SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
L.P.N. DEVELOPMENT PUBLIC COMPANY LIMITED
LUMPINI
MAGISSUE 78 JAN - MAR 2015
การออกแบบ
เพื่อคนทุกวัย
“การออกแบบเพื่อคนทุกวัย”
	 ในสังคมของเรามีกลุ่มคนที่หลาก
หลาย ทั้งเด็ก ผู้ใหญ่ คนชรา คนพิการ การ
ออกแบบที่เรียกว่าUniversal Design หรือ
อารยสถาปัตย์ซึ่งเป็นการออกแบบเพื่อคน
ทั้งมวลจึงเกิดขึ้นแม้บุคคลบางกลุ่มจะมีข้อ
จ�ำกัด ไม่ว่าจะทั้งทางร่างกาย ปัญญา หรือ
จิตใจอย่างไรก็ตามพวกเขาก็ยังคงเป็นส่วน
หนึ่งของสังคม ดังนั้นสังคมควรรับผิดชอบ
ดูแล เพื่อให้ทุกๆ คนในสังคมอยู่ร่วมกันได้
อย่างมีความสุขตามอัตภาพแต่ละคน
	 การออกแบบที่ตอบสนองต่อคน
ทุกกลุ่มนี้ จะท�ำให้สมาชิกทุกคนสามารถ
Theme
อยู่ร่วมกัน ยอมรับกันท่ามกลางความต่าง
ตระหนักได้ว่าทุกคนเป็นส่วนหนึ่งในสังคม
ชุมชน และมีความเสมอภาคเท่าเทียมกัน
หากการออกแบบเพื่อคนทุกวัยได้รับการ
สนับสนุนจากทั้งองค์กรภาครัฐ ซึ่งเล็งเห็น
การดูแลทุกคนอย่างเท่าเทียม และได้ผู้ที่
เชี่ยวชาญ มีความรู้และทักษะในการสราง
และออกแบบครอบคลุมมวลชนทุกคน
รวมถึงรับฟังข้อคิดเห็นผู้ใช้บริการเพื่อน�ำ
มาปรับปรุงแก้ไข สังคมแห่งการอยู่ร่วมกัน
อย่างเสมอภาคและมีความสุขนั้นก็จะยิ่ง
แผ่ขยายออกเป็นวงกว้างมากขึ้น
ภาพถ่ายจากสถานที่จริง โครงการลุมพินี วิลล์ นาเกลือ-วงศ์อมาตย์
Universal Design
2
จัดท�ำโดย
ฝ่ายประชาสัมพันธ์
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จ�ำกัด (มหาชน)
3 	 Editor Content
4	 Real Pleasure of Living
6	 Happy Together
7	 Vibrant Community Model
11	 Health Tips
12	 Care & Share	
14 	 Idea Room
15	 Chill Out
16	 Chit Chat
18	 Lumpini Movement
19	 LPN Green	
LUMPINI
MAG
content
#78
สวัสดีครับ
สมาชิกครอบครัวลุมพินีทุกท่าน
	 ถือเป็นประเพณีไปแล้วนะครับที่ทุกต้นปีสมาชิกครอบครัวลุมพินีจะได้มีโอกาส
พบปะสังสรรค์กันแบบครอบครัวใหญ่ในงานวันครอบครัวลุมพินีซึ่งจัดขึ้นเป็นปีที่10แล้ว
	 เช้าจรดเย็นที่อยู่ด้วยกัน ผมเชื่อว่าหลายท่านคงได้รับทั้งความสุขกายและ
สุขใจจากกิจกรรมตลอดทั้งวัน  ไม่ว่าจะเป็นจากการร่วมแข่งขันกีฬาประชาคมลุมพินี  
เบิกบานใจไปกับธรรมะและดนตรีในสวน เติมเต็มความฝันให้กับน้องๆ ด้อยโอกาส
ปิดท้ายด้วยความสนุกรับลมเย็นภายใต้บรรยากาศการ “ร่วมสร้างสุขที่ลุมพินี”
	 แต่สำ�หรับอีกหลายท่านที่อาจจะขุ่นข้องหมองใจกับความไม่สะดวกหลาย
อย่างผมก็ต้องขออภัยมาณที่นี้นะครับและอยากชักชวนให้ทุกท่านดึงเอาวัฒนธรรม
ร่วมใจ ห่วงใย แบ่งปัน มาใช้ในการร่วมสังสรรค์ในงานวันครอบครัวลุมพินีด้วย
	 ตั้งแต่การให้ความเข้าใจและร่วมใจทำ�ตามกฎระเบียบของสถานที่ร่วมห่วงใย
ดูแลช่วยกันรักษาความสะอาด เพื่อให้เราได้มีสวนสาธารณะไว้เป็นปอดกันอีกนานๆ  
และสุดท้ายคือร่วมแบ่งปันความอิ่มอร่อยและพื้นที่ความสุขให้กับอีกหลายครอบครัว
เพื่อให้ความสุขที่แท้จริงของการอยู่อาศัย ขยายไปในทุกพื้นที่
	 สิ่งเล็กๆน้อยๆเหล่านี้จะสร้างความประทับใจให้กับผู้ที่มาร่วมงานเองและ
ผู้ที่พบเห็น เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของชาว “ลุมพินี” ที่ไปไหนใครก็ต้อนรับ เพราะไม่
เพียงสร้างความสุขให้กับชุมชนของเราแต่ยังเอื้อเฟื้อไปสู่สังคมและสิ่งแวดล้อมรอบๆ
เราด้วย
	 และเพื่อให้ “ลุมพินี” เป็น “ชุมชนน่าอยู่” ของทุกคนอย่างยั่งยืนครับ
โอภาส ศรีพยัคฆ์
กรรมการผู้จัดการ
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จ�ำกัด (มหาชน)
1168/109 ชั้น 36 อาคารลุมพีนี ทาวเวอร์ ถนนพระราม 4
แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120
โทรศัพท์ : 02-285-5011-6 แฟกซ์ : 02-285-5017
E-mail : lumpinimag@lpn.co.th
Facebook/LumpiniMag Lumpini
Instagram/LumpiniMag www.lpn.co.th
บททักทาย
LPN MAG 78 JAN – MAR 2015
3
โดยคอนเซ็ปต์ปีนี้มีชื่อว่า “ร่วมสร้างสุขที่ลุมพินี” ตอกย้ำ�ความเป็นที่หนึ่ง
เรื่องที่อยู่อาศัยและสร้างสรรค์สังคมน่าอยู่ โดยเจ้าของร่วมกับบริษัท แอล.พี.เอ็น.
ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) ช่วยกันสร้างวันเวลาที่น่าจดจำ�ไปด้วยกัน สามารถ
สร้างรอยยิ้มและความสนุกสนานร่วมกันได้ทุกช่วงเวลา
	 LPN จัดกิจกรรม “วันครอบครัวลุมพินี” ต่อเนื่องเป็นครั้งที่ 10
โดยปีนี้เนรมิตพื้นที่สีเขียวภายในสวนลุมพินี สวนสาธารณะใจกลางเมือง
เป็นลานกิจกรรม
“วันครอบครัวลุมพินี”
ครั้งที่ 10
Universal Design
44
Real Pleasure of Living
ภายในงานมีกิจกรรมมากมาย
เริ่มตั้งแต่เช้าตรู่กับกิจกรรม ลุมพินี
เดิน-วิ่งเพื่อสุขภาพต่อด้วยกีฬาประชาคม
ลุมพินีและในช่วงสายๆ มี 2 กิจกรรม
ควบคู่กันธรรมะในสวนและกิจกรรมเพื่อ
สังคม “โลกสุดมันเติมฝันให้น้อง” มี
บรรดาอาสาสมัครเพื่อช่วยดูแลน้องจาก
2 มูลนิธิ ได้แก่ สถานสงเคราะห์เด็กชาย
บ้านมหาเมฆ และมูลนิธิเพื่อการฟื้นฟู
พัฒนาเด็กและครอบครัว (FORDEC)
ในช่วงเย็นรับฟังดนตรีในสวน กิจกรรม
นักปันลุมพินี ปิดท้ายด้วยมินิคอนเสิร์ต
เอาใจสมาชิกครอบครัวลุมพินี จากวง
25 hours มอส ปฏิภาณ และทาทา ยัง
	 เป็นความสุขที่น่าประทับใจและ
น่าจดจำ�ไปตลอดปี เป็นแรงใจให้สมาชิก
ทุกท่านได้พร้อมทำ�งานต่อไป
LPN MAG 78 JAN – MAR 2015
5
Universal Design
6
Happy Together
จุดเริ่มต้น
“ชุมชนต้นแบบ”
Vibrant Community
LPN MAG 78 JAN – MAR 2015
7
LPN 25th
Anniversary
8
	 “ชุมชนต้นแบบ” คือ
ชุมชนที่มีมาตรฐานในการบริหาร
จัดการ “ชุมชนน่าอยู่” อย่างเป็น
รูปธรรม
	 นอกเหนือจากการส่งมอบ
“คุณค่าผลิตภัณฑ์” ที่มีองค์ประกอบ
ครบถ้วนในด้านการใช้งาน มีราคาที่
เหมาะสมแล้ว  “คุณค่าบริการ” ภายใต้
กลยุทธ์ “ชุมชนน่าอยู่” จึงเป็นสิ่งหนึ่ง
ที่ LPN ให้ความสำ�คัญเสมือนการดูแล
ต้นไม้ใหญ่ให้ผลิดอกออกใบสร้างความ
ร่มเย็นและปลอดภัยให้กับทุกคนที่มา
อาศัย   
	 ด้วยเหตุนี้LPNจึงเริ่มนำ�โมเดล
“ชุมชนต้นแบบ” มาเป็นแนวทางเพื่อ
ให้การบริหารจัดการทุกชุมชนลุมพินี
มีมาตรฐานและเป็นชุมชนน่าอยู่อย่าง
Universal Design
8
ยั่งยืน  โดยคัดเลือกชุมชนที่มีมาตรฐาน
การบริหารจัดการ ผ่านเกณฑ์ที่ตั้งไว้มา
เป็น “ชุมชนต้นแบบ” เพื่อเป็นแหล่ง
การเรียนรู้การบริหารชุมชน และพัฒนา
คุณค่าเพิ่มแบบบูรณาการผ่านชุมชน
ต้นแบบ  และนำ�ไปปรับปรุงพัฒนาเพื่อ
ให้ทุกชุมชนผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามที่
ได้กำ�หนดไว้
	 การจะเตรียมชุมชนให้เป็น
“ชุมชนต้นแบบ” จำ�เป็นต้องมี
องค์ประกอบสำ�คัญอันได้แก่ เจ้าของร่วม
กรรมการนิติบุคคลอาคารชุด และ
ผู้พักอาศัย  เข้ามามีส่วนในการร่วม
คิดร่วมสร้าง ร่วมผลักดันให้ชุมชนมี
ประสิทธิภาพภายใต้กลยุทธ์การบริหาร
จัดการ “ชุมชนน่าอยู่” ดังนี้
ทุกการมีส่วนร่วม ทุกความคิดเห็น ทุกแรงสนับสนุน จะเป็นพลังอันแข็งแกร่งที่จะสร้าง
วัฒนธรรมการอยู่อาศัยที่ดีร่วมกัน บนพื้นฐานของความร่วมใจ ห่วงใย แบ่งปัน (Together-
ness, Care and Share) และหล่อหลอมให้ลุมพินีเป็น “ชุมชนต้นแบบ” ซึ่งเป็นจิตวิญญาณ
ของ “ชุมชนน่าอยู่” เปี่ยมด้วย “ความสุขที่แท้จริงของการอยู่อาศัย” อย่างแท้จริง
ISSUE 75 MAY - JULY 2014
9
LPN MAG 78 JAN – MAR 2015
9
F Facility Management
การบริหารจัดการทรัพย์ส่วนกลาง 	 	
คงประสิทธิภาพพร้อมใช้งานและ
ปลอดภัยต่อการใช้งาน
B Budgeting Management
การบริหารจัดการงบประมาณการเงิน
มีเสถียรภาพ รักษาความมั่นคงใน
สถานะทางการเงินของชุมชน
โปร่งใสตรวจสอบได้
L Life Quality Management
การบริหารจัดการคุณภาพชีวิต มุ่งเน้น
การสร้างวินัยและจิตสำ�นึกในการอยู่อาศัย
ร่วมกัน ดูแล ห่วงใย และแบ่งปัน ก่อให้
เกิดเป็นวัฒนธรรมและความสัมพันธ์อันดี
E Environment Management
การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม ให้ความสำ�คัญกับสิ่งแวดล้อม
ที่มีผลกระทบต่อผู้อาศัยและสังคมโดยรอบโครงการ
S Security and Safety Management
การบริหารจัดการความปลอดภัย รักษามาตรฐานของระบบรักษาความปลอดภัย
ทั้งเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานและอุปกรณ์
P People Management
การบริหารจัดการผู้เกี่ยวข้องบริหารความพึงพอใจในประสิทธิภาพ
การบริหารชุมชนในมุมมองที่เกี่ยวกับการอยู่อาศัยร่วมกันอย่างมีความสุข
	 ทุกการมีส่วนร่วม ทุกความคิดเห็น ทุกแรงสนับสนุน จะเป็นพลังอันแข็งแกร่ง
ที่จะสร้างวัฒนธรรมการอยู่อาศัยที่ดีร่วมกันบนพื้นฐานของความร่วมใจห่วงใยแบ่งปัน
(Togetherness, Care and Share) และหล่อหลอมให้ลุมพินีเป็น “ชุมชนต้นแบบ”
ซึ่งเป็นจิตวิญญาณของ“ชุมชนน่าอยู่”เปี่ยมด้วย“ความสุขที่แท้จริงของการอยู่อาศัย”
อย่างแท้จริง
Universal Design
10
	 ลุมพินี เพลส
รัชโยธิน คือหนึ่งในหลายๆ
ชุมชนต้นแบบที่เราอยาก
แนะนำ�ให้คุณผู้อ่านรู้จัก
ที่นี่เป็นต้นแบบของชุมชน
คนรักสุขภาพ ซึ่งชุมชนอื่น
อาจนำ�ไปเป็นไอเดียในการ
สร้างชุมชนของตนเองได้
ลุมพินี
เพลส
รัชโยธิน“ชุมชนคนรักสุขภาพ”
	 ชุมชนคนรักสุขภาพของลุมพินี
เพลส รัชโยธิน ถือกำ�เนิดขึ้นหลังจากที่
ทั้ง 3 ฝ่าย คือ คณะกรรมการนิติบุคคล
อาคารชุด เจ้าของร่วม และผู้พักอาศัย
ได้ร่วมกันระดมสมอง ร่วมคิด และร่วม
แบ่งปันประสบการณ์ด้านสุขภาพและ
การออกกำ�ลังกาย ซึ่งเป็นสิ่งที่ชุมชนให้
ความสำ�คัญ	
	 หลังจากการช่วยกันร่วมออก
ความคิดเห็นและเสนอแนวคิดด้วยสถาน
ที่และบรรยากาศเอื้อต่อการทำ�กิจกรรม
ร่วมกัน รวมถึงการใส่ใจในเรื่องสุขภาพ
ส่งผลให้ลุมพินี เพลส รัชโยธิน กลายเป็น
“ชุมชนคนรักสุขภาพ”
	 วิสัยทัศน์ที่สอดคล้องต้องกัน
ของทุกฝ่ายก่อให้เกิดนโยบายส่งเสริม
การออกกำ�ลังกายให้กับผู้พักอาศัย โดย
ขยายเวลาเปิดส่วนสันทนาการให้เร็วขึ้น
จากเดิมที่เคยเปิด 6 โมงเช้าถึง 4 ทุ่ม ได้
เปลี่ยนเป็นเริ่มเปิดตั้งแต่เวลา ตี 5 ครึ่ง
และมีการขยายเวลาปิดของสนามบาส
จากเดิมที่จะปิดในช่วง 2 ทุ่ม ก็ได้ขยาย
เวลาออกมาเป็นช่วง 3 ทุ่ม โดยเริ่มเปิด
ตั้งแต่ช่วงบ่าย 2 ของทุกวัน นอกจากนี้
ยังมีการตีเส้นระยะวิ่งจ๊อกกิ้งรอบๆ
อาคาร สนับสนุนการวิ่งและออกกำ�ลังกาย
อย่างมีประสิทธิภาพ สิ่งต่างๆ ข้างต้น
ส่งผลให้ผู้พักอาศัยมีโอกาสได้พบปะ
พูดคุยกันมากขึ้น มีความใกล้ชิดกัน
ไม่ห่างเหิน ให้ความรู้สึกเหมือนการอยู่
ภายในบ้านหลังเดียวกัน ถือเป็นต้นแบบ
ที่ดีให้กับชุมชนอื่นๆ ในสังคมเมือง
	 ในฉบับต่อๆ ไป เราจะขอนำ�
เสนอชุมชนต้นแบบอื่นๆ ให้คุณผู้อ่าน
ได้รู้จักและเข้าใจถึงชุมชนต้นแบบแต่ละ
ชุมชนมากขึ้นซึ่งอาจจะเป็นไอเดียให้คุณ
ผู้อ่านได้นำ�ไปปรับใช้ในชุมชนของคุณได้
เพื่อที่จะได้เป็นชุมชนต้นแบบอีกหนึ่งแห่ง
ในครอบครัวของลุมพินี
การปั่นจักรยานเป็นตัวเลือกมา
แรงสำ�หรับการออกกำ�ลังกาย คุณเจมส์-
อรรถพล จิวรพงษ์ สมาชิกครอบครัว
ลุมพินีพาร์คริเวอร์ไซด์-พระราม3ก็เป็น
อีกคนที่เลือกกิจกรรมนี้เพื่อดูแลสุขภาพ
นอกจากจะได้เผาผลาญไขมัน เปลี่ยน
บรรยากาศชมวิวตามที่ต่างๆ แล้ว ยังได้
ความอบอุ่นและมิตรภาพจากเพื่อนร่วม
ปั่นอีกด้วย
	 “ผมเริ่มปั่นจักรยานบ่อยขึ้นก็
ตอนย้ายมาอยู่ที่ลุมพินีครับ เพราะพี่ๆ
เพื่อนๆที่นี่ปั่นจักรยานกันมาก เพิ่มความ
อยากปั่นมากขึ้น ไปเป็นกลุ่มสนุกและ
ปลอดภัยกว่ามีอะไรจะได้ช่วยเหลือกัน
เส้นแถวนี้ถือว่าโอเคมาก เป็นเส้นทางตรง
ขี่จักรยานได้สบายๆ ถ้าวันไหนเวลาเยอะ
อยากสูดโอโซนมากหน่อย ก็แค่นั่งเรือ
