SlideShare a Scribd company logo
บนเส นทางแห งการเติ บโตอย างยั่ งยื นป
รายงานประจำป 2551
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน)
ระยะแรก ป 2532 - 2541
1. ลุมพินี ทาวเวอร Lumpini Tower
2. แอล.พี.เอ็น. ทาวเวอร L.P.N. Tower
3. ลุมพินี เพลส Lumpini Place
4. แอล.พี.เอ็น. มินิ ออฟฟศ L.P.N. Mini Office
5. พี.เอส.ที. คอนโดวิลล ทาวเวอร 1,2 P.S.T. Condoville Tower 1, 2
6. พี.เอส.ที. มินิ ออฟฟศ P.S.T. Mini Office
7. สี่พระยา ริเวอรวิว Siphraya River View
8. พี.เอส.ที. ซิตี้โฮม P.S.T. City Home
9. บานลุมพินี บางบัวทอง Baan Lumpini Bang Bua Thong
10. บานลุมพินี 2 บางบัวทอง Baan Lumpini 2 Bang Bua Thong
ระยะที่สอง ป 2542 - 2546
1. ลุมพินี เพลส สาทร Lumpini Place Sathorn
2. ลุมพินี เซ็นเตอร แฮปปแลนด Lumpini Center Happyland
3. ลุมพินี เซ็นเตอร ลาดพราว 111 Lumpini Center Latphrao 111
4. ลุมพินี เพลส สวนพลู-สาทร Lumpini Place Suanplu-Sathorn
5. ลุมพินี เพลส พระราม 4-สาทร Lumpini Place Rama 4-Sathorn
6. ลุมพินี เรสซิเดนซ สาทร Lumpini Residence Sathorn
7. ลุมพินี เพลส นราธิวาส 24 Lumpini Place Narathiwat 24
8. ลุมพินี เพลส พระราม 3-เจริญกรุง Lumpini Place Rama 3-Charoenkrung
9. ลุมพินี วิลล พระแมมารี-สาทร Lumpini Ville Mary-Sathorn
10. ลุมพินี เพลส นราธิวาสราชนครินทร Lumpini Place Narathiwatratchanakharin
11. ลุมพินี สวีท สุขุมวิท 41 Lumpini Suite Sukhumvit 41
ระยะที่สาม ป 2547
1. ลุมพินี เพลส พระราม 3-ริเวอรวิว Lumpini Place Rama 3-Riverview
2. ลุมพินี เซ็นเตอร สุขุมวิท 77 Lumpini Center Sukhumvit 77
3. ลุมพินี วิลล พหล-สุทธิสาร Lumpini Ville Phahon-Sutthisarn
4. ลุมพินี เซ็นเตอร นวมินทร Lumpini Center Nawamin
5. ลุมพินี วิลล สุขุมวิท 77 Lumpini Ville Sukhumvit 77
6. ลุมพินี เพลส ปนเกลา Lumpini Place Pinklao
ระยะที่สี่ ป 2548 - 2549
1. ลุมพินี วิลล ศูนยวัฒนธรรม Lumpini Ville Cultural Center
2. ลุมพินี เพลส นราธิวาส-เจาพระยา Lumpini Place Narathiwat-Chaophraya
3. ลุมพินี เพลส พหล-สะพานควาย Lumpini Place Phahon-Saphankhwai
4. ลุมพินี เพลส รัชดา-ทาพระ Lumpini Place Ratchada-Thapra
5. ลุมพินี เพลส ปนเกลา 2 Lumpini Place Pinklao 2
6. ลุมพินี วิลล รามคำแหง 44 Lumpini Ville Ramkhamhaeng 44
ระยะที่ 5 ป 2550 - ปจจุบัน
1. ลุมพินี คอนโดทาวน บดินทรเดชา-รามคำแหง Lumpini CondoTown Bodindecha-Ramkhamhaeng
2. ลุมพินี คอนโดทาวน รามอินทรา-หลักสี่ Lumpini CondoTown Ramindra-Laksi
3. ลุมพินี วิลล รามอินทรา-หลักสี่ Lumpini Ville Ramindra-Laksi
4. ลุมพินี วิลล ประชาชื่น-พงษเพชร Lumpini Ville Prachachun-PhongPhet
5. ลุมพินี สวีท ปนเกลา Lumpini Suite Pinklao
6. ลุมพินี คอนโดทาวน รัตนาธิเบศร Lumpini CondoTown Ratanathibet
7. ลุมพินี วิลล รามคำแหง 26 Lumpini Ville Ramkhamhaeng 26
8. ลุมพินี พระราม 8 Lumpini Rama 8
9. ลุมพินี เพลส พระราม 9-รัชดา Lumpini Place Rama 9-Ratchada
10. ลุมพินี วิลล บางแค Lumpini Ville Bangkhae
11. ลุมพินี เพลส รามอินทรา-หลักสี่ Lumpini Place Ramindra-Laksi
โครงการรวมทุน ในบริษัท แกรนด ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท จำกัด
1. ลุมพินี เพลส วอเตอรคลิฟ Lumpini Place WaterCliff
2. ลุมพินี ทาวนโฮม รัชดา-พระราม 3 Lumpini Townhome Ratchada-Rama 3
3. ลุมพินี สวีท รัชดา-พระราม 3 Lumpini Suite Ratchada-Rama 3
4. แกรนด เฮอริเทจ ทองหลอ Grand Heritage Thonglor
5. แกรนด พารควิว อโศก Grand Park View Asoke
6. พารควิว วิภาวดี Parkview Viphavadi
จากประสบการณเกือบ 20 ปแหงการเติบโตอยางยั่งยืนของ LPN
กับการพัฒนาอาคารชุดพักอาศัยรูปแบบใหมที่สมบูรณและครบวงจร
สูการเปนตนแบบของคอนโดมิเนียมในเมือง ที่พรอมสงมอบสิ่งดีๆ ไปยังลูกคา
บนเสนทางที่เปยมไปดวยรอยยิ้มและความอุนใจแหงการพักอาศัย
2 ทศวรรษ แหงการเปลี่ยนแปลง
พัฒนาอยางตอเนื่อง เติบโตอยางยั่งยืน
ประวัติบริษัท
1รายงานประจำป 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน)
2532
จุดเริ่มตนของธุรกิจ
2533-2536
ปรับโครงสรางการดำเนินธุรกิจ
2537
เขาสูองคกรมหาชน
กอตั้ง ลุมพินี พรอพเพอรตี้ มาเนจเมนท
เพื่อบริหารคุณภาพชีวิตผูอยูอาศัย
จำนวนสมาชิกเพิ่มขึ้นกวา 1 เทา
เปน 2,000ครอบครัว
บุกเบิกถนนพระราม 4
ใหเปนแหลงธุรกิจแหงใหม
ดวยกลยุทธนานน้ำสีคราม (Blue Ocean Strategy)
บริษัทถือกำเนิดขึ้นจากบุคคลหลากหลายสาขาอาชีพที่
มีความมุงมั่นรวมกันในการพัฒนาอสังหาริมทรัพยที่มี
คุณภาพใหแกสังคมไทย โดยกอตั้งขึ้นเมื่อวันที่
21 มิถุนายน 2532 ดวยทุนจดทะเบียน 50 ลานบาท
และเริ่มตนพัฒนาโครงการ “ลุมพินี ทาวเวอร”
อาคารชุดสำนักงาน สูง 37 ชั้น แหงแรก
บนถนนพระราม 4 ซึ่งเปนที่ตั้งของสำนักงานใหญ
จนถึงปจจุบัน
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) (LPN)
ผูพัฒนาอาคารชุดพักอาศัยที่มีประวัติยาวนานเกือบ 2 ทศวรรษ ซึ่งตลอดเวลาที่ผานมานั้น
บริษัทมีพัฒนาการที่สำคัญอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งวิธีคิดและกระบวนการบริหารจัดการภายใน
ที่นำมาซึ่งวิสัยทัศนที่แตกตางกันในแตละชวงเวลา วันเวลาที่ผานไป
แนวความคิดในการพัฒนาโครงการยิ่งลึกซึ้งตามประสบการณและเจตนารมณ
ในการพัฒนาที่พักอาศัยที่มีคุณภาพใหกับผูอยูอาศัย
นอกจากการพัฒนาโครงการตางๆ แลว ระยะแรก
ของการดำเนินงาน ยังเปนชวงเวลาของการขยาย
การลงทุนและการพัฒนาการใหบริการภายใตการ
ดำเนินงานของบริษัทและบริษัทในเครือ โดยเมื่อป
2533 บริษัทไดลงทุนในบริษัท พรสันติ จำกัด
ในสัดสวนการลงทุนรอยละ 20.00 เพื่อพัฒนาโครงการ
ทั้งที่เปนอาคารชุดพักอาศัยและลักษณะอื่นๆ รวมทั้งได
จัดตั้งบริษัท ลุมพินี พรอพเพอรตี้ มาเนจเมนท จำกัด
ขึ้น เมื่อป 2535 เพื่อบริการหลังการขายโดยกำหนด
ทิศทางในการใหบริการ บริหารจัดการอาคารชุด
แกทุกโครงการที่บริษัทและบริษัทยอยไดพัฒนาขึ้น
นอกจากนั้นยังไดเพิ่มสัดสวนการลงทุนในบริษัท
พรสันติ จำกัด เปนรอยละ 99.99 ของทุนชำระแลว
200 ลานบาท
ภายในระยะเวลา 5 ป ของการดำเนินงาน
บริษัทไดจดทะเบียนแปรสภาพเปนบริษัทมหาชน
เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2537 ทะเบียนเลขที่ บมจ.477
โดยตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยไดรับบริษัท
เขาเปนบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย
ใชชื่อหลักทรัพยวา LPN และไดออกหุนสามัญ
เพิ่มทุนจำนวน 9.2 ลานหุน เพื่อจัดสรรใหแก
ประชาชนทั่วไป โดยมีมูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท
และราคาเสนอขายตอหุน 64 บาท ซึ่งตอมาไดเพิ่มทุน
เปน 460 ลานบาท เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2537
รายงานประจำป 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน)2
2540-2541
เผชิญวิกฤติเศรษฐกิจ
2542
ปรับโครงสรางหนี้ไดสำเร็จ
พรอมดำเนินธุรกิจ
2543
เพิ่มความชัดเจนของการเปน
องคกรธรรมาภิบาล
จัดแคมเปญการตลาดตอเนื่อง
กระตุนตลาดทามกลางภาวะวิกฤติ
พลิกวิกฤติใหเปนโอกาส
กวา 400,000 ตร.ม.
ที่อยูภายใตการบริหารจัดการ
มั่นใจในกลุมเปาหมายและกลยุทธธุรกิจ
เมื่อครั้งที่ประเทศไทยเกิดวิกฤติเศรษฐกิจ
ครั้งใหญ จากการประกาศลอยตัว
คาเงินบาท และการปดตัวลงของ 56
สถาบันการเงิน ซึ่งสงผลกระทบเปน
วงกวางทั้งระบบเศรษฐกิจ ในสวนของ
บริษัทก็ไดรับผลกระทบรุนแรงนี้เชนกัน
ทำใหมีภาระหนี้กับสถาบันการเงินกวา
3 พันลานบาท เปนเหตุใหตองปรับ
โครงสรางองคกร ปรับเปลี่ยนกลยุทธ
และกระบวนการทำงานใหมทั้งหมด
พรอมพัฒนาประสิทธิภาพบุคลากรให
สอดรับกับภาวะวิกฤติเศรษฐกิจซบเซา
เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ 2543 ที่ประชุม
คณะกรรมการบริษัท ไดพิจารณาแตงตั้ง
คณะกรรมการตรวจสอบ รวมทั้ง
ไดกำหนดขอบเขต อำนาจหนาที่และ
ความรับผิดชอบ เพื่อใหเปนไปตาม
หลักเกณฑในการกำกับดูแลกิจการของ
ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย
ซึ่งคณะกรรมการบริษัทไดใหความ
สำคัญอยางยิ่งกับการดำเนินงานตาม
หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีดังกลาว
เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2542 บริษัท
ไดแตงตั้ง บริษัท คาเธย แอสเซท
แมเนจเมนท จำกัด เปนที่ปรึกษาในการ
ปรับปรุงโครงสรางหนี้และการเพิ่มทุน
จดทะเบียนของบริษัท โดยรวมกันกำหนด
แนวทางในการเจรจาปรับปรุงโครงสราง
หนี้กับเจาหนี้ทุกราย รวมถึงการวางแผน
งานเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัท และ
ประสบความสำเร็จในการปรับปรุงโครงสราง
หนี้กับเจาหนี้สถาบันการเงินทั้งจำนวน
คิดเปนมูลหนี้ 3,305.93 ลานบาท (อันเปน
ผลมาจากความเชื่อมั่นที่สถาบันการเงิน
มีตอบริษัทและสงผลตอเนื่องในการให
การสนับสนุนบริษัทมาจนถึงบัจจุบัน)
นอกจากนี้ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท
ไดจัดใหมีการประชุมวิสามัญผูถือหุน
ครั้งที่ 1/2542 เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2542
เพื่อพิจารณาเรื่องการเพิ่มทุนจดทะเบียน
ของบริษัทจากเดิม 460,000,000.00
บาท (สี่รอยหกสิบลานบาทถวน) เปน
3,983,000,000.00 บาท (สามพันเการอย
แปดสิบสามลานบาทถวน) โดยการออก
หุนใหมเปนหุนสามัญ เพื่อการเพิ่มทุน
จำนวน 352,300,000 หุน (สามรอยหาสิบ
สองลานสามแสนหุน) มูลคาที่ตราไวหุนละ
10 บาท รวมจำนวน 3,523,000,000.00
บาท (สามพันหารอยยี่สิบสามลานบาทถวน)
2544
บริษัทผูสรางตำนาน
อาคารชุดพักอาศัยใจกลางเมือง
ทามกลางภาวะเศรษฐกิจซบเซาซึ่งผูประกอบการตางก็ชะลอการ
พัฒนาโครงการอาคารชุดพักอาศัย บริษัทไดเปลี่ยนวิกฤติใหเปน
โอกาสดวยการศึกษาความตองการพื้นฐานดานการอยูอาศัย
ของลูกคาอยูตลอดเวลา และจากการปรับเปลี่ยนทั้งวิธีคิดและ
กระบวนการบริหารจัดการ จึงเปนที่มาของกลยุทธการพัฒนา
โครงการรูปแบบใหม คืออาคารชุดพักอาศัยในใจกลางเมืองที่มี
ราคาลานตนๆ ใกลแนวรถไฟฟา โดยไดเปดตัว “โครงการลุมพินี
เพลส สาทร” ริมถนนนราธิวาสราชนครินทร อาคารชุดพักอาศัย
มูลคา 750 ลานบาท ซึ่งถือเปนจุดกำเนิดของ “ซิตี้คอนโด” ที่เปน
ตนแบบการพัฒนาโครงการของบริษัทและผูประกอบการอื่นๆ
ในระยะตอมา นอกจากนี้ ยังเปดตัวโครงการลุมพินี เซ็นเตอร
แฮปปแลนด อาคารชุดพักอาศัยในยานบางกะป ดวยกลยุทธใน
การพัฒนาโครงการใหลูกคาเขาอยูอาศัยไดภายในเวลา 1 ป
ทำใหการกอสรางเสร็จสมบูรณ และสามารถรับรูรายไดทั้งหมด
ในป 2545 นอกจากนี้ ยังไดจัดกิจกรรมสงเสริมการขายอยาง
ตอเนื่อง และเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2544 บริษัทไดตกลงทำสัญญา
รวมทุนกับบริษัท ยูนิเวนเจอร จำกัด (มหาชน) บริษัท แสนสิริ
จำกัด (มหาชน) และบริษัท เยาววงศ จำกัด โดยไดจัดตั้งบริษัท
แกรนด ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท จำกัด ขึ้นเพื่อพัฒนาโครงการ
ลุมพินี เพลส วอเตอรคลิฟ ซึ่งเปนโครงการอาคารสรางคาง
บนถนนรัชดาภิเษก-พระราม 3 ที่หยุดดำเนินการตั้งแตป 2540
เนื่องจากวิกฤติเศรษฐกิจ โดยบริษัทรวมทุนดังกลาวไดเขาฟนฟู
และพัฒนาโครงการดังกลาวภายใตชื่อโครงการ “ลุมพินี เพลส
วอเตอรคลิฟ” โดยบริษัทเปนผูรับผิดชอบดานการบริหารการ
ตลาด การขาย และการกอสรางทั้งโครงการ และโครงการนี้เปน
โครงการหนึ่งที่ประสบความสำเร็จอยางสูง ซึ่งเปนการแกไขปญหา
ของผูประกอบการ ลูกคา สถาบันการเงิน และผูมีสวนไดเสีย
ชวยลดอาคารสรางคางที่สงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมใน
บริเวณนั้นอีกดวย
3รายงานประจำป 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน)
2545
ปรับทุนจดทะเบียนเพื่อความมั่นคง
ของฐานะทางการเงิน
2546-2547
ปรับกลยุทธไปสูความเปนมืออาชีพ
ทุนจดทะเบียนเติบโตเปน 3เทา
2537 2545
เติบโตแบบกาวกระโดด
ตามมติที่ประชุมใหญสามัญผูถือหุน ประจำป 2545
เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2545 มีมติใหลดทุนจดทะเบียน
จากเดิม 3,983,000,000.00 บาท (สามพันเการอยแปดสิบ
สามลานบาทถวน) ลงเหลือเพียง 460,000,000.00 บาท
(สี่รอยหกสิบลานบาทถวน) และทำการเพิ่มทุนอีก
75,000,000.00 หุน (เจ็ดสิบหาลานหุน) คิดเปนจำนวนเงิน
750,000,000.00 บาท (เจ็ดรอยหาสิบลานบาทถวน)
ซึ่งเมื่อรวมทุนจดทะเบียนชำระแลวเดิมจำนวน
460,000,000.00 บาท (สี่รอยหกสิบลานบาท)
ทำใหบริษัทมีทุนจดทะเบียนในป 2545 ทั้งสิ้น
1,210,000,000.00 บาท (หนึ่งพันสองรอยสิบลานบาท)
โดยเปนทุนที่ชำระแลว ณ วันที่ 29 มกราคม 2547
จำนวน 946,826,190.00 บาท (เการอยสี่สิบหกลาน
แปดแสนสองหมื่นหกพันหนึ่งรอยเกาสิบบาทถวน)
นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัทยังเสนอแตงตั้งนายปกรณ
ทวีสิน ใหดำรงตำแหนงรองประธานกรรมการบริษัท
ตอที่ประชุมผูถือหุนอีกดวย
ในโอกาสที่บริษัทไดดำเนินธุรกิจครบ 15 ป ในป 2547
บริษัทจึงไดจัดกิจกรรมตางๆ ภายใตโครงการ “15 ปที่ผูกพัน”
เพื่อขอบคุณลูกคา ผูมีอุปการคุณ ซึ่งใหการสนับสนุนตอ
บริษัทเปนอยางดีตลอดมา เชน การใหบริการตรวจเช็คระบบ
งานในหองชุดลูกคาโดยไมคิดคาบริการ การมอบอุปกรณ
และเครื่องใชที่จำเปนแกนิติบุคคลอาคารชุดตางๆ เพื่อใชเปน
ประโยชนสวนกลาง นอกจากนี้ ยังไดสนับสนุนในกิจกรรม
สาธารณกุศลตางๆ เชน การสนับสนุนเงินทุนเพื่อใชในการ
จัดสรางสนามเทนนิสเพื่อเยาวชน หรือการบริจาคเงินใหแก
สภากาชาดไทย เพื่อจัดซื้ออุปกรณที่ใชในเครื่องกรองไต
สำหรับชวยเหลือผูปวยโรคไตเรื้อรังระยะสุดทาย การจัด
คอนเสิรตการกุศลรวมกับตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย
เพื่อมอบรายไดใหแกองคกรการกุศล การจัดกิจกรรม “15
ปที่ผูกพัน รวมแบงปนสูบานเด็กออนพญาไท” และการ
มอบทุนการศึกษาใหแกบุตรพนักงาน เปนตน
ปรับโครงสรางเงินทุนและกลยุทธองคกร
ที่ประชุมใหญสามัญผูถือหุนประจำป 2547 ซึ่งจัดประชุม
เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2547 มีมติใหเปลี่ยนแปลงมูลคา
หุนที่ตราไวจากเดิมหุนละ 10.00 บาท เปนหุนละ
1.00 บาท ทำใหจำนวนหุนของบริษัทเพิ่มขึ้นจากเดิม
121,000,000 หุน (หนึ่งรอยยี่สิบเอ็ดลานหุน) เปน
1,210,000,000 หุน (หนึ่งพันสองรอยสิบลานหุน)
นอกจากนี้ยังไดอนุมัติการเพิ่มทุนจดทะเบียนจำนวน
276,706,550 หุน (สองรอยเจ็ดสิบหกลานเจ็ดแสนหก
พันหารอยหาสิบหุน) มูลคาที่ตราไวหุนละ 1.00 บาท
(หนึ่งบาทถวน) รวมเปนทุนจดทะเบียนทั้งสิ้น
1,486,706,550.00 บาท (หนึ่งพันสี่รอยแปดสิบหกลาน
เจ็ดแสนหกพันหารอยหาสิบบาทถวน) แบงเปนหุนสามัญ
1,486,706,550 หุน (หนึ่งพันสี่รอยแปดสิบหกลาน
เจ็ดแสนหกพันหารอยหาสิบหุน) มูลคาหุนละ 1.00 บาท
(หนึ่งบาทถวน)
บริษัทไดเพิ่มสัดสวนการลงทุนในบริษัท แกรนด ยูนิตี้
ดิเวลล็อปเมนท จำกัด จากเดิมรอยละ 25 เปนรอยละ 33.3
เพื่อขยายชองทางการพัฒนาโครงการ การตลาดและ
ผลิตภัณฑ รวมถึงการเพิ่มพันธมิตรทางธุรกิจ
บริษัทไดลงนามในสัญญาใหเชาพื้นที่อาคารลุมพินี
เรสซิเดนซ ที่พัฒนาเปนอาคารอาพารตเมนทใหเชาทั้ง
อาคาร กับบริษัท รีเออิ (ประเทศไทย) จำกัด
เพื่อขยายธุรกิจดานเซอรวิส อพารทเมนท (Serviced
Apartment) และ การใหบริการเชาพักในลักษณะ
ระยะยาว (Long Stay) แกลูกคาชาวญี่ปุน
บริษัทไดรับเชิญจากตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย
ใหเขารวมงาน “Thailand Focus 2004” เพื่อนำเสนอ
ผลประกอบการ นโยบาย ทิศทาง กลยุทธ และแผนการ
ดำเนินธุรกิจของบริษัทตอผูบริหารระดับสูงของกองทุน
ผูจัดการกองทุน และผูลงทุนสถาบันชั้นนำจากตางประเทศ
รายงานประจำป 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน)4
2548-2549
ผูนำในธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพยดานอาคารชุดพักอาศัย
และการปรับเปลี่ยนโครงสรางการบริหารจัดการ
ไมเพียงเปนชวงเวลาของการเติบโตอยางมั่นคง หากแตหมายถึงยางกาวที่ไดรับการยอมรับ
อยางกวางขวางในฐานะผูนำดานการพัฒนาอาคารชุดพักอาศัยทั้งจากนักวิเคราะห ลูกคา
และสื่อมวลชน รวมทั้งยังไดรับรางวัลและการจัดอันดับจากหนวยงานและองคกรตางๆ ไดแก
• บริษัทไดรับการจัดอันดับหลักทรัพยใหอยูในดัชนี SET Index 100 ของตลาดหลักทรัพย
แหงประเทศไทย โดยประกาศ ณ วันที่ 18 เมษายน 2548
• บริษัทไดรับการจัดอันดับใหเปน 1 ใน 93 บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยในป 2548
ที่ไดรับการประเมินผลการดำเนินงานดานการกำกับดูแลกิจการดีเดนในกลุม Top Quartile
จากการประเมินโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) โดยบริษัทไดรับ
การจัดอันดับในกลุม Top Quartile ติดตอกันเปนปที่ 3
• บริษัทไดรับการจัดอันดับจากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทยใหเปนบริษัทที่มี
การกำกับดูแลกิจการในระดับ 4 ตราสัญลักษณ ซึ่งไดดำเนินงานตามหลักธรรมาภิบาล
ที่มุงเนนการเปดเผยขอมูลตอนักลงทุน ผูถือหุน และบุคคลทั่วไปอยางโปรงใสมาโดยตลอด
โดยมีคะแนนเฉลี่ย 80 - 89 จากคะแนนเต็ม 100 และปนี้นับเปนปที่ 4 ที่บริษัทไดรับ
การสำรวจดานการกำกับดูแลกิจการที่ดีในอันดับดีมาก โดยมีบรรษัทภิบาลแหงชาติ
รับรองในฐานะเปนบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย
• บริษัทไดรับประกาศเกียรติคุณจากตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ในโอกาสที่บริษัทติด
1 ใน 3 ของบริษัทที่ไดรับการเสนอชื่อเขาชิงรางวัล SET AWARDS 2006 ประเภท
Best Performance ในหมวด Property & Construction ซึ่งเปนผลมาจากการ
ดำเนินงานที่มุงสรางการเติบโตที่ยั่งยืนและสรางผลตอบแทนที่ดีใหแกผูถือหุน โดยเกณฑ
การตัดสินรางวัลพิจารณาจากฐานะการเงินและผลการดำเนินงานดีเดน รวมถึงการปฏิบัติ
ตามขอกำหนดเรื่องการเปดเผยขอมูลของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และสภาพ
