว่าอุณหภูมิ คือ ปริมาณที่แปรผันโดยตรงกับพลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊ส การที่เราจะบอกว่าวัตถุใดร้อน มากหรือน้อย เราสามารถบอกได้ด้วยอุณหภูมิของวัตถุนั้น คือ วัตถุที่มีระดับความร้อนมากจะมีอุณหภูมิสูง วัตถุที่มีระดับความร้อนน้อยจะมี อุณหภูมิต่้า ดังนั้นถ้าเราเอาวัตถุที่มีอุณหภูมิสงมาสัมผัสวัตถุที่มีอุณหภูมิต่้า พลังงานความร้อนจะถูกถ่ายโอนจากวัตถุที่มีอุณหภูมิสูงไปยังวัตถุ ู ที่มีอุณหภูมิต่้า จนวัตถุทั้งสองมีอุณหภูมิเท่ากัน อุปกรณ์ที่ใช้วัดอุณหภูมิเรียกว่า เทอร์โมมิเตอร์ เทอร์โมมิเตอร์มีหลายชนิด เช่น 1. สเกลองศาเซลเซียส (Celsuis, °C) หรือบางที่เรียกว่าองศาเซนติเกรด (ที่ความดัน 1 บรรยากาศ จุดเยือกแข็งของน้้าเป็น 0 เซลเซียส และจุดเดือดเป็น 100 เซลเซียส ระหว่างจุดเยือกแข็งและจุดเดือดแบ่งเป็น 100 ส่วนเท่าๆ กัน ) 2. สเกลองศาเคลวิน (Kelvin, °K) เป็นหน่วยของอุณหภูมิสัมบูรณ์ (ที่ความดัน 1 บรรยากาศ จุดเยือกแข็งของน้้าเป็น 273.16 เคลวิน และจุดเดือดเป็น 373.16 เคลวิน ระหว่างจุดเยือกแข็งและจุดเดือดแบ่งเป็น 100 ส่วนเท่าๆ กัน ) ## หน่วยเคลวินเป็นหน่วยมาตรฐานใน ระบบเอสไอ ปริมาณความร้อนของวัตถุ (HEAT, Q) เป็นพลังงานความร้อนที่วัตถุรับเข้ามาหรือคายออกไป จากการศึกษาผลของความร้อนต่อสสารหรือวัตถุในชั้นนี้จะศึกษาเพียงสอง ด้าน คือ 1. ความร้อนจาเพาะ ( Specific heat ) หมายถึง พลังงานความร้อนที่ท้าให้วัตถุมีอุณหภูมิสูงขึ้นหรือต่้าลงโดยสถานะยังคงรูปเดิม 2. ความร้อนแฝง (Latent Heat) หมายถึง พลังงานความร้อนที่ท้าให้วัตถุเปลี่ยนสถานะโดยอุณหภูมิคงที่
  • 3. 3 ความจุความร้อน ( Heat capacity, C ) คือความร้อนที่ท้าให้สารทั้งหมดที่ก้าลังพิจารณามีอุณหภูมิเปลี่ยนไปหนึ่งหน่วย โดยสถานะไม่ เปลี่ยน ถ้าให้ปริมาณความร้อน ΔQ แก่วัตถุ ท้าให้อุณหภูมิของวัตถุเปลี่ยนไป ΔT ดังนั้นถ้าอุณหภูมิของวัตถุเปลี่ยนไป 1 หน่วย จะใช้ ความร้อน C คือ มีหน่วยเป็น จูล/เคลวิน (J/K) ความจุความร้อนจาเพาะ (Specific Heat capacity , c ) คือความร้อนที่ท้าให้สาร(วัตถุ) มวลหนึ่งหน่วยมีอุณหภูมิเปลี่ยนไปหนึ่งองศาเคล วิน คือ ความจุความร้อนจ้าเพาะของสาร(J/kg-K) นั่นคือ เมื่อสารมวล m มีอุณหภูมิเพิ่มจาก T1 เป็น T2 และความจุความร้อนจ้าเพาะมีคาคงตัว ความร้อนที่สารได้รับ ่ คือ การเปลี่ยนสถานะของสาร สารและสิ่งของที่อยู่รอบตัวเราจะพบว่ามีอยู่ 3 สถานะ คือ ของแข็ง (น้้าแข็ง) ของเหลว (น้้า) และ แก๊ส (ไอน้้า) ได้
  • 4. 4 I. ของแข็ง แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลมีค่ามาก ท้าให้โมเลกุลอยู่ใกล้กัน จึงท้าให้รูปทรงของของแข็งไม่เปลี่ยนแปลงมากเมื่อมีแรง ขนาดไม่มากนักมากระท้า ตามค้าจ้ากัดความนี้ เหล็ก คอนกรีต ก้อนหิน เป็นของแข็ง II. ของเหลว แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลมีค่าน้อย โมเลกุลจึงเคลื่อนที่ไปมาได้บ้าง จึงท้าให้รูปทรงของของเหลวเปลี่ยนแปลงไปตาม ภาชนะที่ที่บรรจุ น้้า น้้ามัน ปรอท เป็นของเหลว III. แก๊ส แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลมีค่าน้อยมาก จนโมเลกุลของแก๊สอยู่ห่างกันมากและเคลื่อนที่ได้สะเปะสะปะ ฟุ้งกระจายเต็ม ภาชนะที่บรรจุ เช่นอากาศและแก๊สชนิดต่างๆ สถานการณ์จ้าลอง แสดงให้เห็นการเปลี่ยนแปลงของสสาร( น้้า ) เมื่อได้รับความร้อน การขยายตัวของวัตถุเนื่องจากความร้อน วัตถุโดยทั่วไปเมื่อได้รับความร้อนจะขยายตัว การขยายตัวของวัตถุจะขึ้นอยู่กับรูปร่างคือ  วัตถุที่มีความยาวมีลักษณะเป็นเส้นหรือแท่งยาว จะมีการขยายตัวตามเส้น (การขยายตัวตามยาว)  วัตถุที่เป็นแผ่นจะมีการขยายตัวตามพื้นที่  วัตถุที่มีรูปร่างเป็นปริมาตรจะมีการขยายตัวตามปริมาตร ในทางกลับกันถ้าวัตถุสูญเสียความร้อนก็จะหดตัว
  • 5. 5 ขยายตัวตามเส้น ขยายตัวตามพื้นที่ ขยายตัวตามปริมาตร สมบัติที่สาคัญๆ เกี่ยวกับการขยายของของแข็ง ได้แก่ 1. ของแข็งต่างชนิดกัน ถ้าเดิมมีความยาวเท่ากัน เมื่อร้อนขึ้นเท่ากันจะมีส่วนขยายตัวเพิ่มขึ้นไม่เท่ากัน 2. ของแข็งชนิดเดียวกัน ถ้าเดิมมีความยาวเท่ากัน เมื่อร้อนขึ้นเท่ากันจะมีส่วนขยายตัวเพิ่มขึ้นเท่ากัน 3. การขยายตัวของวัตถุเป็นเรื่องที่ส้าคัญมากในทางวิศวกรรม เช่น การวางเหล็กรางรถไฟ การขึงสายไฟฟ้าแรงสูงเป็นต้น การถ่ายโอนความร้อน (Heat Transfer) ความร้อนจะถ่ายโอนหรือส่งผ่านจากวัตถุที่ระดับความร้อนสูง (อุณหภูมิสูง) ไปสู่วัตถุที่มีระดับความร้อนต่้า (อุณหภูมต่้า) การถ่ายโอน ิ ความร้อนมี 3 แบบ คือ
  • 6. 6 รูป แสดงการถ่ายโอนความร้อนแบบต่าง ๆ 1. การนา เป็นการถ่ายโอนพลังงานความร้อนผ่านตัวกลางซึ่งโดยมากจะเป็นพวกโลหะต่างๆ เช่น เราเอามือไปจับช้อนโลหะที่ปลายข้าง หนึ่งแช่อยู่ในน้้าร้อน มือเราจะรู้สึกร้อน เพราะความร้อนถูกส่งผ่านจากน้้าร้อนมายังมือเราโดยมีช้อนโลหะเป็นตัวน้าความร้อน 2. การพา เป็นการถ่ายโอนความร้อนโดยการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของตัวกลางเป็นตัวพาความร้อนไปจากบริเวณที่ระดับความร้อนสูง (อุณหภูมิสูง) ไปสู่บริเวณที่มีระดับความร้อนต่้า (อุณหภูมิต่้า) เช่นเวลาต้มน้้า ความร้อนจากเตาท้าให้น้าที่ก้นภาชนะร้อนจะขยายตัวท้าให้มี ความหนาแน่นน้อยกว่าน้้าด้านบนจึงลอยตัวสูงขึ้นส่วนน้้าด้านบนที่มีอุณหภูมิต่้ากว่าและความหนาแน่นมากก็จะจมลงมาแทนที่ การหมุนวน ของน้้าท้าให้เกิดการพาความร้อน
  • 7. 7 3. การแผ่รังสี เป็นการส่งพลังงานความร้อนที่อยู่ในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (รังสีอินฟราเรด) ดังนั้นจึงไม่ต้องอาศัยตัวกลางในการ เคลื่อนที่ เช่นการแผ่รังสีความร้อนจากดวงอาทิตย์มายังโลก โดยทั่วไปวัตถุที่แผ่รังสีได้ดีก็จะรับ(ดูดกลืน)รังสีได้ดีด้วย วัตถุชนิดนั้นเรา เรียกว่าวัตถุด้า (Black Body) วัตถุด้าไม่มีในธรรมชาติ มีแต่ในอุดมคติ ดังนั้นวัตถุที่มีลักษณะใกล้เคียงวัตถุด้าคือ วัตถุที่มีสีด้า ในทางกลับกัน วัตถุขาวจะไม่ดูดกลืนรังสีและ ไม่แผ่รังสีที่ตกกระทบ มีแต่ในอุดมคติเท่านั้น