ข้ามฟากไปฝั่งตรงข้าม เสียค่าเรือไม่กี่สิบ
บาทเองครับ ไปปั่นที่บางกระเจ้า ที่ว่ากัน
ว่าเป็นปอดของกรุงเทพฯ”
	 ส่วนการเผาผลาญไขมันที่ได้จาก
การปั่นจักรยานนั้น คุณเจมส์อธิบายข้อดี
ให้ฟังว่า “เวลาปั่นจักรยานเราจะได้เผา
ผลาญไขมันอยู่แล้ว แต่ตอนเราลงจาก
เบิร์นไขมัน
ด้วยการปั่นจักรยาน
อานจักรยานมันจะมีสภาวะที่เรียกว่า
After Burner เป็นการเผาผลาญไขมัน
หลังจากเราหยุดปั่นไปแล้วอีกประมาณ
2-3 ชั่วโมง แต่หัวใจของสุขภาพทุก
อย่างอยู่ที่วินัยครับ ออกกำ�ลังกายแต่
รับประทานอาหารหนักๆ ไม่มีประโยชน์
พักผ่อนน้อย ก็จะไม่ได้รับประโยชน์
อะไร ดังนั้นต้องมีวินัยกับตัวเอง
มากๆ ครับ”
	 เกร็ดเล็กน้อยก่อนจาก คุณเจมส์
อยากให้ระวังเรื่องการออกถนนทั้งมือใหม่
มือโปรควรปั่นชิดซ้ายไม่กินเลนถนน
อย่าลืมสวมหมวกป้องกันศีรษะเวลาปั่น
รวมถึงถุงมือปั่นจักรยานกันเจ็บมือ ปรับ
เบาะและมือจับให้พอดี ใช้ระดับความสูง
ที่เมื่อเราปั่นแล้วรู้สึกสบายที่สุด ไม่อย่าง
นั้นอาจจะทำ�ให้ปวดหลังได้
LPN MAG 78 JAN – MAR 2015
11
Health Tips
ขอแนะน�ำตัวก่อนนะครับ ผมชื่อ
นพดล โกวะประดิษฐ์ ผมมีความผูกพันกับ
ลุมพินีมานานพอสมควร ผมอยู่ที่ลุมพินี
วิลล์ ศูนย์วัฒนธรรม เมื่อก่อนย้ายมาซื้อ
ห้องชุดพักอาศัยที่ลุมพินี วิลล์ ประชาชื่น-
พงษ์เพชร 2 ครับ
	 ที่ลุมพินีมีการจัดกิจกรรมต่างๆ
มากมายและต่อเนื่องทุกๆโครงการเป็นสิ่ง
ที่น่าสนุกและให้ประโยชน์ส�ำหรับผม
สิ่งนี้เองคือจุดเด่นของความเป็นลุมพินี ซึ่ง
ต่างจากที่อื่น ผมเริ่มเข้าร่วมกิจกรรมกับ
ทางลุมพินีตั้งแต่เมื่อครั้งอยู่ที่ลุมพินี วิลล์
ศูนย์วัฒนธรรม จนถึงตอนนี้ผมก็ยังร่วม
ลงชื่อเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ มาโดยตลอด
	 การท�ำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นท�ำให้
ผมได้รู้จักกับเพื่อนใหม่ๆ ซึ่งเป็นสิ่งที่ดีมาก
เมื่อเรารู้จักกัน การช่วยเหลือเกื้อกูลกันก็
การท�ำกิจกรรมร่วมกันเป็นจุดเริ่ม
ของความสัมพันธ์ และมิตรภาพ
สิ่งนี้เองเป็นจุดเด่นของครอบครัว
ลุมพินีที่ผมชื่นชอบ อยากแบ่งปัน
เล่าสู่กันฟัง
สุขกับการท�ำกิจกรรม
ยิ่งท�ำยิ่งได้
เกิดขึ้น ผมเคยไม่อยู่คอนโดหลายวัน ไป
ต่างจังหวัด เพื่อนๆ ที่รู้จักกันในโครงการ
เขาก็มีน�้ำใจคอยดูแลว่ามีใครมาหาที่ห้อง
หรือเปล่า อีกทั้งยังช่วยดูรถที่จอดเอาไว้
ด้วย ซึ่งเป็นสิ่งที่ต่างท�ำให้ด้วยใจทั้งสิ้น แม้
จะเป็นความห่วงใยเล็กๆ น้อยๆ แต่ก็ท�ำให้
ผมรู้สึกดีมากเลยครับ
	 ส�ำหรับการออกทริปใหญ่ร่วมท�ำ
กิจกรรมกับทางลุมพินีในหลายๆโครงการ
ก็เช่นเดียวกันนอกจากจะได้เจอเพื่อนใหม่
แล้วยังได้เรียนรู้เรื่องความเสียสละ รู้จัก
แบ่งปัน เรียนรู้เข้าใจเพื่อนมนุษย์ เข้าใจ
ธรรมชาติ ซึ่งเป็นการสร้างจิตส�ำนึกที่ดีสู่
สังคม
	 ทั้งหมดที่กล่าวมานี้ก็อยากเชิญให้
ทุกคนลองเปิดใจ และมาร่วมท�ำกิจกรรม
กับเพื่อนบ้านในชุมชนของคุณดู เริ่มต้น
ง่ายๆ ได้ประโยชน์กับตัวเราเองเต็มๆ
อันดับแรก นั่นคือการลงมาร่วมประชุม
ใหญ่สามัญเจ้าของร่วมประจ�ำปีซึ่งถือเป็น
สิทธิที่เจ้าของร่วมและผู้พักอาศัยทุกคน
ควรเข้ารับฟังและแบ่งปันความคิดเห็น
นอกจากจะได้รับข่าวสารซึ่งจะเป็น
กิจกรรมอาสาล้างบ่อเต่า สัตหีบ จ.ชลบุรี
นักเขียนลุมพินี : คุณนพดล โกวะประดิษฐิ์ สมาชิกครอบครัวลุมพินี วิลล์ ประชาชื่น-พงษ์เพชร
Universal Design
12
Care & Share
“มันมีความอิมเอมอยู่ในใจ
ทีได้ช่วยเหลือพวกเขา
และได้เป็นส่วนหนึงของการ
แบ่งปันสิงดีๆ”
ร่วมกิจกรรมช้อป ชิม ชิว กับโครงการลุมพินีวิลล์ ศูนย์วัฒนธรรม
กิจกรรมอาสาล้างบ่อเต่า สัตหีบ จ.ชลบุรี 2
่
่
่
่
กิจกรรมอนุรักษ์ป่าชายเลน จ.สมุทรสาคร
ทาสีโรงเรียน จ.อยุธยา
งานทอดผ้าป่าของทาง LPN ที่ จ.สุพรรณบุรี
บริจาคสิ่งของช่วยเหลือเด็ก
ที่ติดเชื้อ HIV ที่บ้านแกร์ด้า จ.ลพบุรี
ประโยชน์ต่อตนเองแล้ว ยังจะได้รู้จักกับ
เพื่อนบ้านภายในโครงการด้วย อีกอย่างคือ
การร่วมซ้อมหนีไฟครับ เป็นอีกสิ่งที่จะได้
ประโยชน์กับตนเอง และได้รู้จักเพื่อนใหม่
อีกด้วยหากเกิดอะไรขึ้นมาจะได้ช่วยเหลือ
กันได้ครับ
	 ขอให้ทุกคนมีความสุขกับการ
เปิดโลกใบใหม่ โลกของการท�ำกิจกรรม
ร่วมกับผู้อื่น ยิ่งเปิดรับและเรียนรู้มาก
เท่าไหร่ ก็จะยิ่งได้ความสุขในอีก
รูปแบบที่คุณอาจจะติดใจเหมือนกับ
ผมครับ
LPN MAG 78 JAN – MAR 2015
13
“อบอุ่นดั่งบ้าน”
สมาชิกครอบครัวลุมพินีท่านใด
มีห้องสวยและสนใจที่จะแชร์ไอเดีย
ผ่านทาง LUMPINI MAG
สามารถส่งข้อมูลมาได้ที่
lumpinimag@lpn.co.th
idea Room
	 เล่มนี้ขอเปิดประตูเข้าเยี่ยมชมห้องชุดพักอาศัยโครงการลุมพินี พาร์ค ปิ่นเกล้า
ของคุณศานตรสและคุณอภิชาติจาติเกตุคู่รักนักกฎหมายที่ตั้งใจจะทำ�ที่นี่ให้เหมือนบ้าน
ตอบโจทย์ความชอบสะสมหินทรงกลม รูปปั้น และพระพุทธรูป แม้ว่าของสะสมจะเยอะ
แต่ด้วยทุนเดิมของทั้งคู่ที่รักความเป็นระเบียบและชอบเก็บของ ทำ�ให้ที่นี่ดูสะอาดและ
ไม่รู้สึกอึดอัดมีการทำ�ชั้นวางติดฝาผนังเพิ่มเพื่อวางของสะสมที่พวกเขารักเสริมด้วยการ
แบ่งพื้นที่ของชั้นวางหนังสือที่หาซื้อได้ทั่วไปตามร้านแต่งบ้านเอาไว้วางของสะสมเพิ่มด้วย
	 การใช้โทนสีฟ้าและขาวตัดกับเฟอร์นิเจอร์สีดำ�ทำ�ให้ห้องดูไม่อึดอัด เพิ่มลูกเล่น
ด้วยกระเบื้องปูพื้นสีขาวแนวทแยง ส่งผลให้ห้องดูยาวขึ้น เพดานที่ปรับเป็น 2 ระดับ
โดยกรอบฝ้าเพดานส่วนที่ใกล้กับหน้าต่างนั้นถูกเจาะให้ลึกกว่าระดับปกติ ทำ�ให้ห้อง
ดูมีมิติไม่เรียบแบน แขวนแชนเดอเลียร์ขนาดพอเหมาะ เพราะหากเลือกขนาดเล็กไป
จะทำ�ให้ไม่สมดุลกับฝ้าที่ดูสูงขึ้น เพิ่มไฟซ่อนด้านใต้ ที่เมื่อส่องกระทบกับสีทองของ
เพดานจะยิ่งทำ�ให้ดูอบอุ่น บรรยากาศเหมือนนั่งอยู่ในห้องรับแขกบ้านเดี่ยว
	 ความโดดเด่นอีกอย่างที่คุณผู้อ่านสามารถนำ�ไปปรับใช้ได้คือ การใช้แผ่นทอง
ปิดที่ผนังชั้นหิ้งพระแทนการทาสี เทคนิคคือจะต้องจัดติดตั้งชั้นวางให้เสร็จเรียบร้อย
แล้วค่อยปิดแผ่นทอง เพราะหากปิดแผ่นทองก่อนติดตั้งชั้นวางอาจทำ�ให้สีทองที่ได้
นั้นถลอกและร่อนออกจากกำ�แพง
	 ก่อนกลับยังไม่ลืมที่จะมองเพดานชมแชนเดอเลียร์สวย หลับตาแล้วสูดดม
น้ำ�หอมปรับอากาศกลิ่นส้มโล่งสบาย ถือเป็นห้องที่ให้ความรู้สึกเหมือนบ้านอย่างที่
ทั้งคู่ต้องการจริงๆ
Universal Design
14
“ปาป้าส์ คิตเช่น”
ครัวแห่งความอิ่มอุ่น
• รูปแบบร้าน
	 ร้านขนาดกะทัดรัด
ย่านพัฒนาการ 30 เปิดให้
บริการอาหารแบบตะวันตก
นิวซีแลนด์ อินเดียน สั่งง่าย
ทานง่าย อยู่ท้อง ในมื้อที่
ไม่ต้องมีพิธีรีตองใดๆ
ด้วยรสนิยมส่วนตัวของ
สามีที่เป็นชาวอังกฤษและ
ภรรยาชาวไทยซึ่งชื่นชอบ
การตกแต่งแบบปูนเปลือย
อิฐแดง และงานเหล็ก
ทั้งคู่จึงให้คำ�จำ�กัดความว่า
เป็นแนวร่วมสมัยกึ่งคาเฟ่
บรรยากาศเรียบง่าย สบาย
อบอุ่นเหมือนนั่งอยู่ในห้อง
อาหารที่บ้านกับครอบครัว
• เมนูแนะนำ�
	 ‘บิ๊ก แด๊ดดี้’ คือ
จานเด่นที่คนรักเนื้อไม่ควร
พลาด เบอร์เกอร์เนื้อวัว
ออสเตรเลียขนาด150กรัม
ประกบด้วยเบคอนกรอบๆ,
หอมใหญ่วงยักษ์, เชดดาร์
ชีส ราดซอสบาร์บีคิวสูตร
เฉพาะเสิร์ฟพร้อมเฟรนช์-
ฟรายและสลัดไว้ทานเคียง
• เมนูอื่นๆ
	 ไม่ได้เรียกตัวเอง
ว่าเป็นร้านเบอร์เกอร์แม้จะ
ขายดีที่สุด ที่นี่มีเบอร์เกอร์
เนื้อหมูและไก่มากกว่าสิบ
รายการ ห้ามพลาด! ฟิช
แอนด์ ชิปส์ แบบฉบับชาว
อังกฤษ หอมใหญ่วงยักษ์
กรอบๆ จิ้มซอสบาร์บีคิว,
และจานหลักอย่าง สเต็ก
เนื้อวัวออสเตรเลียเกรดเอ,
ขาแกะนิวซีแลนด์ตุ๋นราด
น้ำ�เกรวี่ (มีเฉพาะเสาร์-
อาทิตย์), พาสต้า, เบเกอรี่,
กาแฟ และเครื่องดื่มอื่นๆ
	 อาหารทุกๆ จาน
คู่สามีภรรยาควบคุม
คุณภาพด้วยตัวเองรวมถึง
เพิ่มเมนูใหม่สลับกันไป
ส่วนคุณสามีจะคอยกำ�กับ
ดูแลร้าน รักษาคุณภาพ
ตั้งแต่ในครัวจนถึงโต๊ะ
อาหาร ซึ่งหากเมนูไหน
ไม่นิยมหรือใช้เวลาปรุง
นานก็จะปรับออก อีกทั้ง
เราจะพบหนุ่มใหญ่ชาว
อังกฤษออกมาทักทายด้วย
อัธยาศัยไมตรีเสมอ ทำ�ให้
โครงการใกล้ๆ ร้าน : ลุมพินี วิลล์ อ่อนนุช-พัฒนาการ,
ลุมพินี วิลล์ อ่อนนุช 46, ลุมพินี วิลล์ สุขุมวิท 77 (1) และ (2),
ลุมพินี วิลล์ สุขุมวิท 109
เมื่อมาที่ปาป้าส์ คิตเช่น
จึงสัมผัสได้ถึงไออุ่นของ
ความเป็นครอบครัวอบอวล
ในร้านแห่งนี้
	 หากคุณกำ�ลังมองร้านอาหารสักแห่งที่เน้นบรรยากาศสบายๆ
เหมาะแก่การนั่งหย่อนกายหย่อนใจรับประทานอาหารแบบสั่งง่ายและ
ทานง่าย ในราคาสมเหตุสมผลด้วยรสชาติและคุณภาพของวัตถุดิบ
และบริการด้วยอัธยาศัยดีมีความเป็นกันเอง LUMPINI MAG ขอ
แนะนำ�ให้ไปชิมเบอร์เกอร์ที่ ปาป้าส์ คิตเช่น (Papa’s Kithen)
LPN MAG 78 JAN – MAR 2015
15
Chill Out
คุณภูวริภัฎร์เล่าให้ฟังว่า ที่นี่มีการ
ออกแบบห้องทิ้งขยะซึ่งตอบโจทย์กับผู้อยู่
อาศัยมากขึ้นกว่าเดิม เนื่องจากมีหลายๆ เสียง
ให้ความเห็นว่า ในห้องทิ้งขยะนั้นยังค่อนข้างมี
กลิ่นแรงเมื่อเปิดเข้าไปใช้งาน
	 “ในช่วงแรกๆที่เราได้รับฟังความเห็น
เรื่องของห้องทิ้งขยะที่มีกลิ่นแรงก็เข้าไปดูว่า
เกิดอะไรขึ้น สิ่งที่เราตระหนักได้ก็คือ อากาศที่
อยู่ด้านในนั้นไม่มีทางระบายออกจึงปรึกษาหา
ทางออกกับทางเจ้าหน้าที่ของลุมพินี สรุปกัน
ว่าเราจะใช้ลมธรรมชาติเป็นตัวช่วยในเรื่องการ
ระบายอากาศ ประตูของห้องขยะจากที่เป็น
ประตูทึบก็เปลี่ยนเสียใหม่ให้มีบานเกล็ดเพื่อให้
	 จากธีมเล่ม ที่ได้พูดถึงเรื่องของ Universal
Design การออกแบบเพื่อส่วนรวม ท�ำให้เราได้มี
โอกาสมาพบปะพูดคุยกับ คุณภูวริภัฎฐ์ ซื่อตรง
อดีตกรรมการโครงการลุมพินี เพลส พระราม 8
ซึ่งมีสิ่งดีๆ น่าสนใจเกี่ยวกับการออกแบบ และไอเดีย
เรื่องของการแบ่งปันเกิดขึ้น
ออกแบบร่วมกัน
แบ่งปันด้วยใจ
ลมเข้า จากนั้นท�ำปล่องให้อากาศไหลทะลุ
ผ่านได้ทั้ง 13 ชั้น กลิ่นต่างๆ ก็จะลอยขึ้น
ข้างบนไปยังปล่องชั้นบนสุดตรงส่วนที่เป็น
หลังคาผลปรากฏว่าเมื่อท�ำออกมา กลิ่นใน
ห้องทิ้งขยะนั้นจางลงไปมาก”
	 แค่เริ่มต้นก็ท�ำเอาทีมงานตื่นเต้น
กับสิ่งที่คุณภูวริภัฎร์ได้เล่า และเมื่อได้
เข้าไปดูด้านในห้องพักขยะ เพียงบิดลูกบิด
เปิดประตูเข้าไป เราก็พบว่าฝาของถังขยะ
ถูกยกขึ้นตามแรงเหวี่ยงของการเปิดประตู
	 “ที่ฝาถังขยะยกขึ้นเองได้เพราะ
เราติดรอกผูกไว้คนที่เข้ามาทิ้งขยะจะได้ไม่
ต้องเสียเวลาไปเปิดฝาถังอีก ที่ส�ำคัญคือ
Universal Design
Chitchat
ช่วยลดการสัมผัสบริเวณถังขยะที่อาจ
สกปรก เนื่องจากบางคนก็จะกลัวเชื้อโรค
เมื่อปิดประตู ฝาถังขยะก็จะปิดตามเอง
อัตโนมัติ อาจจะไม่สวยแต่ก็เป็นประโยชน์
นะครับ (หัวเราะ)”
	 อีกส่วนก่อนจากกันที่คุณภูวริภัฎร์
ชี้ชวนให้ดู และมีไอเดียเพื่อการอยู่ร่วมกัน
เรียนรู้เรื่องของการให้นั้นอยู่ที่พื้นที่ปลูก
ต้นไม้ทางด้านหลัง โดยมีแผนเอาไว้ว่า
อยากจะให้พื้นที่เหล่านี้เป็นพื้นที่ส่วนรวมที่
ครบวงจรด้านพืชผักต่างๆ และเป็นพื้นที่
ให้ก�ำเนิดเรื่องการแบ่งปันของคนในชุมชน
	 “อยากให้พื้นที่ตรงนี้เป็นพื้นที่
ส�ำหรับการจะทดลองปลูกอะไรก็ได้ใครจะ
ทดลองปลูกอะไรเอาเลย ถ้าอยากจะกินก็
ไปติดต่อเจ้าของเพื่อขออนุญาต แต่อยาก
ให้มีข้อแม้ว่าห้ามหวงนะ (ยิ้ม) เราควร
ปลูกเป็นสาธารณกุศล เพราะพื้นที่ที่ใช้
ปลูกเป็นที่ส่วนกลาง ท�ำอะไรก็ควรต้อง
เป็นส่วนกลาง อาจจะท�ำเป็นกิจกรรม
เช่น นี่เป็นฤดูเก็บมะม่วง ก็ให้มาช่วยกัน
เก็บแล้วแบ่งไปทั้ง 2 ตึก เอาไปวางไว้ที่
ส่วนกลาง ใครอยากกินก็หยิบไปแต่พอดี
ประกาศให้ทราบทั่วกัน ทุกอย่างต้อง
สร้างเป็นกิจกรรม มีวันและเวลาชัดเจน
ถ้าท�ำแบบนี้ก็จะได้เรียนรู้เรื่องการแบ่งปัน
รู้จักให้ และได้มีส่วนร่วมด้วยกัน”
	