คลองของหลักทรัพย
ดานคณะกรรมการบริษัทนั้น ระหวางป 2548 - 2549 มีการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญดังนี้คือ
• ศาสตราจารยโมรา บุณยผล ประธานกรรมการบริษัท ไดถึงแกกรรมเมื่อวันที่ 30
กรกฎาคม 2548 และจากการประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 4/2548 ไดมีมติ
แตงตั้งนายปกรณ ทวีสิน ใหดำรงตำแหนง ประธานกรรมการบริษัท โดยมีผลตั้งแต
วันที่ 11 สิงหาคม 2548
• บริษัทไดแตงตั้ง นายอมรศักดิ์ นพรัมภา ใหดำรงตำแหนงกรรมการตรวจสอบ โดยมี
ผลตั้งแตวันที่ 22 ธันวาคม 2548 รวมถึงไดแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบชุดเดิมให
ดำรงตำแหนงอีกวาระหนึ่ง ระหวางวันที่ 1 กุมภาพันธ 2549 ถึงวันที่ 30 เมษายน 2551
• บริษัทไดแตงตั้ง นายทิฆัมพร เปลงศรีสุข ใหดำรงตำแหนง ประธานเจาหนาที่บริหาร
และประธานคณะกรรมการบริหาร แทนนายทวีชัย จิตตสรณชัย ที่ขอลาออก โดยมี
ผลตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2549
• บริษัทแตงตั้ง ศาสตราจารยศิริ เกวลินสฤษดิ์ และ นายทวีชัย จิตตสรณชัย ใหดำรง
ตำแหนงรองประธานกรรมการ โดยมีผลตั้งแตวันที่ 26 เมษายน 2549
• บริษัทไดแตงตั้งนายอมรศักดิ์ นพรัมภา และ นายวีระศักดิ์ วหาวิศาล ใหดำรงตำแหนง
กรรมการตรวจสอบแทน ศาสตราจารยศิริ เกวลินสฤษดิ์ และ นายวุฒิพล สุริยาภิวัฒน
ที่ขอลาออก โดยมีผลตั้งแตวันที่ 26 เมษายน 2549 เปนตนไป และมีกำหนดวาระ
ถึงวันที่ 30 เมษายน 2551
คณะกรรมการตรวจสอบชุดใหม ประกอบดวย
1. นายอมรศักดิ์ นพรัมภา ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ
2. นายเทพ รุงธนาภิรมย กรรมการตรวจสอบ
3. นายวีระศักดิ์ วหาวิศาล กรรมการตรวจสอบ
• บริษัทไดแตงตั้ง นายโอภาส ศรีพยัคฆ ใหดำรงตำแหนง กรรมการบริหาร
และ กรรมการผูจัดการ โดยมีผลตั้งแตวันที่ 26 เมษายน 2549
นอกจากนี้ การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญอีกดานคือ ที่ประชุมใหญสามัญผูถือหุนประจำป
2549 ซึ่งจัดประชุมเมื่อวันที่ 26 เมษายน 2549 มีมติอนุมัติลดทุนจดทะเบียนจาก
1,486,706,550 บาท (หนึ่งพันสี่รอยแปดสิบหกลานเจ็ดแสนหกพันหารอยหาสิบบาทถวน)
เปน 1,475,698,768 บาท (หนึ่งพันสี่รอยเจ็ดสิบหาลานหกแสนเกาหมื่นแปดพันเจ็ดรอย
หกสิบแปดบาทถวน) โดยตัดหุนสามัญสวนที่เหลือจากการสำรองไวเพื่อรองรับการใชสิทธิ
ในการแปลงใบสำคัญแสดงสิทธิจำนวน 11,007,782 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท และอนุมัติ
แกไข หนังสือบริคณหสนธิ ขอ 4 ของบริษัท เพื่อใหสอดคลองกับการลดทุนจดทะเบียน
จำนวนสมาชิกเพิ่มขึ้นเปนกวา
15,000ครอบครัว
พื้นที่อาคารภายใตการดูแลกวา 1.2ลาน ตร.ม.
5รายงานประจำป 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน)
2550-2551
จาก “ชุมชนนาอยู” สูวิสัยทัศนในระยะที่ 3
เพื่อการพัฒนาเชิงคุณภาพ
สำหรับป 2551 เปนปที่บริษัทยังคงใหความสำคัญกับการพัฒนาเชิงคุณภาพตามวิสัยทัศนใน
ระยะที่ 3 โดยใสใจในทุกกระบวนการ ตั้งแตการเปดตัวโครงการ การขาย การโอนกรรมสิทธิ์
การสงมอบสินคาแกลูกคา และการบริหารชุมชน ซึ่งเปนการดูแลคุณภาพชีวิตของผูอยูอาศัย
ภายใตกลยุทธ “ชุมชนนาอยู” นอกจากนั้น ยังไดตอบสนองความตองการที่พักอาศัยที่มีอยู
อยางตอเนื่องโดยไดเปดตัวโครงการอาคารชุดพักอาศัยแหงใหมจำนวนทั้งสิ้น 5 โครงการ ดังนี้
• บริษัทยังไดสงมอบโครงการลุมพินี คอนโดทาวน บดินทรเดชา-รามคำแหง อาคารชุด
สำหรับผูมีรายไดปานกลางคอนขางต่ำ จำนวน 3,500 ยูนิต ที่กอสรางแลวเสร็จตั้งแต
เดือนมีนาคมใหกับลูกคา ซึ่งนับเปนชุมชนขนาดใหญโครงการแรกภายใตแบรนด “ลุมพินี
คอนโดทาวน” ที่บริษัทไดสรางนวัตกรรมทางการเงิน โดยความรวมมืออยางใกลชิดกับ
สถาบันการเงินเพื่อประสานประโยชนใหกับทุกฝาย ทั้งลูกคา สถาบันการเงิน และบริษัท
อันเนื่องจากเงื่อนไขของขนาดโครงการซึ่งสงผลตอระยะเวลาของการโอนกรรมสิทธิ์ บริษัท
จึงไดตกลงกับสถาบันการเงินและหาแนวทางใหลูกคาสามารถใชประโยชนจากหองชุดได
กอนรับโอนกรรมสิทธิ์ โดยการเซ็นตสัญญาเงินกูกับสถาบันการเงิน ซึ่งทางสถาบันการเงิน
ก็จะลดวงเงินกูเฉพาะสวนกับทางบริษัท ซึ่งจะทำใหเกิดประโยชนกับ 3 ฝาย ไมวาจะ
เปนลูกคา สถาบันการเงิน และบริษัท จากนวัตกรรมดังกลาว ชวยใหลูกคาไดเขาอยู
เร็วกวากำหนดและบริษัทสามารถลดความเสี่ยงและคาใชจายดานดอกเบี้ยอีกดวย
ป 2550 บริษัทไดเปลี่ยนแปลงนโยบายการรวมลงทุนในบริษัท แกรนด ยูนิตี้ ดิเวปล็อปเมนท
จำกัด โดยลดสัดสวนการถือหุนลงจากเดิม รอยละ 33.3 เปนรอยละ 20 ของทุน
จดทะเบียนเรียกชำระแลว และไดัจัดตั้งบริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท เซอรวิส
จำกัด ขึ้น เพื่อดำเนินการเรื่องการบริหารโครงการอสังหาริมทรัพยแบบครบวงจร
อันไดแก งานดานวิศวกรรมและการกอสราง การเงิน การตลาด และการขาย
ป 2550 นับเปนพัฒนาการที่สำคัญอีกครั้งของบริษัท ที่ผลักดันใหนโยบายการบริหาร
จัดการสิ่งแวดลอมและสังคมภายใตโครงการ “ชุมชนนาอยู” เปนนโยบายหลักที่ใชใน
การขับเคลื่อนการดำเนินงานขององคกร เพื่อมุงสรางสรรคสิ่งแวดลอมและสังคม
พรอมคุณภาพชีวิตที่ดีใหกับชุมชนที่บริษัทพัฒนาและบริหารจัดการ รวมไปถึงชุมชน
รอบขางและสังคมในระดับที่ใหญขึ้น โดยเนนการมีสวนรวมจากลูกคา พันธมิตร และ
พนักงาน เชน จัดใหมีการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อการเรียนรูการมีสวนรวม พรอม
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณจากตัวแทนคณะกรรมการเจาของรวมทุก
โครงการ ในหัวขอ “ชุมชนนาอยู” เพื่อรวมกันกำหนดมาตรฐานและรูปแบบของการ
อยูอาศัยรวมกันในแตละชุมชนที่บริษัทไดพัฒนาขึ้น ฯลฯ ทั้งนี้ ไดสงผลตอเนื่องมา
ยังป 2551 ซึ่งเปนปแหงการเริ่มตนวิสัยทัศนในระยะที่ 3 ที่มุงเนนการพัฒนาเชิงคุณภาพ
ในทุกมุมมอง ทั้งที่เกี่ยวของกับบุคลากร กระบวนการบริหารจัดการภายใน รวมถึงมิติ
ดานลูกคา และการเงิน เพื่อสรางความสุขที่แทจริงบนพื้นฐานความพอเพียง
นอกจากนี้ สามารถสรุปการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญในดานอื่นๆ ไดดังนี้
• ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 5/2550 เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2550 ไดแตงตั้ง
คณะอนุกรรมการพิจารณาคาตอบแทนเพื่อพิจารณาคาตอบแทนของคณะกรรมการ
ผูบริหาร และพนักงานในองคกร
• บริษัทไดรับเชิญจากตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เขารวมงาน “Thailand Focus
2007” ระหวางวันที่ 12 - 14 กันยายน 2550 ณ โรงแรมพลาซา แอททินี ถนนวิทยุ
กรุงเทพมหานคร เพื่อนำเสนอผลประกอบการ นโยบาย ทิศทาง กลยุทธ และแผนการ
ดำเนินธุรกิจของบริษัท ในรูปแบบ One on One Meeting กับผูบริหารระดับสูงของกองทุน
ผูจัดการกองทุน นักวิเคราะหหลักทรัพย และผูลงทุนสถาบันชั้นนำจากตางประเทศ
เกือบ 2 ลาน ตร.ม. จาก 54โครงการ
กวา 30,000 ครอบครัว
ภายใต “สังคมลุมพินี”
1 ลุมพินี วิลล รามคำแหง 26
2 ลุมพินี สวีท พระราม 8
3 ลุมพินี เพลส พระราม 8
4 ลุมพินี เพลส พระราม 9-รัชดา
5 ลุมพินี วิลล บางแค
รวม
เม.ย.51 - มิ.ย. 52
เม.ย.51 - ส.ค. 52
เม.ย.51 - ส.ค. 52
มิ.ย. 51 - เม.ย.53
ธ.ค. 51 - มิ.ย. 53
998
178
1,121
1,154
268
3,719
1,250
503
1,974
2,890
290
6,907
โครงการ มูลคาโครงการ จำนวน ระยะเวลาโครงการ
(ลานบาท) (ยูนิต)
รายงานประจำป 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน)6
• ในชวงกลางป 2551 บริษัทไดปรับโครงสรางองคกร เพื่อปรับกลยุทธในการดำเนินงาน
ใหสอดรับกับสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป โดยโครงสรางองคกรที่เปลี่ยนแปลงใหมนี้
จะมีผลบังคับใชในป 2552 รวมทั้งไดปรับแผนพัฒนาโครงการใหมเพื่อลดความเสี่ยง
จากความผันผวนของราคาวัสดุกอสราง และบริหารตนทุนอยางมีประสิทธิภาพ สงผลให
การเปดขายโครงการลุมพินี วิลล บางแค ในชวงปลายป ซึ่งเปนโครงการนำรองในทำเล
ใหมยานบางแคประสบความสำเร็จอยางสูง ไดรับการตอบรับที่ดียิ่งจากลูกคาจนทำให
บริษัทสามารถปดการขายไดภายในเวลาเพียง 3 ชั่วโมง
• บริษัทไดรับรางวัลประกาศเกียรติคุณจากสำนักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค
สำนักนายกรัฐมนตรี (สคบ.) ในฐานะ “ผูประกอบธุรกิจอสังหาริมทรัพยที่ดีประจำป
2550-2551” ซึ่งเปนโครงการที่สำนักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภคไดจัดขึ้น
โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหผูประกอบธุรกิจมีจริยธรรมและความรับผิดชอบตอสังคม
• นิตยสาร Forbes Asia ฉบับเดือนกันยายน 2551 ไดคัดเลือกใหบริษัทเปน 1 ใน
“200 Best Under A Billion” ซึ่งทำการสำรวจบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยใน
ภูมิภาคเอเชียแปซิฟก จำนวน 24,155 บริษัท ที่มีรายไดต่ำกวา 1,000 ลานเหรียญ
สหรัฐ และมีผลการดำเนินงานโดดเดนอยางตอเนื่อง โดยมีบริษัทไทยไดรับรางวัล
ดังกลาวเพียง 7 บริษัทเทานั้น
• บริษัทไดรับการจัดอันดับจากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ใหเปนบริษัท
ที่มีการกำกับดูแลกิจการในระดับ 4 ตราสัญลักษณ เปนปที่ 5 ติดตอกัน ดวยการดำเนิน
งานตามหลักธรรมาภิบาลที่มุงเนนการเปดเผยขอมูลตอนักลงทุน ผูถือหุน และบุคคล
ทั่วไปอยางโปรงใสมาโดยตลอด
• เนื่องจากวิกฤติซับไพรมที่เกิดขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกา และสถานการณทางการเมือง
ของประเทศไทยในชวงปลายป 2551 ซึ่งมีผลกระทบตอตลาดเงินในประเทศและกอให
เกิดความผันผวนในตลาดหลักทรัพย ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยและสำนักงาน
คณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ไดสงเสริมใหบริษัทจดทะเบียนใน
ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย จัดโครงการซื้อหุนคืนเพื่อสรางความเชื่อมั่นใหแก
นักลงทุน ดังนั้น ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด
(มหาชน) ครั้งที่ 6/2551 เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2551 จึงไดมีมติอนุมัติโครงการซื้อหุนคืน
เนื่องจากราคาหุนในตลาดชวงนั้นต่ำกวาปจจัยพื้นฐานของบริษัท โดยกำหนดวงเงินที่
จะใชในการซื้อคืน เปนจำนวนเงิน 200 ลานบาท โดยมีจำนวนหุนที่จะซื้อคืนประมาณ
62 ลานหุน คิดเปนรอยละ 4.20 ของหุนที่จำหนายแลวทั้งหมด คือ 1,475,698,768 หุน
และเปนการซื้อในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเทานั้น มีระยะเวลาตั้งแตวันที่
24 ตุลาคม 2551 ถึงวันที่ 23 เมษายน 2552
การปรับตัวรับมือวิกฤติเศรษฐกิจ
7รายงานประจำป 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน)
สินทรัพย
สินทรัพยรวม
ที่ดินและตนทุนโครงสรางระหวางกอสราง
สินคาคงเหลือ
ที่ดินและตนทุนโครงการรอการพัฒนา
สินทรัพยใหเชาสุทธิ
หนี้สินและสวนของผูถือหุน
เงินกูยืมระยะสั้น
เงินกูยืมระยะยาว
หนี้สินรวม
หุนที่ออกและเรียกชำระแลว
สวนของผูถือหุน
ผลการดำเนินงาน
รายไดจากการขาย
รายไดรวม
ตนทุน
กำไรขั้นตนจากการขาย
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ
อัตราสวนทางการเงิน
มูลคาตามบัญชีตอหุน *
กำไรสุทธิตอหุนขั้นพื้นฐาน **
กำไรสุทธิตอหุนปรับลด
อัตรากำไรสุทธิตอรายไดรวม
อัตราผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน
อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพยรวม
เงินปนผลตอหุน
หนวย : ลานบาท
* คิดจากจำนวนหุนถัวเฉลี่ย
** รอผลการอนุมัติจากที่ประชุมใหญสามัญผูถือหุนประจำป 2552
หมายเหตุ 1) เปนขอมูลจากงบการเงินรวม
2) ป 2547 ไดเปลี่ยนแปลงมูลคาตอหุนจาก 10.0 บาท
เปน 1.0 บาท
2551
8,846.49
3,781.48
1,403.97
681.92
709.99
2,063.69
530.67
4,362.02
1,474.59
4,484.48
7,018.71
7,303.69
4,826.17
2,192.54
1,205.44
3.04
0.82
-
16.50
29.01
15.05
**
2550
7,175.76
4,532.36
501.64
660.72
678.53
1,202.01
501.00
3,348.80
1,475.70
3,826.96
6,574.22
6,823.77
4,294.89
2,279.33
927.74
2.59
0.63
-
13.60
25.99
14.11
0.32
2548
4,523.70
2,408.16
124.73
819.59
314.14
234.97
340.00
1,532.26
1,475.70
2,991.44
3,346.45
3,582.63
2,159.64
1,186.81
588.38
2.20
0.43
-
16.42
22.14
13.17
0.22
2547
4,414.81
2,313.76
85.33
661.14
317.60
1,598.45
-
2,090.87
1,205.60
2,323.94
2,308.84
2,478.40
1,498.75
810.10
448.39
2.12
0.41
0.36
18.09
22.86
12.27
0.20
2549
5,969.80
3,485.15
276.16
837.75
617.67
1,033.89
230.00
2,657.43
1,475.70
3,312.37
4,747.84
5,020.49
3,213.88
1,533.96
765.23
2.24
0.52
-
15.24
24.28
14.58
0.26
สรุปขอมูลทางการเงิน
กำไรสุทธิตอหุน (บาท)
2547254625452544254325422541 2548 2549 2550 2551
รายไดรวม (ลานบาท)
8,000
7,000
6,000
5,000
4,000
3,000
2,000
1,000
-1,000
-2,000
-3,000
-4,000
-5,000
-6,000
0
24
21
18
15
12
9
-9
-12
-15
-18
6
-6
3
-3
0
520.42
-13.53
-8.30
6.55
2.01
4.97 0.41 0.43 0.52 0.63 0.82446.31 460.23 678.46 1,069.81
1,943.58
2,478.40
6,823.77
7,303.69
3,582.63
5,020.49
-1.19
สาสนจากประธานกรรมการ
รายงานประจำป 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน)8
เรียน ทานผูถือหุน
ป 2551 นับเปนปที่มีปจจัยเสี่ยงในการดำเนินธุรกิจรอบดาน ทั้งที่เกิดจากภายนอกและภายในประเทศ สำหรับปจจัยภายนอกนั้น วิกฤติการณ
ซับไพรมในสหรัฐอเมริกาสงผลใหสถาบันการเงินขนาดใหญตองปดตัวลง และหลายแหงตองขอรับความชวยเหลือจากภาครัฐ วิกฤติการณดังกลาวสงผลกระทบ
ตอเนื่องไปทั่วโลก ทั้งในยุโรปและเอเชียรวมถึงประเทศไทยดวย ซึ่งปจจุบันวิกฤติการณดังกลาวยังอยูในภาวะที่นาวิตกและยังไมเห็นสัญญาณการสิ้นสุด
ขณะเดียวกัน ปจจัยเสี่ยงภายในประเทศอันเกิดจากสถานการณการเมืองที่ขาดเสถียรภาพ รวมทั้งความผันผวนของราคาน้ำมันที่ปรับตัวขึ้นสูงสุดเปนประวัติการณ
ในชวงครึ่งปแรก และปรับตัวลงต่ำสุดแบบไมคาดคิดในชวงปลายป ทำใหราคาวัสดุกอสรางผันผวนยากตอการคาดการณตนทุนกอสราง และสงผลใหภาพรวม
ของตลาดอสังหาริมทรัพยชะลอตัวลง
อยางไรก็ตาม จากภาวะดังกลาวขางตน บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) (LPN) ไดรับผลกระทบเพียงเล็กนอย เนื่องจาก
บริษัทไดปรับแผนการพัฒนาโครงการใหมในชวงครึ่งปหลังของป 2551 เพื่อลดความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาวัสดุกอสรางและเปนการบริหารตนทุน
อยางมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ จากประสบการณการผานวิกฤติเศรษฐกิจในป 2540 ทำใหบริษัทมีความระมัดระวังในการดำเนินธุรกิจ โดยไดปรับเปลี่ยนแนวทางใน
การบริหารจัดการ ทั้งดานกระบวนการคิด การมีสวนรวม และกระบวนการภายใน เพื่อเตรียมความพรอมรับกับสถานการณตางๆ ไดทันทวงที นอกจากนั้น
ป 2551 ยังเปนปเริ่มตนของการกำหนดวิสัยทัศนในระยะที่ 3 ของบริษัทที่มีเปาหมายมุงเนนในเชิงคุณภาพมากขึ้น ซึ่งนอกจากจะมุงพัฒนาผลิตภัณฑที่มี
คุณภาพอยางตอเนื่องแลว ยังใหความสำคัญกับการพัฒนาแบรนด “ลุมพินี” โดยไดศึกษาความเปนตัวตนของบริษัท และมีแผนที่จะสื่อสารแบรนดออกสู
ภายนอกในป 2552 ซึ่งทั้งหมดนี้สะทอนใหเห็นถึงความมุงมั่นที่จะตอบสนองตอความตองการที่อยูอาศัยที่มีคุณภาพ อันเปนหนึ่งในปจจัยพื้นฐานที่สำคัญยิ่ง
สำหรับทุกคน พรอมไปกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดลอมภายใตกลยุทธ “ชุมชนนาอยู” เพื่อใหทุกครอบครัวในสังคม “ลุมพินี” เกิดความสุขที่แทจริง
ของการอยูอาศัย (Real Pleasure of Living)
บริษัทยังคำนึงถึงความรอบคอบในการดำเนินธุรกิจภายใตหลักธรรมาภิบาล และหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่มุงบริหารงานดวยความโปรงใส
และดูแลใหผลประกอบการเติบโตในอัตราที่เหมาะสม รวมทั้งการกำหนดผลกำไรจากการดำเนินงานที่สอดคลองกับสถานการณในแตละชวงเวลา การปรับแผน
ดำเนินงานดังกลาวสงผลใหบริษัทมีกำไรสุทธิเติบโตขึ้นจากป 2550 ประมาณรอยละ 30 ทั้งยังครองสวนแบงทางการตลาดถึงรอยละ 30 ซึ่งถือเปนอันดับหนึ่ง
ในกลุมบริษัทผูพัฒนาโครงการประเภทอาคารชุดพักอาศัย และสามารถจายเงินปนผลใหแกผูถือหุนในอัตราที่เติบโตจากปกอนหนาประมาณรอยละ 30 อันเปน
การรักษาไวซึ่งผลประโยชนของผูมีสวนไดเสียทุกกลุม รางวัลแหงความภาคภูมิใจคือการที่บริษัทไดรับการจัดอันดับจากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ
บริษัทไทย ใหเปนบริษัทที่มีการกำกับดูแลกิจการในระดับ 4 ตราสัญลักษณติดตอกันเปนปที่ 5 ซึ่งดำเนินงานตามหลักธรรมาภิบาลที่มุงเนนความโปรงใส
การเปดเผยขอมูลตอนักลงทุน ผูถือหุน และบุคคลทั่วไป การไดรับรางวัลผูประกอบการธุรกิจอสังหาริมทรัพยที่ดีจากสำนักงานคณะกรรมการคุมครอง
ผูบริโภค สำนักนายกรัฐมนตรี (สคบ.) โดยมีเกณฑในการตัดสินจากสถานะของบริษัท ผลงานที่ผานมา มาตรฐานการออกแบบและกอสราง ความรับผิดชอบ
ตอผูบริโภคและสังคม และความพึงพอใจของผูบริโภค รวมถึงการไดรับคัดเลือกใหเปน 1 ใน “200 Best Under A Billion” จากนิตยสาร Forbes Asia
ฉบับเดือนกันยายน 2551 ซึ่งทำการสำรวจบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก จำนวน 24,155 บริษัท ที่มีรายไดต่ำกวา 1,000
ลานเหรียญสหรัฐ และมีผลการดำเนินงานโดดเดนอยางตอเนื่อง แตสิ่งที่นำมาซึ่งความภูมิใจสูงสุด คือการที่บริษัทไดรับความเชื่อมั่นจากผูที่อยูอาศัยในสังคม
“ลุมพินี” และบอกตอประสบการณที่ดีไปยังลูกคารายอื่นๆ อันสอดคลองกับวัตถุประสงคของบริษัทที่มุงหวังให “ลุมพินี” เปนแบรนดคุณภาพของคนไทยที่อยู
ในใจของลูกคาตลอดไป
9รายงานประจำป 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน)
สำหรับในป 2552 แมวาภาคการสงออกและการทองเที่ยวจะหดตัว เปนผลใหแนวโนมการวางงานเพิ่มสูงขึ้น รวมทั้งยังคงมีปจจัยเสี่ยงในภาคการเงิน
ทำใหธุรกิจอสังหาริมทรัพยโดยรวมอยูในภาวะชะลอตัวเนื่องจากหลายบริษัทตางรอดูทิศทางสถานการณทางการเมืองและเศรษฐกิจที่ชัดเจนขึ้นกอนการพัฒนา