	 “ฉะนั้น การให้ เมื่อเราให้ไป
บ่อยๆ เข้า ต่อไปมันก็จะกลับมา เราก็
จะได้กินนาน ไม่มีใครที่จะเป็นผู้รับแต่
เพียงฝ่ายเดียวหรอกครับ ถ้าเขาได้รับ
อยู่บ่อยๆ นานวันเข้า เขาก็จะอยาก
แบ่งปันสิ่งดีๆ กลับสู่เราเช่นกัน”
LPN MAG 78 JAN – MAR 2015
17
Universal Design
18
	 การให้สามารถทำ�ได้หลาก
หลายรูปแบบ ทั้งการสละเวลา
ทรัพย์สิน และสิ่งของ ทั้งหมดนี้ล้วน
แล้วแต่เป็นบุญและส่งต่อความสุข
ให้กับผู้อื่น
ตุ๊กตามือสอง แด่น้องชายแดน
Lumpini Movement
	 และเมื่อไม่นานมานี้ กิจกรรมการส่งต่อความสุขก็ได้เกิดขึ้นกับครอบครัว
ลุมพินีของเราผ่านทางสำ�นักงานคาทอลิกสงเคราะห์ผู้ประสบภัยและผู้ลี้ภัย (โคเออร์)
ภายใต้ชื่อกิจกรรม “ตุ๊กตามือสอง แด่น้องชายแดน” ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ร่วมส่งต่อ
ตุ๊กตาให้กับเด็กๆ ตามแนวชายแดนไทย-พม่า และแนวชายแดนไทย-กัมพูชา แม้จะ
เป็นปีแรกของกิจกรรมนี้แต่ถือว่าได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากครอบครัวลุมพินี
หลายโครงการทั้งในกรุงเทพฯ และพัทยา รวมทั้งสิ้น 63 โครงการ
	 ขอบคุณสมาชิกครอบครัวลุมพินีทุกท่านที่ร่วมแบ่งปันความสุขส่งต่อผู้อื่น
เสริมสร้างสังคมแห่งการให้ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งที่จะทำ�ให้สังคมน่าอยู่ ผ่านความร่วมมือ
ร่วมใจของชุมชนลุมพินี ชุมชนที่น่าอยู่ของเรา
Universal Design
18
โครงการ LPN ที่ใช้แนวคิด Universal Design
มี 2 โครงการ ได้แก่ ลุมพินี วิลล์ นาเกลือ-วงค์อมาตย์
และ ลุมพินี พาร์ค รัตนาธิเบศร์-งามวงศ์วาน LPN MAG 78 JAN – MAR 2015
19
LPN Green
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จ�ำกัด (มหาชน)
1168/109 ชั้น 36 อาคารลุมพินี ทาวเวอร์ ถนนพระราม 4 แขวงทุ่งมหาเมฆ
เขตสาทร กทม. 10120 โทรศัพท์ : 02-285-5011-6 แฟกซ์ : 02-285-5017
E-mail : lumpinimag@lpn.co.th Facebook/LumpiniMag Lumpini
Instagram/LumpiniMag www.lpn.co.th
เหตุขัดข้องที่น�ำจ่ายผู้รับไม่ได้
สิ่งตีพิมพ์
1. จ่าหน้าไม่ชัดเจน
2. ไม่มีเลขที่บ้านตามจ่าหน้าซอง
3. ไม่ยอมรับ
4. ไม่มีผู้รับตามจ่าหน้าซอง
5. ไม่มารับภายในก�ำหนด
6. เลิกกิจการ
7. ย้ายไม่ทราบที่อยู่ใหม่
8. อื่นๆ.................................
ลงชื่อ....................................
ไม่ถึงมือผู้รับโปรดส่งคืน
ช�ำระค่าฝากส่งเป็นรายเดือน
ใบอนุญาตพิเศษที่ 175/2557
ปณจ. ยานนาวา

More Related Content

Similar to Issue 78 / JAN - MAR 2015

ธุรกิจการท่องเที่ยว
ธุรกิจการท่องเที่ยวธุรกิจการท่องเที่ยว
ธุรกิจการท่องเที่ยว
Pornpan Larbsib
 
งานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยวงานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยว
Pornpan Larbsib
 
งานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยวงานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยว
Pornpan Larbsib
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
benty2443
 
Self directed learning
Self directed learningSelf directed learning
Self directed learning
0882264412
 

Similar to Issue 78 / JAN - MAR 2015 (20)

บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
ธุรกิจการท่องเที่ยว
ธุรกิจการท่องเที่ยวธุรกิจการท่องเที่ยว
ธุรกิจการท่องเที่ยว
 
งานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยวงานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยว
 
งานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยวงานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยว
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
ไรไม่รู้
ไรไม่รู้ไรไม่รู้
ไรไม่รู้
 
ผู้บำเพ็ญประโยชน์
ผู้บำเพ็ญประโยชน์ ผู้บำเพ็ญประโยชน์
ผู้บำเพ็ญประโยชน์
 
โครงการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วมรวม
โครงการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วมรวมโครงการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วมรวม
โครงการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วมรวม
 
การจัดกิจกรรมแนะแนว
การจัดกิจกรรมแนะแนวการจัดกิจกรรมแนะแนว
การจัดกิจกรรมแนะแนว
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
Self directed learning
Self directed learningSelf directed learning
Self directed learning
 
TEAMGroup CSR
TEAMGroup CSRTEAMGroup CSR
TEAMGroup CSR
 
TEAM Group CSR
TEAM Group CSRTEAM Group CSR
TEAM Group CSR
 
Forging Synergy For TEAM GROUP CSR 2013
Forging Synergy For TEAM GROUP CSR 2013Forging Synergy For TEAM GROUP CSR 2013
Forging Synergy For TEAM GROUP CSR 2013
 

More from L.P.N. Development PCL.