โครงการใหม แตบริษัทเชื่อวาความตองการที่อยูอาศัยในเมืองยังคงมีอยูอยางตอเนื่อง พิสูจนไดจากการที่บริษัทเปดตัวโครงการลุมพินี วิลล บางแค
เมื่อปลายปที่แลว และไดรับการตอบรับอยางดียิ่งจนทำใหโครงการดังกลาวขายหมดภายในเวลาเพียง 3 ชั่วโมง ป 2552 นี้ จึงนาจะเปนโอกาสของบริษัท
ทามกลางวิกฤติ ดวยความแข็งแกรงและการเตรียมความพรอมในการบริหารสภาพคลองทางการเงิน การบริหารสินคาคงคลัง การปรับแผนงานกอสรางให
เร็วขึ้นกวากำหนดในทุกโครงการ และการใชหลัก “วิศวกรรมเชิงคุณภาพ” (Value Engineering) ที่มุงเพิ่มมูลคาใหกับสินคาและบริการ ควบคูไปกับการ
เพิ่มความเขมขนในการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารชุมชน ประกอบกับนโยบายภาครัฐที่มุงกระตุนเศรษฐกิจในป 2552 โดยใชภาคอสังหาริมทรัพยเปนตัว
ขับเคลื่อน ดวยมาตรการทั้งดานการเงิน การคลัง และมาตรการดานภาษี จากปจจัยดังกลาวทั้งหมด นาจะเปนสวนผลักดันใหบริษัทเติบโตตอไปไดประมาณ
รอยละ 10 - 15 ซึ่งในป 2552 บริษัทมีแผนพัฒนาโครงการใหมจำนวน 6-8 โครงการ มูลคารวมประมาณ 12,000 ลานบาท โดยจะเปนโครงการในลักษณะ
โครงการตอเนื่องในทำเลที่บริษัทประสบความสำเร็จมากอน และมีฐานลูกคาที่มีความเชื่อมั่น และไววางใจตอแบรนดของบริษัทอยางเหนียวแนน และยังคง
พัฒนาโครงการนำรองในทำเลใหมโดยใชโครงการลุมพินี วิลล บางแค เปนตนแบบ
ป 2552 นี้ เปนปที่บริษัทดำเนินงานครบรอบ 20 ป เปน 20 ปที่บริษัทไดสั่งสมประสบการณ ความเชี่ยวชาญ และความซื่อสัตยในการดำเนิน
ธุรกิจตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี ภายใตหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อใหบริษัทเปนองคกรคุณภาพที่สรางสรรคที่อยูอาศัยที่มีคุณภาพควบคูไปกับ
สังคมและสิ่งแวดลอมคุณภาพ โดยรักษาไวซึ่งประโยชนของผูมีสวนไดเสียทุกกลุม ซึ่งเบื้องหลังความสำเร็จของบริษัทตลอดระยะเวลาที่ผานมาเกิดจากความ
เชื่อมั่นและการสนับสนุนดวยดีเสมอมา ผมจึงใครขอกลาวคำขอบคุณอยางสูงตอทานผูถือหุน ลูกคา สถาบันการเงิน พันธมิตร สื่อมวลชน ตลอดจน
หนวยงานภาครัฐและเอกชน รวมถึงผูบริหารและพนักงานทุกทาน ที่ทุมเทแรงกายแรงใจ เพื่อสรางสรรคผลิตภัณฑที่ตรงใจลูกคา นำไปสูความพึงพอใจ
สูงสุดทั้งในปจจุบันและอนาคต
ปกรณ ทวีสิน
ประธานกรรมการ
แนวทางการบริหารจัดการดานสิ่งแวดลอมและสังคม
รายงานประจำป 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน)10
ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพยเปนธุรกิจที่มีผลกระทบโดยตรงตอสิ่งแวดลอมและสังคมอยางสูง จะเห็นไดวาอสังหาริมทรัพยที่สงมอบจากผูประกอบการ
ที่ไมมีคุณภาพ จะสรางปญหาใหกับสิ่งแวดลอมและสังคมเปนอยางมาก ปรัชญาการดำเนินธุรกิจของคณะกรรมการบริษัทจึงไดกำหนดแนวทางในการสราง
ความสมดุลของการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและคุณภาพในทุกมิติของการดำเนินงาน ไมวาจะเปนมิติดานการเงิน ดานลูกคา ดานผูมีสวนไดสวนเสีย
ดานพนักงาน รวมทั้งมิติของการบริหารจัดการดานสิ่งแวดลอม ซึ่งไดถูกกำหนดในแผนภูมิกลยุทธขององคกรมาโดยตลอด รวมทั้งไดกำหนดแนวทางและ
เปาหมายภายใตหัวขอความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอมและสังคม (Corporate Environment and Social Responsibility : CESR) ถึงแมวาความรับผิดชอบ
ตอสังคม (CSR) โดยปกติจะรวมถึงความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอมเขาไปดวย แตดวยจิตสำนึกของคณะกรรมการบริษัทที่ตองการเพิ่มความสำคัญในการ
ลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมมากขึ้น จึงกำหนดให CESR เปนกลยุทธที่สำคัญขององคกร
แนวทางการดำเนินงานดานสิ่งแวดลอมและสังคมของบริษัท จึงไดกำหนดหลักการไว 3 ขอ ไดแก ความรับผิดชอบ (Responsibility) การแบงปน
(Sharing) และการสรางเครือขายความมีสวนรวม (Networking) โดยจิตสำนึกความรับผิดชอบนั้นเปนการเริ่มตนจากตนเอง ซึ่งหมายถึงภายในองคกรและ
ภายในชุมชนที่พัฒนา แลวจึงแบงปนสูสังคมภายนอก โดยตองอาศัยความมีสวนรวมจากผูมีสวนไดเสียทุกกลุม เชน พนักงาน ลูกคา คูคา ฯลฯ ดังคำที่วา
“สิ่งแวดลอมและสังคมที่ดี ตองเริ่มตนจากตัวเรากอน เมื่อเราพรอมจึงขยายออกไปสูชุมชนที่เราพัฒนาและบริหาร และสุดทายจึงขยายไปสูชุมชนรอบขาง”
แนวคิดดังกลาวจึงสงผลไปสูแนวทางการปฏิบัติของทุกสวนในองคกร และเปนที่มาของนโยบายการบริหารจัดการชุมชนที่บริษัทมุงพัฒนาใหทุก
โครงการเปน “ชุมชนนาอยู” ของสังคม และเปนตนแบบของผูประกอบการดานธุรกิจอสังหาริมทรัพยในดานความรับผิดชอบตอผลกระทบอันเกิดจากอสังหาริมทรัพย
ที่ตนเองไดพัฒนาขึ้น
แนวทางการดำเนินงานดานความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอม แบงออกเปน 3 ระยะ คือ
ระยะที่ 1 เริ่มพัฒนาโครงการ ดวยแนวคิดดานความรับผิดชอบดังกลาว จึงสงผลตอเนื่องมาในทุกขั้นตอนการดำเนินงาน นับตั้งแตการเลือกทำเลในการพัฒนา
โครงการที่ยังขาดแคลนที่พักอาศัยที่มีคุณภาพ ใกลสถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวกตางๆ การออกแบบและการกำหนดราคาเพื่อตอบสนองความ
ตองการที่อยูอาศัยที่สามารถเปนเจาของไดงายขึ้น การเพิ่มเติมสิ่งอำนวยความสะดวกที่เปนความจำเปนพื้นฐานเขาไปภายในโครงการ สงผลใหการ
ดำเนินชีวิตสมบูรณแบบมากขึ้น ชวยลดการเดินทาง การใชพลังงาน และแกปญหาการจราจร ทั้งยังมีเวลาใชชีวิตกับครอบครัวมากขึ้นและกอใหเกิด
จุดเริ่มตนของการดำเนินชีวิตที่ดีในทุกดาน เชน การพัฒนาโครงการภายใตแบรนด “ลุมพินี คอนโดทาวน” ซึ่งมีจุดมุงหมายสำคัญในการสรางที่อยูอาศัย
หลังแรกใหกับคนในสังคมเมือง โดยกำหนดราคาขายเริ่มตนเพียง 7 แสนบาทเศษ ภายใตการบริหารชุมชนที่มุงเนนการสรางคุณภาพชีวิตที่ดีใหแก
ผูอยูอาศัย โดยบริษัทมีแผนที่จะพัฒนาโครงการในลักษณะนี้ในพื้นที่ที่มีความตองการที่อยูอาศัยอยางตอเนื่อง นอกจากนี้ การดำเนินงานในสวนที่
เกี่ยวของกับสิ่งแวดลอม ยังใหความสำคัญกับการเลือกใชวัสดุทดแทนใหมากที่สุด เพื่อหลีกเลี่ยงการใชวัสดุจากธรรมชาติซึ่งเปนการทำลายสภาพแวดลอม
โดยรวม ขนาดของชิ้นสวนตางๆ ถูกออกแบบใหสอดคลองกับมาตรฐานอุตสาหกรรมเพื่อลดเศษวัสดุที่กลับมาเปนขยะเหลือทิ้งคืนสูสภาพแวดลอมให
นอยที่สุด รวมถึงการออกแบบที่คำนึงถึงการประหยัดพลังงานและงายตอการบำรุงรักษาอาคารในระยะยาว โดยบริษัทจะใหความสำคัญกับการคัดเลือก
บริษัทพันธมิตรที่มีนโยบายที่ชัดเจนดานสิ่งแวดลอมเขามามีสวนรวมในการพัฒนาโครงการ
ระยะที่ 2 ระหวางพัฒนาโครงการ บริษัทไดใหความสำคัญในการปฏิบัติตามแนวทางลดผลกระทบในรายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมอยางเครงครัด เริ่มตั้งแตการ
ดูแลผลกระทบตออาคารหรือชุมชนขางเคียง ทั้งทางดานเสียง ฝุนละออง การจราจร โดยการปองกันในทุกรูปแบบ การดูแลความสะอาดของลอรถ
ขนสงวัสดุอุปกรณกอสรางขณะออกจากหนวยงานกอสราง เพื่อลดความเสียหายของผิวจราจร การควบคุมการกอสรางใหเปนไปตามที่ออกแบบและ
เปนไปตามเวลาที่กำหนด การรายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและลดผลกระทบจากการกอสราง โดยกิจกรรมทั้งหมดนี้ บริษัทจัดใหมี
เจาหนาที่ระดับสูงของบริษัทคอยดูแลและติดตามอยางใกลชิด เพื่อใหเกิดประสิทธิผลสูงสุด และมีการควบคุมดูแลใหผูรับเหมากอสรางปฏิบัติตาม
มาตรการปองกันและลดผลกระทบจากการกอสรางตามที่ระบุในรายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมและที่แจงกับชุมชนขางเคียง
ระยะที่ 3 หลังพัฒนาโครงการ ภายหลังการสงมอบโครงการและหองชุดใหกับลูกคาแลว บริษัทไดจัดตั้งฝายบริหารชุมชนขึ้น เพื่อทำหนาที่บริหารจัดการชุมชน
ใหมีมาตรฐานคุณภาพชีวิตที่เหมาะสมตามแนวทาง “ชุมชนนาอยู” ซึ่งไมเพียงเปนการบำรุงดูแลรักษาใหอุปกรณและทรัพยสินตางๆ เกิดความพรอมและ
ความปลอดภัยในการใชงานเทานั้น แตยังใหความสำคัญกับการสรางสังคมที่ดี มีความอบอุน ปลอดภัย และใหความสำคัญกับสิ่งแวดลอมภายใน
โครงการอยางจริงจังและสม่ำเสมอ โดยการนำแนวคิด Green Clean Lean มาปรับใชเปนแนวทางในการประชาสัมพันธ พรอมรณรงคใหผูอยูอาศัย
ในชุมชนรวมดำเนินการอยางจริงจัง ตัวอยางเชน การรณรงคใหผูอยูอาศัยรวมคัดแยกขยะ เพื่อนำขยะบางสวนเขากระบวนการ Recycle หรือนำ
กลับมาใชใหม หรือการนำน้ำจากบอบำบัดกลับมารดน้ำตนไม การรณรงคใหใชถุงผาแทนถุงพลาสติก การลดการใชพลังงานไฟฟาในอาคารตาม
แนวทางการอนุรักษพลังงาน เปนตน ทั้งนี้ บริษัทยังไดใหความสำคัญกับการปรับปรุงสภาพอาคารและสิ่งแวดลอมของอาคารชุดพักอาศัยที่บริษัทพัฒนา
มามากกวา 10 ป ในรูปของการทาสีอาคาร การเพิ่มพื้นที่สีเขียว และการปรับปรุงสภาพแวดลอมที่เกี่ยวของกับคุณภาพชีวิตของผูอยูอาศัยในโครงการ
ตางๆ ไดแก อาคารลุมพินี ทาวเวอร ลุมพินี เซ็นเตอร แฮปปแลนด พี.เอส.ที. คอนโดวิลล และพี.เอส.ที. ซิตี้โฮม เปนตน
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551
รายงานประจำปี 2551