More from L.P.N. Development PCL. (20)

เดอะ ซีเล็คเต็ด เกษตร-งามวงศ์วาน บาย แอล. พี. เอ็น.
เดอะ ซีเล็คเต็ด เกษตร-งามวงศ์วาน บาย แอล. พี. เอ็น.เดอะ ซีเล็คเต็ด เกษตร-งามวงศ์วาน บาย แอล. พี. เอ็น.
เดอะ ซีเล็คเต็ด เกษตร-งามวงศ์วาน บาย แอล. พี. เอ็น.
 
รายงานประจำปี 2559
รายงานประจำปี 2559รายงานประจำปี 2559
รายงานประจำปี 2559
 
รายงานประจำปี 2553
รายงานประจำปี 2553รายงานประจำปี 2553
รายงานประจำปี 2553
 
รายงานประจำปี 2552
รายงานประจำปี 2552รายงานประจำปี 2552
รายงานประจำปี 2552
 
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
 
รายงานประจำปี 2550
รายงานประจำปี 2550รายงานประจำปี 2550
รายงานประจำปี 2550
 
รายงานประจำปี 2549
รายงานประจำปี 2549รายงานประจำปี 2549
รายงานประจำปี 2549
 
รายงานประจำปี 2548
รายงานประจำปี 2548รายงานประจำปี 2548
รายงานประจำปี 2548
 
รายงานประจำปี 2547
รายงานประจำปี 2547รายงานประจำปี 2547
รายงานประจำปี 2547
 
ลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์วิว
ลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์วิวลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์วิว
ลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์วิว
 
Lumpini Mag
Lumpini MagLumpini Mag
Lumpini Mag
 
Lumpini Place Bangna KM.3
Lumpini Place Bangna KM.3Lumpini Place Bangna KM.3
Lumpini Place Bangna KM.3
 
SD Focus ฉบับ 4 ปี 2559
SD Focus ฉบับ 4 ปี 2559SD Focus ฉบับ 4 ปี 2559
SD Focus ฉบับ 4 ปี 2559
 
รายงานประจำปี 2558
รายงานประจำปี 2558รายงานประจำปี 2558
รายงานประจำปี 2558
 
Lumpini Suite Phetcheburi-Makkasan
Lumpini Suite Phetcheburi-MakkasanLumpini Suite Phetcheburi-Makkasan
Lumpini Suite Phetcheburi-Makkasan
 
Issue 77 / OCT - DEC 2014
Issue 77 / OCT - DEC 2014Issue 77 / OCT - DEC 2014
Issue 77 / OCT - DEC 2014
 
Issue 75 / MAY - JULY 2014
Issue 75 / MAY - JULY 2014Issue 75 / MAY - JULY 2014
Issue 75 / MAY - JULY 2014
 
LPN Newsletter Q2 / 2013
LPN Newsletter Q2 / 2013LPN Newsletter Q2 / 2013
LPN Newsletter Q2 / 2013
 
Issue 68 / Nov - DEC 2012
Issue 68 / Nov - DEC 2012Issue 68 / Nov - DEC 2012
Issue 68 / Nov - DEC 2012
 
City life 6
City life 6City life 6
City life 6
 

Issue 78 / JAN - MAR 2015

  • 1. L.P.N. DEVELOPMENT PUBLIC COMPANY LIMITED LUMPINI MAGISSUE 78 JAN - MAR 2015 การออกแบบ เพื่อคนทุกวัย
  • 2. “การออกแบบเพื่อคนทุกวัย” ในสังคมของเรามีกลุ่มคนที่หลาก หลาย ทั้งเด็ก ผู้ใหญ่ คนชรา คนพิการ การ ออกแบบที่เรียกว่าUniversal Design หรือ อารยสถาปัตย์ซึ่งเป็นการออกแบบเพื่อคน ทั้งมวลจึงเกิดขึ้นแม้บุคคลบางกลุ่มจะมีข้อ จ�ำกัด ไม่ว่าจะทั้งทางร่างกาย ปัญญา หรือ จิตใจอย่างไรก็ตามพวกเขาก็ยังคงเป็นส่วน หนึ่งของสังคม ดังนั้นสังคมควรรับผิดชอบ ดูแล เพื่อให้ทุกๆ คนในสังคมอยู่ร่วมกันได้ อย่างมีความสุขตามอัตภาพแต่ละคน การออกแบบที่ตอบสนองต่อคน ทุกกลุ่มนี้ จะท�ำให้สมาชิกทุกคนสามารถ Theme อยู่ร่วมกัน ยอมรับกันท่ามกลางความต่าง ตระหนักได้ว่าทุกคนเป็นส่วนหนึ่งในสังคม ชุมชน และมีความเสมอภาคเท่าเทียมกัน หากการออกแบบเพื่อคนทุกวัยได้รับการ สนับสนุนจากทั้งองค์กรภาครัฐ ซึ่งเล็งเห็น การดูแลทุกคนอย่างเท่าเทียม และได้ผู้ที่ เชี่ยวชาญ มีความรู้และทักษะในการสราง และออกแบบครอบคลุมมวลชนทุกคน รวมถึงรับฟังข้อคิดเห็นผู้ใช้บริการเพื่อน�ำ มาปรับปรุงแก้ไข สังคมแห่งการอยู่ร่วมกัน อย่างเสมอภาคและมีความสุขนั้นก็จะยิ่ง แผ่ขยายออกเป็นวงกว้างมากขึ้น ภาพถ่ายจากสถานที่จริง โครงการลุมพินี วิลล์ นาเกลือ-วงศ์อมาตย์ Universal Design 2
  • 3. จัดท�ำโดย ฝ่ายประชาสัมพันธ์ บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จ�ำกัด (มหาชน) 3 Editor Content 4 Real Pleasure of Living 6 Happy Together 7 Vibrant Community Model 11 Health Tips 12 Care & Share 14 Idea Room 15 Chill Out 16 Chit Chat 18 Lumpini Movement 19 LPN Green LUMPINI MAG content #78 สวัสดีครับ สมาชิกครอบครัวลุมพินีทุกท่าน ถือเป็นประเพณีไปแล้วนะครับที่ทุกต้นปีสมาชิกครอบครัวลุมพินีจะได้มีโอกาส พบปะสังสรรค์กันแบบครอบครัวใหญ่ในงานวันครอบครัวลุมพินีซึ่งจัดขึ้นเป็นปีที่10แล้ว เช้าจรดเย็นที่อยู่ด้วยกัน ผมเชื่อว่าหลายท่านคงได้รับทั้งความสุขกายและ สุขใจจากกิจกรรมตลอดทั้งวัน ไม่ว่าจะเป็นจากการร่วมแข่งขันกีฬาประชาคมลุมพินี เบิกบานใจไปกับธรรมะและดนตรีในสวน เติมเต็มความฝันให้กับน้องๆ ด้อยโอกาส ปิดท้ายด้วยความสนุกรับลมเย็นภายใต้บรรยากาศการ “ร่วมสร้างสุขที่ลุมพินี” แต่สำ�หรับอีกหลายท่านที่อาจจะขุ่นข้องหมองใจกับความไม่สะดวกหลาย อย่างผมก็ต้องขออภัยมาณที่นี้นะครับและอยากชักชวนให้ทุกท่านดึงเอาวัฒนธรรม ร่วมใจ ห่วงใย แบ่งปัน มาใช้ในการร่วมสังสรรค์ในงานวันครอบครัวลุมพินีด้วย ตั้งแต่การให้ความเข้าใจและร่วมใจทำ�ตามกฎระเบียบของสถานที่ร่วมห่วงใย ดูแลช่วยกันรักษาความสะอาด เพื่อให้เราได้มีสวนสาธารณะไว้เป็นปอดกันอีกนานๆ และสุดท้ายคือร่วมแบ่งปันความอิ่มอร่อยและพื้นที่ความสุขให้กับอีกหลายครอบครัว เพื่อให้ความสุขที่แท้จริงของการอยู่อาศัย ขยายไปในทุกพื้นที่ สิ่งเล็กๆน้อยๆเหล่านี้จะสร้างความประทับใจให้กับผู้ที่มาร่วมงานเองและ ผู้ที่พบเห็น เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของชาว “ลุมพินี” ที่ไปไหนใครก็ต้อนรับ เพราะไม่ เพียงสร้างความสุขให้กับชุมชนของเราแต่ยังเอื้อเฟื้อไปสู่สังคมและสิ่งแวดล้อมรอบๆ เราด้วย และเพื่อให้ “ลุมพินี” เป็น “ชุมชนน่าอยู่” ของทุกคนอย่างยั่งยืนครับ โอภาส ศรีพยัคฆ์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จ�ำกัด (มหาชน) 1168/109 ชั้น 36 อาคารลุมพีนี ทาวเวอร์ ถนนพระราม 4 แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ : 02-285-5011-6 แฟกซ์ : 02-285-5017 E-mail : lumpinimag@lpn.co.th Facebook/LumpiniMag Lumpini Instagram/LumpiniMag www.lpn.co.th บททักทาย LPN MAG 78 JAN – MAR 2015 3
  • 4. โดยคอนเซ็ปต์ปีนี้มีชื่อว่า “ร่วมสร้างสุขที่ลุมพินี” ตอกย้ำ�ความเป็นที่หนึ่ง เรื่องที่อยู่อาศัยและสร้างสรรค์สังคมน่าอยู่ โดยเจ้าของร่วมกับบริษัท แอล.พี.เอ็น. ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) ช่วยกันสร้างวันเวลาที่น่าจดจำ�ไปด้วยกัน สามารถ สร้างรอยยิ้มและความสนุกสนานร่วมกันได้ทุกช่วงเวลา LPN จัดกิจกรรม “วันครอบครัวลุมพินี” ต่อเนื่องเป็นครั้งที่ 10 โดยปีนี้เนรมิตพื้นที่สีเขียวภายในสวนลุมพินี สวนสาธารณะใจกลางเมือง เป็นลานกิจกรรม “วันครอบครัวลุมพินี” ครั้งที่ 10 Universal Design 44 Real Pleasure of Living
  • 5. ภายในงานมีกิจกรรมมากมาย เริ่มตั้งแต่เช้าตรู่กับกิจกรรม ลุมพินี เดิน-วิ่งเพื่อสุขภาพต่อด้วยกีฬาประชาคม ลุมพินีและในช่วงสายๆ มี 2 กิจกรรม ควบคู่กันธรรมะในสวนและกิจกรรมเพื่อ สังคม “โลกสุดมันเติมฝันให้น้อง” มี บรรดาอาสาสมัครเพื่อช่วยดูแลน้องจาก 2 มูลนิธิ ได้แก่ สถานสงเคราะห์เด็กชาย บ้านมหาเมฆ และมูลนิธิเพื่อการฟื้นฟู พัฒนาเด็กและครอบครัว (FORDEC) ในช่วงเย็นรับฟังดนตรีในสวน กิจกรรม นักปันลุมพินี ปิดท้ายด้วยมินิคอนเสิร์ต เอาใจสมาชิกครอบครัวลุมพินี จากวง 25 hours มอส ปฏิภาณ และทาทา ยัง เป็นความสุขที่น่าประทับใจและ น่าจดจำ�ไปตลอดปี เป็นแรงใจให้สมาชิก ทุกท่านได้พร้อมทำ�งานต่อไป LPN MAG 78 JAN – MAR 2015 5
  • 8. LPN 25th Anniversary 8 “ชุมชนต้นแบบ” คือ ชุมชนที่มีมาตรฐานในการบริหาร จัดการ “ชุมชนน่าอยู่” อย่างเป็น รูปธรรม นอกเหนือจากการส่งมอบ “คุณค่าผลิตภัณฑ์” ที่มีองค์ประกอบ ครบถ้วนในด้านการใช้งาน มีราคาที่ เหมาะสมแล้ว “คุณค่าบริการ” ภายใต้ กลยุทธ์ “ชุมชนน่าอยู่” จึงเป็นสิ่งหนึ่ง ที่ LPN ให้ความสำ�คัญเสมือนการดูแล ต้นไม้ใหญ่ให้ผลิดอกออกใบสร้างความ ร่มเย็นและปลอดภัยให้กับทุกคนที่มา อาศัย ด้วยเหตุนี้LPNจึงเริ่มนำ�โมเดล “ชุมชนต้นแบบ” มาเป็นแนวทางเพื่อ ให้การบริหารจัดการทุกชุมชนลุมพินี มีมาตรฐานและเป็นชุมชนน่าอยู่อย่าง Universal Design 8 ยั่งยืน โดยคัดเลือกชุมชนที่มีมาตรฐาน การบริหารจัดการ ผ่านเกณฑ์ที่ตั้งไว้มา เป็น “ชุมชนต้นแบบ” เพื่อเป็นแหล่ง การเรียนรู้การบริหารชุมชน และพัฒนา คุณค่าเพิ่มแบบบูรณาการผ่านชุมชน ต้นแบบ และนำ�ไปปรับปรุงพัฒนาเพื่อ ให้ทุกชุมชนผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามที่ ได้กำ�หนดไว้ การจะเตรียมชุมชนให้เป็น “ชุมชนต้นแบบ” จำ�เป็นต้องมี องค์ประกอบสำ�คัญอันได้แก่ เจ้าของร่วม กรรมการนิติบุคคลอาคารชุด และ ผู้พักอาศัย เข้ามามีส่วนในการร่วม คิดร่วมสร้าง ร่วมผลักดันให้ชุมชนมี ประสิทธิภาพภายใต้กลยุทธ์การบริหาร จัดการ “ชุมชนน่าอยู่” ดังนี้
  • 9. ทุกการมีส่วนร่วม ทุกความคิดเห็น ทุกแรงสนับสนุน จะเป็นพลังอันแข็งแกร่งที่จะสร้าง วัฒนธรรมการอยู่อาศัยที่ดีร่วมกัน บนพื้นฐานของความร่วมใจ ห่วงใย แบ่งปัน (Together- ness, Care and Share) และหล่อหลอมให้ลุมพินีเป็น “ชุมชนต้นแบบ” ซึ่งเป็นจิตวิญญาณ ของ “ชุมชนน่าอยู่” เปี่ยมด้วย “ความสุขที่แท้จริงของการอยู่อาศัย” อย่างแท้จริง ISSUE 75 MAY - JULY 2014 9 LPN MAG 78 JAN – MAR 2015 9 F Facility Management การบริหารจัดการทรัพย์ส่วนกลาง คงประสิทธิภาพพร้อมใช้งานและ ปลอดภัยต่อการใช้งาน B Budgeting Management การบริหารจัดการงบประมาณการเงิน มีเสถียรภาพ รักษาความมั่นคงใน สถานะทางการเงินของชุมชน โปร่งใสตรวจสอบได้ L Life Quality Management การบริหารจัดการคุณภาพชีวิต มุ่งเน้น การสร้างวินัยและจิตสำ�นึกในการอยู่อาศัย ร่วมกัน ดูแล ห่วงใย และแบ่งปัน ก่อให้ เกิดเป็นวัฒนธรรมและความสัมพันธ์อันดี E Environment Management การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม ให้ความสำ�คัญกับสิ่งแวดล้อม ที่มีผลกระทบต่อผู้อาศัยและสังคมโดยรอบโครงการ S Security and Safety Management การบริหารจัดการความปลอดภัย รักษามาตรฐานของระบบรักษาความปลอดภัย ทั้งเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานและอุปกรณ์ P People Management การบริหารจัดการผู้เกี่ยวข้องบริหารความพึงพอใจในประสิทธิภาพ การบริหารชุมชนในมุมมองที่เกี่ยวกับการอยู่อาศัยร่วมกันอย่างมีความสุข ทุกการมีส่วนร่วม ทุกความคิดเห็น ทุกแรงสนับสนุน จะเป็นพลังอันแข็งแกร่ง ที่จะสร้างวัฒนธรรมการอยู่อาศัยที่ดีร่วมกันบนพื้นฐานของความร่วมใจห่วงใยแบ่งปัน (Togetherness, Care and Share) และหล่อหลอมให้ลุมพินีเป็น “ชุมชนต้นแบบ” ซึ่งเป็นจิตวิญญาณของ“ชุมชนน่าอยู่”เปี่ยมด้วย“ความสุขที่แท้จริงของการอยู่อาศัย” อย่างแท้จริง