More Related Content

More from L.P.N. Development PCL.

ลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์วิว
ลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์วิวลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์วิว
ลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์วิว
L.P.N. Development PCL.
 
Lumpini Mag
Lumpini MagLumpini Mag
Lumpini Place Bangna KM.3
Lumpini Place Bangna KM.3Lumpini Place Bangna KM.3
Lumpini Place Bangna KM.3
L.P.N. Development PCL.
 
SD Focus ฉบับ 4 ปี 2559
SD Focus ฉบับ 4 ปี 2559SD Focus ฉบับ 4 ปี 2559
SD Focus ฉบับ 4 ปี 2559
L.P.N. Development PCL.
 
รายงานประจำปี 2558
รายงานประจำปี 2558รายงานประจำปี 2558
รายงานประจำปี 2558
L.P.N. Development PCL.
 
Lumpini Suite Phetcheburi-Makkasan
Lumpini Suite Phetcheburi-MakkasanLumpini Suite Phetcheburi-Makkasan
Lumpini Suite Phetcheburi-Makkasan
L.P.N. Development PCL.
 
Issue 77 / OCT - DEC 2014
Issue 77 / OCT - DEC 2014Issue 77 / OCT - DEC 2014
Issue 77 / OCT - DEC 2014
L.P.N. Development PCL.
 
Issue 75 / MAY - JULY 2014
Issue 75 / MAY - JULY 2014Issue 75 / MAY - JULY 2014
Issue 75 / MAY - JULY 2014
L.P.N. Development PCL.
 
LPN Newsletter Q2 / 2013
LPN Newsletter Q2 / 2013LPN Newsletter Q2 / 2013
LPN Newsletter Q2 / 2013
L.P.N. Development PCL.
 
Issue 68 / Nov - DEC 2012
Issue 68 / Nov - DEC 2012Issue 68 / Nov - DEC 2012
Issue 68 / Nov - DEC 2012
L.P.N. Development PCL.
 
City life 6
City life 6City life 6
Issue 73 / Nov - DEC 2013
Issue 73 / Nov - DEC 2013Issue 73 / Nov - DEC 2013
Issue 73 / Nov - DEC 2013
L.P.N. Development PCL.
 
Issue 72 / JUL - AUG 2013
Issue 72 / JUL - AUG 2013Issue 72 / JUL - AUG 2013
Issue 72 / JUL - AUG 2013
L.P.N. Development PCL.
 
City Life 7
City Life 7City Life 7
Issue 70 / MAR - APR 2013
Issue 70 / MAR - APR 2013Issue 70 / MAR - APR 2013
Issue 70 / MAR - APR 2013
L.P.N. Development PCL.
 
Annual Report 2015
Annual Report 2015Annual Report 2015
Annual Report 2015
L.P.N. Development PCL.
 
Annual Report 2014
Annual Report 2014Annual Report 2014
Annual Report 2014
L.P.N. Development PCL.
 
Annual Report 2013
Annual Report 2013Annual Report 2013
Annual Report 2013
L.P.N. Development PCL.
 
Annual Report 2012
Annual Report 2012Annual Report 2012
Annual Report 2012
L.P.N. Development PCL.
 
Annual Report 2011
Annual Report 2011Annual Report 2011
Annual Report 2011
L.P.N. Development PCL.
 