  • 10. Universal Design 10 ลุมพินี เพลส รัชโยธิน คือหนึ่งในหลายๆ ชุมชนต้นแบบที่เราอยาก แนะนำ�ให้คุณผู้อ่านรู้จัก ที่นี่เป็นต้นแบบของชุมชน คนรักสุขภาพ ซึ่งชุมชนอื่น อาจนำ�ไปเป็นไอเดียในการ สร้างชุมชนของตนเองได้ ลุมพินี เพลส รัชโยธิน“ชุมชนคนรักสุขภาพ” ชุมชนคนรักสุขภาพของลุมพินี เพลส รัชโยธิน ถือกำ�เนิดขึ้นหลังจากที่ ทั้ง 3 ฝ่าย คือ คณะกรรมการนิติบุคคล อาคารชุด เจ้าของร่วม และผู้พักอาศัย ได้ร่วมกันระดมสมอง ร่วมคิด และร่วม แบ่งปันประสบการณ์ด้านสุขภาพและ การออกกำ�ลังกาย ซึ่งเป็นสิ่งที่ชุมชนให้ ความสำ�คัญ หลังจากการช่วยกันร่วมออก ความคิดเห็นและเสนอแนวคิดด้วยสถาน ที่และบรรยากาศเอื้อต่อการทำ�กิจกรรม ร่วมกัน รวมถึงการใส่ใจในเรื่องสุขภาพ ส่งผลให้ลุมพินี เพลส รัชโยธิน กลายเป็น “ชุมชนคนรักสุขภาพ” วิสัยทัศน์ที่สอดคล้องต้องกัน ของทุกฝ่ายก่อให้เกิดนโยบายส่งเสริม การออกกำ�ลังกายให้กับผู้พักอาศัย โดย ขยายเวลาเปิดส่วนสันทนาการให้เร็วขึ้น จากเดิมที่เคยเปิด 6 โมงเช้าถึง 4 ทุ่ม ได้ เปลี่ยนเป็นเริ่มเปิดตั้งแต่เวลา ตี 5 ครึ่ง และมีการขยายเวลาปิดของสนามบาส จากเดิมที่จะปิดในช่วง 2 ทุ่ม ก็ได้ขยาย เวลาออกมาเป็นช่วง 3 ทุ่ม โดยเริ่มเปิด ตั้งแต่ช่วงบ่าย 2 ของทุกวัน นอกจากนี้ ยังมีการตีเส้นระยะวิ่งจ๊อกกิ้งรอบๆ อาคาร สนับสนุนการวิ่งและออกกำ�ลังกาย อย่างมีประสิทธิภาพ สิ่งต่างๆ ข้างต้น ส่งผลให้ผู้พักอาศัยมีโอกาสได้พบปะ พูดคุยกันมากขึ้น มีความใกล้ชิดกัน ไม่ห่างเหิน ให้ความรู้สึกเหมือนการอยู่ ภายในบ้านหลังเดียวกัน ถือเป็นต้นแบบ ที่ดีให้กับชุมชนอื่นๆ ในสังคมเมือง ในฉบับต่อๆ ไป เราจะขอนำ� เสนอชุมชนต้นแบบอื่นๆ ให้คุณผู้อ่าน ได้รู้จักและเข้าใจถึงชุมชนต้นแบบแต่ละ ชุมชนมากขึ้นซึ่งอาจจะเป็นไอเดียให้คุณ ผู้อ่านได้นำ�ไปปรับใช้ในชุมชนของคุณได้ เพื่อที่จะได้เป็นชุมชนต้นแบบอีกหนึ่งแห่ง ในครอบครัวของลุมพินี
  • 11. การปั่นจักรยานเป็นตัวเลือกมา แรงสำ�หรับการออกกำ�ลังกาย คุณเจมส์- อรรถพล จิวรพงษ์ สมาชิกครอบครัว ลุมพินีพาร์คริเวอร์ไซด์-พระราม3ก็เป็น อีกคนที่เลือกกิจกรรมนี้เพื่อดูแลสุขภาพ นอกจากจะได้เผาผลาญไขมัน เปลี่ยน บรรยากาศชมวิวตามที่ต่างๆ แล้ว ยังได้ ความอบอุ่นและมิตรภาพจากเพื่อนร่วม ปั่นอีกด้วย “ผมเริ่มปั่นจักรยานบ่อยขึ้นก็ ตอนย้ายมาอยู่ที่ลุมพินีครับ เพราะพี่ๆ เพื่อนๆที่นี่ปั่นจักรยานกันมาก เพิ่มความ อยากปั่นมากขึ้น ไปเป็นกลุ่มสนุกและ ปลอดภัยกว่ามีอะไรจะได้ช่วยเหลือกัน เส้นแถวนี้ถือว่าโอเคมาก เป็นเส้นทางตรง ขี่จักรยานได้สบายๆ ถ้าวันไหนเวลาเยอะ อยากสูดโอโซนมากหน่อย ก็แค่นั่งเรือ ข้ามฟากไปฝั่งตรงข้าม เสียค่าเรือไม่กี่สิบ บาทเองครับ ไปปั่นที่บางกระเจ้า ที่ว่ากัน ว่าเป็นปอดของกรุงเทพฯ” ส่วนการเผาผลาญไขมันที่ได้จาก การปั่นจักรยานนั้น คุณเจมส์อธิบายข้อดี ให้ฟังว่า “เวลาปั่นจักรยานเราจะได้เผา ผลาญไขมันอยู่แล้ว แต่ตอนเราลงจาก เบิร์นไขมัน ด้วยการปั่นจักรยาน อานจักรยานมันจะมีสภาวะที่เรียกว่า After Burner เป็นการเผาผลาญไขมัน หลังจากเราหยุดปั่นไปแล้วอีกประมาณ 2-3 ชั่วโมง แต่หัวใจของสุขภาพทุก อย่างอยู่ที่วินัยครับ ออกกำ�ลังกายแต่ รับประทานอาหารหนักๆ ไม่มีประโยชน์ พักผ่อนน้อย ก็จะไม่ได้รับประโยชน์ อะไร ดังนั้นต้องมีวินัยกับตัวเอง มากๆ ครับ” เกร็ดเล็กน้อยก่อนจาก คุณเจมส์ อยากให้ระวังเรื่องการออกถนนทั้งมือใหม่ มือโปรควรปั่นชิดซ้ายไม่กินเลนถนน อย่าลืมสวมหมวกป้องกันศีรษะเวลาปั่น รวมถึงถุงมือปั่นจักรยานกันเจ็บมือ ปรับ เบาะและมือจับให้พอดี ใช้ระดับความสูง ที่เมื่อเราปั่นแล้วรู้สึกสบายที่สุด ไม่อย่าง นั้นอาจจะทำ�ให้ปวดหลังได้ LPN MAG 78 JAN – MAR 2015 11 Health Tips
  • 12. ขอแนะน�ำตัวก่อนนะครับ ผมชื่อ นพดล โกวะประดิษฐ์ ผมมีความผูกพันกับ ลุมพินีมานานพอสมควร ผมอยู่ที่ลุมพินี วิลล์ ศูนย์วัฒนธรรม เมื่อก่อนย้ายมาซื้อ ห้องชุดพักอาศัยที่ลุมพินี วิลล์ ประชาชื่น- พงษ์เพชร 2 ครับ ที่ลุมพินีมีการจัดกิจกรรมต่างๆ มากมายและต่อเนื่องทุกๆโครงการเป็นสิ่ง ที่น่าสนุกและให้ประโยชน์ส�ำหรับผม สิ่งนี้เองคือจุดเด่นของความเป็นลุมพินี ซึ่ง ต่างจากที่อื่น ผมเริ่มเข้าร่วมกิจกรรมกับ ทางลุมพินีตั้งแต่เมื่อครั้งอยู่ที่ลุมพินี วิลล์ ศูนย์วัฒนธรรม จนถึงตอนนี้ผมก็ยังร่วม ลงชื่อเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ มาโดยตลอด การท�ำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นท�ำให้ ผมได้รู้จักกับเพื่อนใหม่ๆ ซึ่งเป็นสิ่งที่ดีมาก เมื่อเรารู้จักกัน การช่วยเหลือเกื้อกูลกันก็ การท�ำกิจกรรมร่วมกันเป็นจุดเริ่ม ของความสัมพันธ์ และมิตรภาพ สิ่งนี้เองเป็นจุดเด่นของครอบครัว ลุมพินีที่ผมชื่นชอบ อยากแบ่งปัน เล่าสู่กันฟัง สุขกับการท�ำกิจกรรม ยิ่งท�ำยิ่งได้ เกิดขึ้น ผมเคยไม่อยู่คอนโดหลายวัน ไป ต่างจังหวัด เพื่อนๆ ที่รู้จักกันในโครงการ เขาก็มีน�้ำใจคอยดูแลว่ามีใครมาหาที่ห้อง หรือเปล่า อีกทั้งยังช่วยดูรถที่จอดเอาไว้ ด้วย ซึ่งเป็นสิ่งที่ต่างท�ำให้ด้วยใจทั้งสิ้น แม้ จะเป็นความห่วงใยเล็กๆ น้อยๆ แต่ก็ท�ำให้ ผมรู้สึกดีมากเลยครับ ส�ำหรับการออกทริปใหญ่ร่วมท�ำ กิจกรรมกับทางลุมพินีในหลายๆโครงการ ก็เช่นเดียวกันนอกจากจะได้เจอเพื่อนใหม่ แล้วยังได้เรียนรู้เรื่องความเสียสละ รู้จัก แบ่งปัน เรียนรู้เข้าใจเพื่อนมนุษย์ เข้าใจ ธรรมชาติ ซึ่งเป็นการสร้างจิตส�ำนึกที่ดีสู่ สังคม ทั้งหมดที่กล่าวมานี้ก็อยากเชิญให้ ทุกคนลองเปิดใจ และมาร่วมท�ำกิจกรรม กับเพื่อนบ้านในชุมชนของคุณดู เริ่มต้น ง่ายๆ ได้ประโยชน์กับตัวเราเองเต็มๆ อันดับแรก นั่นคือการลงมาร่วมประชุม ใหญ่สามัญเจ้าของร่วมประจ�ำปีซึ่งถือเป็น สิทธิที่เจ้าของร่วมและผู้พักอาศัยทุกคน ควรเข้ารับฟังและแบ่งปันความคิดเห็น นอกจากจะได้รับข่าวสารซึ่งจะเป็น กิจกรรมอาสาล้างบ่อเต่า สัตหีบ จ.ชลบุรี นักเขียนลุมพินี : คุณนพดล โกวะประดิษฐิ์ สมาชิกครอบครัวลุมพินี วิลล์ ประชาชื่น-พงษ์เพชร Universal Design 12 Care & Share
  • 13. “มันมีความอิมเอมอยู่ในใจ ทีได้ช่วยเหลือพวกเขา และได้เป็นส่วนหนึงของการ แบ่งปันสิงดีๆ” ร่วมกิจกรรมช้อป ชิม ชิว กับโครงการลุมพินีวิลล์ ศูนย์วัฒนธรรม กิจกรรมอาสาล้างบ่อเต่า สัตหีบ จ.ชลบุรี 2 ่ ่ ่ ่ กิจกรรมอนุรักษ์ป่าชายเลน จ.สมุทรสาคร ทาสีโรงเรียน จ.อยุธยา งานทอดผ้าป่าของทาง LPN ที่ จ.สุพรรณบุรี บริจาคสิ่งของช่วยเหลือเด็ก ที่ติดเชื้อ HIV ที่บ้านแกร์ด้า จ.ลพบุรี ประโยชน์ต่อตนเองแล้ว ยังจะได้รู้จักกับ เพื่อนบ้านภายในโครงการด้วย อีกอย่างคือ การร่วมซ้อมหนีไฟครับ เป็นอีกสิ่งที่จะได้ ประโยชน์กับตนเอง และได้รู้จักเพื่อนใหม่ อีกด้วยหากเกิดอะไรขึ้นมาจะได้ช่วยเหลือ กันได้ครับ ขอให้ทุกคนมีความสุขกับการ เปิดโลกใบใหม่ โลกของการท�ำกิจกรรม ร่วมกับผู้อื่น ยิ่งเปิดรับและเรียนรู้มาก เท่าไหร่ ก็จะยิ่งได้ความสุขในอีก รูปแบบที่คุณอาจจะติดใจเหมือนกับ ผมครับ LPN MAG 78 JAN – MAR 2015 13
  • 14. “อบอุ่นดั่งบ้าน” สมาชิกครอบครัวลุมพินีท่านใด มีห้องสวยและสนใจที่จะแชร์ไอเดีย ผ่านทาง LUMPINI MAG สามารถส่งข้อมูลมาได้ที่ lumpinimag@lpn.co.th idea Room เล่มนี้ขอเปิดประตูเข้าเยี่ยมชมห้องชุดพักอาศัยโครงการลุมพินี พาร์ค ปิ่นเกล้า ของคุณศานตรสและคุณอภิชาติจาติเกตุคู่รักนักกฎหมายที่ตั้งใจจะทำ�ที่นี่ให้เหมือนบ้าน ตอบโจทย์ความชอบสะสมหินทรงกลม รูปปั้น และพระพุทธรูป แม้ว่าของสะสมจะเยอะ แต่ด้วยทุนเดิมของทั้งคู่ที่รักความเป็นระเบียบและชอบเก็บของ ทำ�ให้ที่นี่ดูสะอาดและ ไม่รู้สึกอึดอัดมีการทำ�ชั้นวางติดฝาผนังเพิ่มเพื่อวางของสะสมที่พวกเขารักเสริมด้วยการ แบ่งพื้นที่ของชั้นวางหนังสือที่หาซื้อได้ทั่วไปตามร้านแต่งบ้านเอาไว้วางของสะสมเพิ่มด้วย การใช้โทนสีฟ้าและขาวตัดกับเฟอร์นิเจอร์สีดำ�ทำ�ให้ห้องดูไม่อึดอัด เพิ่มลูกเล่น ด้วยกระเบื้องปูพื้นสีขาวแนวทแยง ส่งผลให้ห้องดูยาวขึ้น เพดานที่ปรับเป็น 2 ระดับ โดยกรอบฝ้าเพดานส่วนที่ใกล้กับหน้าต่างนั้นถูกเจาะให้ลึกกว่าระดับปกติ ทำ�ให้ห้อง ดูมีมิติไม่เรียบแบน แขวนแชนเดอเลียร์ขนาดพอเหมาะ เพราะหากเลือกขนาดเล็กไป จะทำ�ให้ไม่สมดุลกับฝ้าที่ดูสูงขึ้น เพิ่มไฟซ่อนด้านใต้ ที่เมื่อส่องกระทบกับสีทองของ เพดานจะยิ่งทำ�ให้ดูอบอุ่น บรรยากาศเหมือนนั่งอยู่ในห้องรับแขกบ้านเดี่ยว ความโดดเด่นอีกอย่างที่คุณผู้อ่านสามารถนำ�ไปปรับใช้ได้คือ การใช้แผ่นทอง ปิดที่ผนังชั้นหิ้งพระแทนการทาสี เทคนิคคือจะต้องจัดติดตั้งชั้นวางให้เสร็จเรียบร้อย แล้วค่อยปิดแผ่นทอง เพราะหากปิดแผ่นทองก่อนติดตั้งชั้นวางอาจทำ�ให้สีทองที่ได้ นั้นถลอกและร่อนออกจากกำ�แพง ก่อนกลับยังไม่ลืมที่จะมองเพดานชมแชนเดอเลียร์สวย หลับตาแล้วสูดดม น้ำ�หอมปรับอากาศกลิ่นส้มโล่งสบาย ถือเป็นห้องที่ให้ความรู้สึกเหมือนบ้านอย่างที่ ทั้งคู่ต้องการจริงๆ Universal Design 14