More from L.P.N. Development PCL. (20)

ลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์วิว
ลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์วิวลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์วิว
ลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์วิว
 
Lumpini Mag
Lumpini MagLumpini Mag
Lumpini Mag
 
Lumpini Place Bangna KM.3
Lumpini Place Bangna KM.3Lumpini Place Bangna KM.3
Lumpini Place Bangna KM.3
 
SD Focus ฉบับ 4 ปี 2559
SD Focus ฉบับ 4 ปี 2559SD Focus ฉบับ 4 ปี 2559
SD Focus ฉบับ 4 ปี 2559
 
รายงานประจำปี 2558
รายงานประจำปี 2558รายงานประจำปี 2558
รายงานประจำปี 2558
 
Lumpini Suite Phetcheburi-Makkasan
Lumpini Suite Phetcheburi-MakkasanLumpini Suite Phetcheburi-Makkasan
Lumpini Suite Phetcheburi-Makkasan
 
Issue 77 / OCT - DEC 2014
Issue 77 / OCT - DEC 2014Issue 77 / OCT - DEC 2014
Issue 77 / OCT - DEC 2014
 
Issue 75 / MAY - JULY 2014
Issue 75 / MAY - JULY 2014Issue 75 / MAY - JULY 2014
Issue 75 / MAY - JULY 2014
 
LPN Newsletter Q2 / 2013
LPN Newsletter Q2 / 2013LPN Newsletter Q2 / 2013
LPN Newsletter Q2 / 2013
 
Issue 68 / Nov - DEC 2012
Issue 68 / Nov - DEC 2012Issue 68 / Nov - DEC 2012
Issue 68 / Nov - DEC 2012
 
City life 6
City life 6City life 6
City life 6
 
Issue 73 / Nov - DEC 2013
Issue 73 / Nov - DEC 2013Issue 73 / Nov - DEC 2013
Issue 73 / Nov - DEC 2013
 
Issue 72 / JUL - AUG 2013
Issue 72 / JUL - AUG 2013Issue 72 / JUL - AUG 2013
Issue 72 / JUL - AUG 2013
 
City Life 7
City Life 7City Life 7
City Life 7
 
Issue 70 / MAR - APR 2013
Issue 70 / MAR - APR 2013Issue 70 / MAR - APR 2013
Issue 70 / MAR - APR 2013
 