  • 15. “ปาป้าส์ คิตเช่น” ครัวแห่งความอิ่มอุ่น • รูปแบบร้าน ร้านขนาดกะทัดรัด ย่านพัฒนาการ 30 เปิดให้ บริการอาหารแบบตะวันตก นิวซีแลนด์ อินเดียน สั่งง่าย ทานง่าย อยู่ท้อง ในมื้อที่ ไม่ต้องมีพิธีรีตองใดๆ ด้วยรสนิยมส่วนตัวของ สามีที่เป็นชาวอังกฤษและ ภรรยาชาวไทยซึ่งชื่นชอบ การตกแต่งแบบปูนเปลือย อิฐแดง และงานเหล็ก ทั้งคู่จึงให้คำ�จำ�กัดความว่า เป็นแนวร่วมสมัยกึ่งคาเฟ่ บรรยากาศเรียบง่าย สบาย อบอุ่นเหมือนนั่งอยู่ในห้อง อาหารที่บ้านกับครอบครัว • เมนูแนะนำ� ‘บิ๊ก แด๊ดดี้’ คือ จานเด่นที่คนรักเนื้อไม่ควร พลาด เบอร์เกอร์เนื้อวัว ออสเตรเลียขนาด150กรัม ประกบด้วยเบคอนกรอบๆ, หอมใหญ่วงยักษ์, เชดดาร์ ชีส ราดซอสบาร์บีคิวสูตร เฉพาะเสิร์ฟพร้อมเฟรนช์- ฟรายและสลัดไว้ทานเคียง • เมนูอื่นๆ ไม่ได้เรียกตัวเอง ว่าเป็นร้านเบอร์เกอร์แม้จะ ขายดีที่สุด ที่นี่มีเบอร์เกอร์ เนื้อหมูและไก่มากกว่าสิบ รายการ ห้ามพลาด! ฟิช แอนด์ ชิปส์ แบบฉบับชาว อังกฤษ หอมใหญ่วงยักษ์ กรอบๆ จิ้มซอสบาร์บีคิว, และจานหลักอย่าง สเต็ก เนื้อวัวออสเตรเลียเกรดเอ, ขาแกะนิวซีแลนด์ตุ๋นราด น้ำ�เกรวี่ (มีเฉพาะเสาร์- อาทิตย์), พาสต้า, เบเกอรี่, กาแฟ และเครื่องดื่มอื่นๆ อาหารทุกๆ จาน คู่สามีภรรยาควบคุม คุณภาพด้วยตัวเองรวมถึง เพิ่มเมนูใหม่สลับกันไป ส่วนคุณสามีจะคอยกำ�กับ ดูแลร้าน รักษาคุณภาพ ตั้งแต่ในครัวจนถึงโต๊ะ อาหาร ซึ่งหากเมนูไหน ไม่นิยมหรือใช้เวลาปรุง นานก็จะปรับออก อีกทั้ง เราจะพบหนุ่มใหญ่ชาว อังกฤษออกมาทักทายด้วย อัธยาศัยไมตรีเสมอ ทำ�ให้ โครงการใกล้ๆ ร้าน : ลุมพินี วิลล์ อ่อนนุช-พัฒนาการ, ลุมพินี วิลล์ อ่อนนุช 46, ลุมพินี วิลล์ สุขุมวิท 77 (1) และ (2), ลุมพินี วิลล์ สุขุมวิท 109 เมื่อมาที่ปาป้าส์ คิตเช่น จึงสัมผัสได้ถึงไออุ่นของ ความเป็นครอบครัวอบอวล ในร้านแห่งนี้ หากคุณกำ�ลังมองร้านอาหารสักแห่งที่เน้นบรรยากาศสบายๆ เหมาะแก่การนั่งหย่อนกายหย่อนใจรับประทานอาหารแบบสั่งง่ายและ ทานง่าย ในราคาสมเหตุสมผลด้วยรสชาติและคุณภาพของวัตถุดิบ และบริการด้วยอัธยาศัยดีมีความเป็นกันเอง LUMPINI MAG ขอ แนะนำ�ให้ไปชิมเบอร์เกอร์ที่ ปาป้าส์ คิตเช่น (Papa’s Kithen) LPN MAG 78 JAN – MAR 2015 15 Chill Out
  • 16. คุณภูวริภัฎร์เล่าให้ฟังว่า ที่นี่มีการ ออกแบบห้องทิ้งขยะซึ่งตอบโจทย์กับผู้อยู่ อาศัยมากขึ้นกว่าเดิม เนื่องจากมีหลายๆ เสียง ให้ความเห็นว่า ในห้องทิ้งขยะนั้นยังค่อนข้างมี กลิ่นแรงเมื่อเปิดเข้าไปใช้งาน “ในช่วงแรกๆที่เราได้รับฟังความเห็น เรื่องของห้องทิ้งขยะที่มีกลิ่นแรงก็เข้าไปดูว่า เกิดอะไรขึ้น สิ่งที่เราตระหนักได้ก็คือ อากาศที่ อยู่ด้านในนั้นไม่มีทางระบายออกจึงปรึกษาหา ทางออกกับทางเจ้าหน้าที่ของลุมพินี สรุปกัน ว่าเราจะใช้ลมธรรมชาติเป็นตัวช่วยในเรื่องการ ระบายอากาศ ประตูของห้องขยะจากที่เป็น ประตูทึบก็เปลี่ยนเสียใหม่ให้มีบานเกล็ดเพื่อให้ จากธีมเล่ม ที่ได้พูดถึงเรื่องของ Universal Design การออกแบบเพื่อส่วนรวม ท�ำให้เราได้มี โอกาสมาพบปะพูดคุยกับ คุณภูวริภัฎฐ์ ซื่อตรง อดีตกรรมการโครงการลุมพินี เพลส พระราม 8 ซึ่งมีสิ่งดีๆ น่าสนใจเกี่ยวกับการออกแบบ และไอเดีย เรื่องของการแบ่งปันเกิดขึ้น ออกแบบร่วมกัน แบ่งปันด้วยใจ ลมเข้า จากนั้นท�ำปล่องให้อากาศไหลทะลุ ผ่านได้ทั้ง 13 ชั้น กลิ่นต่างๆ ก็จะลอยขึ้น ข้างบนไปยังปล่องชั้นบนสุดตรงส่วนที่เป็น หลังคาผลปรากฏว่าเมื่อท�ำออกมา กลิ่นใน ห้องทิ้งขยะนั้นจางลงไปมาก” แค่เริ่มต้นก็ท�ำเอาทีมงานตื่นเต้น กับสิ่งที่คุณภูวริภัฎร์ได้เล่า และเมื่อได้ เข้าไปดูด้านในห้องพักขยะ เพียงบิดลูกบิด เปิดประตูเข้าไป เราก็พบว่าฝาของถังขยะ ถูกยกขึ้นตามแรงเหวี่ยงของการเปิดประตู “ที่ฝาถังขยะยกขึ้นเองได้เพราะ เราติดรอกผูกไว้คนที่เข้ามาทิ้งขยะจะได้ไม่ ต้องเสียเวลาไปเปิดฝาถังอีก ที่ส�ำคัญคือ Universal Design Chitchat
  • 17. ช่วยลดการสัมผัสบริเวณถังขยะที่อาจ สกปรก เนื่องจากบางคนก็จะกลัวเชื้อโรค เมื่อปิดประตู ฝาถังขยะก็จะปิดตามเอง อัตโนมัติ อาจจะไม่สวยแต่ก็เป็นประโยชน์ นะครับ (หัวเราะ)” อีกส่วนก่อนจากกันที่คุณภูวริภัฎร์ ชี้ชวนให้ดู และมีไอเดียเพื่อการอยู่ร่วมกัน เรียนรู้เรื่องของการให้นั้นอยู่ที่พื้นที่ปลูก ต้นไม้ทางด้านหลัง โดยมีแผนเอาไว้ว่า อยากจะให้พื้นที่เหล่านี้เป็นพื้นที่ส่วนรวมที่ ครบวงจรด้านพืชผักต่างๆ และเป็นพื้นที่ ให้ก�ำเนิดเรื่องการแบ่งปันของคนในชุมชน “อยากให้พื้นที่ตรงนี้เป็นพื้นที่ ส�ำหรับการจะทดลองปลูกอะไรก็ได้ใครจะ ทดลองปลูกอะไรเอาเลย ถ้าอยากจะกินก็ ไปติดต่อเจ้าของเพื่อขออนุญาต แต่อยาก ให้มีข้อแม้ว่าห้ามหวงนะ (ยิ้ม) เราควร ปลูกเป็นสาธารณกุศล เพราะพื้นที่ที่ใช้ ปลูกเป็นที่ส่วนกลาง ท�ำอะไรก็ควรต้อง เป็นส่วนกลาง อาจจะท�ำเป็นกิจกรรม เช่น นี่เป็นฤดูเก็บมะม่วง ก็ให้มาช่วยกัน เก็บแล้วแบ่งไปทั้ง 2 ตึก เอาไปวางไว้ที่ ส่วนกลาง ใครอยากกินก็หยิบไปแต่พอดี ประกาศให้ทราบทั่วกัน ทุกอย่างต้อง สร้างเป็นกิจกรรม มีวันและเวลาชัดเจน ถ้าท�ำแบบนี้ก็จะได้เรียนรู้เรื่องการแบ่งปัน รู้จักให้ และได้มีส่วนร่วมด้วยกัน” “ฉะนั้น การให้ เมื่อเราให้ไป บ่อยๆ เข้า ต่อไปมันก็จะกลับมา เราก็ จะได้กินนาน ไม่มีใครที่จะเป็นผู้รับแต่ เพียงฝ่ายเดียวหรอกครับ ถ้าเขาได้รับ อยู่บ่อยๆ นานวันเข้า เขาก็จะอยาก แบ่งปันสิ่งดีๆ กลับสู่เราเช่นกัน” LPN MAG 78 JAN – MAR 2015 17
  • 18. Universal Design 18 การให้สามารถทำ�ได้หลาก หลายรูปแบบ ทั้งการสละเวลา ทรัพย์สิน และสิ่งของ ทั้งหมดนี้ล้วน แล้วแต่เป็นบุญและส่งต่อความสุข ให้กับผู้อื่น ตุ๊กตามือสอง แด่น้องชายแดน Lumpini Movement และเมื่อไม่นานมานี้ กิจกรรมการส่งต่อความสุขก็ได้เกิดขึ้นกับครอบครัว ลุมพินีของเราผ่านทางสำ�นักงานคาทอลิกสงเคราะห์ผู้ประสบภัยและผู้ลี้ภัย (โคเออร์) ภายใต้ชื่อกิจกรรม “ตุ๊กตามือสอง แด่น้องชายแดน” ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ร่วมส่งต่อ ตุ๊กตาให้กับเด็กๆ ตามแนวชายแดนไทย-พม่า และแนวชายแดนไทย-กัมพูชา แม้จะ เป็นปีแรกของกิจกรรมนี้แต่ถือว่าได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากครอบครัวลุมพินี หลายโครงการทั้งในกรุงเทพฯ และพัทยา รวมทั้งสิ้น 63 โครงการ ขอบคุณสมาชิกครอบครัวลุมพินีทุกท่านที่ร่วมแบ่งปันความสุขส่งต่อผู้อื่น เสริมสร้างสังคมแห่งการให้ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งที่จะทำ�ให้สังคมน่าอยู่ ผ่านความร่วมมือ ร่วมใจของชุมชนลุมพินี ชุมชนที่น่าอยู่ของเรา Universal Design 18
  • 19. โครงการ LPN ที่ใช้แนวคิด Universal Design มี 2 โครงการ ได้แก่ ลุมพินี วิลล์ นาเกลือ-วงค์อมาตย์ และ ลุมพินี พาร์ค รัตนาธิเบศร์-งามวงศ์วาน LPN MAG 78 JAN – MAR 2015 19 LPN Green
  • 20. บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จ�ำกัด (มหาชน) 1168/109 ชั้น 36 อาคารลุมพินี ทาวเวอร์ ถนนพระราม 4 แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กทม. 10120 โทรศัพท์ : 02-285-5011-6 แฟกซ์ : 02-285-5017 E-mail : lumpinimag@lpn.co.th Facebook/LumpiniMag Lumpini Instagram/LumpiniMag www.lpn.co.th เหตุขัดข้องที่น�ำจ่ายผู้รับไม่ได้ สิ่งตีพิมพ์ 1. จ่าหน้าไม่ชัดเจน 2. ไม่มีเลขที่บ้านตามจ่าหน้าซอง 3. ไม่ยอมรับ 4. ไม่มีผู้รับตามจ่าหน้าซอง 5. ไม่มารับภายในก�ำหนด 6. เลิกกิจการ 7. ย้ายไม่ทราบที่อยู่ใหม่ 8. อื่นๆ................................. ลงชื่อ.................................... ไม่ถึงมือผู้รับโปรดส่งคืน ช�ำระค่าฝากส่งเป็นรายเดือน ใบอนุญาตพิเศษที่ 175/2557 ปณจ. ยานนาวา