Annual Report 2015
Annual Report 2015Annual Report 2015
Annual Report 2015
 
Annual Report 2014
Annual Report 2014Annual Report 2014
Annual Report 2014
 
Annual Report 2013
Annual Report 2013Annual Report 2013
Annual Report 2013
 
Annual Report 2012
Annual Report 2012Annual Report 2012
Annual Report 2012
 
Annual Report 2011
Annual Report 2011Annual Report 2011
Annual Report 2011
 

รายงานประจำปี 2551

  • 1. บนเส นทางแห งการเติ บโตอย างยั่ งยื นป รายงานประจำป 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน)
  • 2.
  • 3. ระยะแรก ป 2532 - 2541 1. ลุมพินี ทาวเวอร Lumpini Tower 2. แอล.พี.เอ็น. ทาวเวอร L.P.N. Tower 3. ลุมพินี เพลส Lumpini Place 4. แอล.พี.เอ็น. มินิ ออฟฟศ L.P.N. Mini Office 5. พี.เอส.ที. คอนโดวิลล ทาวเวอร 1,2 P.S.T. Condoville Tower 1, 2 6. พี.เอส.ที. มินิ ออฟฟศ P.S.T. Mini Office 7. สี่พระยา ริเวอรวิว Siphraya River View 8. พี.เอส.ที. ซิตี้โฮม P.S.T. City Home 9. บานลุมพินี บางบัวทอง Baan Lumpini Bang Bua Thong 10. บานลุมพินี 2 บางบัวทอง Baan Lumpini 2 Bang Bua Thong ระยะที่สอง ป 2542 - 2546 1. ลุมพินี เพลส สาทร Lumpini Place Sathorn 2. ลุมพินี เซ็นเตอร แฮปปแลนด Lumpini Center Happyland 3. ลุมพินี เซ็นเตอร ลาดพราว 111 Lumpini Center Latphrao 111 4. ลุมพินี เพลส สวนพลู-สาทร Lumpini Place Suanplu-Sathorn 5. ลุมพินี เพลส พระราม 4-สาทร Lumpini Place Rama 4-Sathorn 6. ลุมพินี เรสซิเดนซ สาทร Lumpini Residence Sathorn 7. ลุมพินี เพลส นราธิวาส 24 Lumpini Place Narathiwat 24 8. ลุมพินี เพลส พระราม 3-เจริญกรุง Lumpini Place Rama 3-Charoenkrung 9. ลุมพินี วิลล พระแมมารี-สาทร Lumpini Ville Mary-Sathorn 10. ลุมพินี เพลส นราธิวาสราชนครินทร Lumpini Place Narathiwatratchanakharin 11. ลุมพินี สวีท สุขุมวิท 41 Lumpini Suite Sukhumvit 41 ระยะที่สาม ป 2547 1. ลุมพินี เพลส พระราม 3-ริเวอรวิว Lumpini Place Rama 3-Riverview 2. ลุมพินี เซ็นเตอร สุขุมวิท 77 Lumpini Center Sukhumvit 77 3. ลุมพินี วิลล พหล-สุทธิสาร Lumpini Ville Phahon-Sutthisarn 4. ลุมพินี เซ็นเตอร นวมินทร Lumpini Center Nawamin 5. ลุมพินี วิลล สุขุมวิท 77 Lumpini Ville Sukhumvit 77 6. ลุมพินี เพลส ปนเกลา Lumpini Place Pinklao ระยะที่สี่ ป 2548 - 2549 1. ลุมพินี วิลล ศูนยวัฒนธรรม Lumpini Ville Cultural Center 2. ลุมพินี เพลส นราธิวาส-เจาพระยา Lumpini Place Narathiwat-Chaophraya 3. ลุมพินี เพลส พหล-สะพานควาย Lumpini Place Phahon-Saphankhwai 4. ลุมพินี เพลส รัชดา-ทาพระ Lumpini Place Ratchada-Thapra 5. ลุมพินี เพลส ปนเกลา 2 Lumpini Place Pinklao 2 6. ลุมพินี วิลล รามคำแหง 44 Lumpini Ville Ramkhamhaeng 44 ระยะที่ 5 ป 2550 - ปจจุบัน 1. ลุมพินี คอนโดทาวน บดินทรเดชา-รามคำแหง Lumpini CondoTown Bodindecha-Ramkhamhaeng 2. ลุมพินี คอนโดทาวน รามอินทรา-หลักสี่ Lumpini CondoTown Ramindra-Laksi 3. ลุมพินี วิลล รามอินทรา-หลักสี่ Lumpini Ville Ramindra-Laksi 4. ลุมพินี วิลล ประชาชื่น-พงษเพชร Lumpini Ville Prachachun-PhongPhet 5. ลุมพินี สวีท ปนเกลา Lumpini Suite Pinklao 6. ลุมพินี คอนโดทาวน รัตนาธิเบศร Lumpini CondoTown Ratanathibet 7. ลุมพินี วิลล รามคำแหง 26 Lumpini Ville Ramkhamhaeng 26 8. ลุมพินี พระราม 8 Lumpini Rama 8 9. ลุมพินี เพลส พระราม 9-รัชดา Lumpini Place Rama 9-Ratchada 10. ลุมพินี วิลล บางแค Lumpini Ville Bangkhae 11. ลุมพินี เพลส รามอินทรา-หลักสี่ Lumpini Place Ramindra-Laksi โครงการรวมทุน ในบริษัท แกรนด ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท จำกัด 1. ลุมพินี เพลส วอเตอรคลิฟ Lumpini Place WaterCliff 2. ลุมพินี ทาวนโฮม รัชดา-พระราม 3 Lumpini Townhome Ratchada-Rama 3 3. ลุมพินี สวีท รัชดา-พระราม 3 Lumpini Suite Ratchada-Rama 3 4. แกรนด เฮอริเทจ ทองหลอ Grand Heritage Thonglor 5. แกรนด พารควิว อโศก Grand Park View Asoke 6. พารควิว วิภาวดี Parkview Viphavadi จากประสบการณเกือบ 20 ปแหงการเติบโตอยางยั่งยืนของ LPN กับการพัฒนาอาคารชุดพักอาศัยรูปแบบใหมที่สมบูรณและครบวงจร สูการเปนตนแบบของคอนโดมิเนียมในเมือง ที่พรอมสงมอบสิ่งดีๆ ไปยังลูกคา บนเสนทางที่เปยมไปดวยรอยยิ้มและความอุนใจแหงการพักอาศัย 2 ทศวรรษ แหงการเปลี่ยนแปลง พัฒนาอยางตอเนื่อง เติบโตอยางยั่งยืน
  • 4. ประวัติบริษัท 1รายงานประจำป 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) 2532 จุดเริ่มตนของธุรกิจ 2533-2536 ปรับโครงสรางการดำเนินธุรกิจ 2537 เขาสูองคกรมหาชน กอตั้ง ลุมพินี พรอพเพอรตี้ มาเนจเมนท เพื่อบริหารคุณภาพชีวิตผูอยูอาศัย จำนวนสมาชิกเพิ่มขึ้นกวา 1 เทา เปน 2,000ครอบครัว บุกเบิกถนนพระราม 4 ใหเปนแหลงธุรกิจแหงใหม ดวยกลยุทธนานน้ำสีคราม (Blue Ocean Strategy) บริษัทถือกำเนิดขึ้นจากบุคคลหลากหลายสาขาอาชีพที่ มีความมุงมั่นรวมกันในการพัฒนาอสังหาริมทรัพยที่มี คุณภาพใหแกสังคมไทย โดยกอตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2532 ดวยทุนจดทะเบียน 50 ลานบาท และเริ่มตนพัฒนาโครงการ “ลุมพินี ทาวเวอร” อาคารชุดสำนักงาน สูง 37 ชั้น แหงแรก บนถนนพระราม 4 ซึ่งเปนที่ตั้งของสำนักงานใหญ จนถึงปจจุบัน บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) (LPN) ผูพัฒนาอาคารชุดพักอาศัยที่มีประวัติยาวนานเกือบ 2 ทศวรรษ ซึ่งตลอดเวลาที่ผานมานั้น บริษัทมีพัฒนาการที่สำคัญอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งวิธีคิดและกระบวนการบริหารจัดการภายใน ที่นำมาซึ่งวิสัยทัศนที่แตกตางกันในแตละชวงเวลา วันเวลาที่ผานไป แนวความคิดในการพัฒนาโครงการยิ่งลึกซึ้งตามประสบการณและเจตนารมณ ในการพัฒนาที่พักอาศัยที่มีคุณภาพใหกับผูอยูอาศัย นอกจากการพัฒนาโครงการตางๆ แลว ระยะแรก ของการดำเนินงาน ยังเปนชวงเวลาของการขยาย การลงทุนและการพัฒนาการใหบริการภายใตการ ดำเนินงานของบริษัทและบริษัทในเครือ โดยเมื่อป 2533 บริษัทไดลงทุนในบริษัท พรสันติ จำกัด ในสัดสวนการลงทุนรอยละ 20.00 เพื่อพัฒนาโครงการ ทั้งที่เปนอาคารชุดพักอาศัยและลักษณะอื่นๆ รวมทั้งได จัดตั้งบริษัท ลุมพินี พรอพเพอรตี้ มาเนจเมนท จำกัด ขึ้น เมื่อป 2535 เพื่อบริการหลังการขายโดยกำหนด ทิศทางในการใหบริการ บริหารจัดการอาคารชุด แกทุกโครงการที่บริษัทและบริษัทยอยไดพัฒนาขึ้น นอกจากนั้นยังไดเพิ่มสัดสวนการลงทุนในบริษัท พรสันติ จำกัด เปนรอยละ 99.99 ของทุนชำระแลว 200 ลานบาท ภายในระยะเวลา 5 ป ของการดำเนินงาน บริษัทไดจดทะเบียนแปรสภาพเปนบริษัทมหาชน เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2537 ทะเบียนเลขที่ บมจ.477 โดยตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยไดรับบริษัท เขาเปนบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ใชชื่อหลักทรัพยวา LPN และไดออกหุนสามัญ เพิ่มทุนจำนวน 9.2 ลานหุน เพื่อจัดสรรใหแก ประชาชนทั่วไป โดยมีมูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท และราคาเสนอขายตอหุน 64 บาท ซึ่งตอมาไดเพิ่มทุน เปน 460 ลานบาท เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2537
  • 5. รายงานประจำป 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน)2 2540-2541 เผชิญวิกฤติเศรษฐกิจ 2542 ปรับโครงสรางหนี้ไดสำเร็จ พรอมดำเนินธุรกิจ 2543 เพิ่มความชัดเจนของการเปน องคกรธรรมาภิบาล จัดแคมเปญการตลาดตอเนื่อง กระตุนตลาดทามกลางภาวะวิกฤติ พลิกวิกฤติใหเปนโอกาส กวา 400,000 ตร.ม. ที่อยูภายใตการบริหารจัดการ มั่นใจในกลุมเปาหมายและกลยุทธธุรกิจ เมื่อครั้งที่ประเทศไทยเกิดวิกฤติเศรษฐกิจ ครั้งใหญ จากการประกาศลอยตัว คาเงินบาท และการปดตัวลงของ 56 สถาบันการเงิน ซึ่งสงผลกระทบเปน วงกวางทั้งระบบเศรษฐกิจ ในสวนของ บริษัทก็ไดรับผลกระทบรุนแรงนี้เชนกัน ทำใหมีภาระหนี้กับสถาบันการเงินกวา 3 พันลานบาท เปนเหตุใหตองปรับ โครงสรางองคกร ปรับเปลี่ยนกลยุทธ และกระบวนการทำงานใหมทั้งหมด พรอมพัฒนาประสิทธิภาพบุคลากรให สอดรับกับภาวะวิกฤติเศรษฐกิจซบเซา เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ 2543 ที่ประชุม คณะกรรมการบริษัท ไดพิจารณาแตงตั้ง คณะกรรมการตรวจสอบ รวมทั้ง ไดกำหนดขอบเขต อำนาจหนาที่และ ความรับผิดชอบ เพื่อใหเปนไปตาม หลักเกณฑในการกำกับดูแลกิจการของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ซึ่งคณะกรรมการบริษัทไดใหความ สำคัญอยางยิ่งกับการดำเนินงานตาม หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีดังกลาว เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2542 บริษัท ไดแตงตั้ง บริษัท คาเธย แอสเซท แมเนจเมนท จำกัด เปนที่ปรึกษาในการ ปรับปรุงโครงสรางหนี้และการเพิ่มทุน จดทะเบียนของบริษัท โดยรวมกันกำหนด แนวทางในการเจรจาปรับปรุงโครงสราง หนี้กับเจาหนี้ทุกราย รวมถึงการวางแผน งานเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัท และ ประสบความสำเร็จในการปรับปรุงโครงสราง หนี้กับเจาหนี้สถาบันการเงินทั้งจำนวน คิดเปนมูลหนี้ 3,305.93 ลานบาท (อันเปน ผลมาจากความเชื่อมั่นที่สถาบันการเงิน มีตอบริษัทและสงผลตอเนื่องในการให การสนับสนุนบริษัทมาจนถึงบัจจุบัน) นอกจากนี้ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ไดจัดใหมีการประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2542 เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2542 เพื่อพิจารณาเรื่องการเพิ่มทุนจดทะเบียน ของบริษัทจากเดิม 460,000,000.00 บาท (สี่รอยหกสิบลานบาทถวน) เปน 3,983,000,000.00 บาท (สามพันเการอย แปดสิบสามลานบาทถวน) โดยการออก หุนใหมเปนหุนสามัญ เพื่อการเพิ่มทุน จำนวน 352,300,000 หุน (สามรอยหาสิบ สองลานสามแสนหุน) มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท รวมจำนวน 3,523,000,000.00 บาท (สามพันหารอยยี่สิบสามลานบาทถวน) 2544 บริษัทผูสรางตำนาน อาคารชุดพักอาศัยใจกลางเมือง ทามกลางภาวะเศรษฐกิจซบเซาซึ่งผูประกอบการตางก็ชะลอการ พัฒนาโครงการอาคารชุดพักอาศัย บริษัทไดเปลี่ยนวิกฤติใหเปน โอกาสดวยการศึกษาความตองการพื้นฐานดานการอยูอาศัย ของลูกคาอยูตลอดเวลา และจากการปรับเปลี่ยนทั้งวิธีคิดและ กระบวนการบริหารจัดการ จึงเปนที่มาของกลยุทธการพัฒนา โครงการรูปแบบใหม คืออาคารชุดพักอาศัยในใจกลางเมืองที่มี ราคาลานตนๆ ใกลแนวรถไฟฟา โดยไดเปดตัว “โครงการลุมพินี เพลส สาทร” ริมถนนนราธิวาสราชนครินทร อาคารชุดพักอาศัย มูลคา 750 ลานบาท ซึ่งถือเปนจุดกำเนิดของ “ซิตี้คอนโด” ที่เปน ตนแบบการพัฒนาโครงการของบริษัทและผูประกอบการอื่นๆ ในระยะตอมา นอกจากนี้ ยังเปดตัวโครงการลุมพินี เซ็นเตอร แฮปปแลนด อาคารชุดพักอาศัยในยานบางกะป ดวยกลยุทธใน การพัฒนาโครงการใหลูกคาเขาอยูอาศัยไดภายในเวลา 1 ป ทำใหการกอสรางเสร็จสมบูรณ และสามารถรับรูรายไดทั้งหมด ในป 2545 นอกจากนี้ ยังไดจัดกิจกรรมสงเสริมการขายอยาง ตอเนื่อง และเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2544 บริษัทไดตกลงทำสัญญา รวมทุนกับบริษัท ยูนิเวนเจอร จำกัด (มหาชน) บริษัท แสนสิริ จำกัด (มหาชน) และบริษัท เยาววงศ จำกัด โดยไดจัดตั้งบริษัท แกรนด ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท จำกัด ขึ้นเพื่อพัฒนาโครงการ ลุมพินี เพลส วอเตอรคลิฟ ซึ่งเปนโครงการอาคารสรางคาง บนถนนรัชดาภิเษก-พระราม 3 ที่หยุดดำเนินการตั้งแตป 2540 เนื่องจากวิกฤติเศรษฐกิจ โดยบริษัทรวมทุนดังกลาวไดเขาฟนฟู และพัฒนาโครงการดังกลาวภายใตชื่อโครงการ “ลุมพินี เพลส วอเตอรคลิฟ” โดยบริษัทเปนผูรับผิดชอบดานการบริหารการ ตลาด การขาย และการกอสรางทั้งโครงการ และโครงการนี้เปน โครงการหนึ่งที่ประสบความสำเร็จอยางสูง ซึ่งเปนการแกไขปญหา ของผูประกอบการ ลูกคา สถาบันการเงิน และผูมีสวนไดเสีย ชวยลดอาคารสรางคางที่สงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมใน บริเวณนั้นอีกดวย
  • 6. 3รายงานประจำป 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) 2545 ปรับทุนจดทะเบียนเพื่อความมั่นคง ของฐานะทางการเงิน 2546-2547 ปรับกลยุทธไปสูความเปนมืออาชีพ ทุนจดทะเบียนเติบโตเปน 3เทา 2537 2545 เติบโตแบบกาวกระโดด ตามมติที่ประชุมใหญสามัญผูถือหุน ประจำป 2545 เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2545 มีมติใหลดทุนจดทะเบียน จากเดิม 3,983,000,000.00 บาท (สามพันเการอยแปดสิบ สามลานบาทถวน) ลงเหลือเพียง 460,000,000.00 บาท (สี่รอยหกสิบลานบาทถวน) และทำการเพิ่มทุนอีก 75,000,000.00 หุน (เจ็ดสิบหาลานหุน) คิดเปนจำนวนเงิน 750,000,000.00 บาท (เจ็ดรอยหาสิบลานบาทถวน) ซึ่งเมื่อรวมทุนจดทะเบียนชำระแลวเดิมจำนวน 460,000,000.00 บาท (สี่รอยหกสิบลานบาท) ทำใหบริษัทมีทุนจดทะเบียนในป 2545 ทั้งสิ้น 1,210,000,000.00 บาท (หนึ่งพันสองรอยสิบลานบาท) โดยเปนทุนที่ชำระแลว ณ วันที่ 29 มกราคม 2547 จำนวน 946,826,190.00 บาท (เการอยสี่สิบหกลาน แปดแสนสองหมื่นหกพันหนึ่งรอยเกาสิบบาทถวน) นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัทยังเสนอแตงตั้งนายปกรณ ทวีสิน ใหดำรงตำแหนงรองประธานกรรมการบริษัท ตอที่ประชุมผูถือหุนอีกดวย ในโอกาสที่บริษัทไดดำเนินธุรกิจครบ 15 ป ในป 2547 บริษัทจึงไดจัดกิจกรรมตางๆ ภายใตโครงการ “15 ปที่ผูกพัน” เพื่อขอบคุณลูกคา ผูมีอุปการคุณ ซึ่งใหการสนับสนุนตอ บริษัทเปนอยางดีตลอดมา เชน การใหบริการตรวจเช็คระบบ งานในหองชุดลูกคาโดยไมคิดคาบริการ การมอบอุปกรณ และเครื่องใชที่จำเปนแกนิติบุคคลอาคารชุดตางๆ เพื่อใชเปน ประโยชนสวนกลาง นอกจากนี้ ยังไดสนับสนุนในกิจกรรม สาธารณกุศลตางๆ เชน การสนับสนุนเงินทุนเพื่อใชในการ จัดสรางสนามเทนนิสเพื่อเยาวชน หรือการบริจาคเงินใหแก สภากาชาดไทย เพื่อจัดซื้ออุปกรณที่ใชในเครื่องกรองไต สำหรับชวยเหลือผูปวยโรคไตเรื้อรังระยะสุดทาย การจัด คอนเสิรตการกุศลรวมกับตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เพื่อมอบรายไดใหแกองคกรการกุศล การจัดกิจกรรม “15 ปที่ผูกพัน รวมแบงปนสูบานเด็กออนพญาไท” และการ มอบทุนการศึกษาใหแกบุตรพนักงาน เปนตน ปรับโครงสรางเงินทุนและกลยุทธองคกร ที่ประชุมใหญสามัญผูถือหุนประจำป 2547 ซึ่งจัดประชุม เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2547 มีมติใหเปลี่ยนแปลงมูลคา หุนที่ตราไวจากเดิมหุนละ 10.00 บาท เปนหุนละ 1.00 บาท ทำใหจำนวนหุนของบริษัทเพิ่มขึ้นจากเดิม 121,000,000 หุน (หนึ่งรอยยี่สิบเอ็ดลานหุน) เปน 1,210,000,000 หุน (หนึ่งพันสองรอยสิบลานหุน) นอกจากนี้ยังไดอนุมัติการเพิ่มทุนจดทะเบียนจำนวน 276,706,550 หุน (สองรอยเจ็ดสิบหกลานเจ็ดแสนหก พันหารอยหาสิบหุน) มูลคาที่ตราไวหุนละ 1.00 บาท (หนึ่งบาทถวน) รวมเปนทุนจดทะเบียนทั้งสิ้น 1,486,706,550.00 บาท (หนึ่งพันสี่รอยแปดสิบหกลาน เจ็ดแสนหกพันหารอยหาสิบบาทถวน) แบงเปนหุนสามัญ 1,486,706,550 หุน (หนึ่งพันสี่รอยแปดสิบหกลาน เจ็ดแสนหกพันหารอยหาสิบหุน) มูลคาหุนละ 1.00 บาท (หนึ่งบาทถวน) บริษัทไดเพิ่มสัดสวนการลงทุนในบริษัท แกรนด ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท จำกัด จากเดิมรอยละ 25 เปนรอยละ 33.3 เพื่อขยายชองทางการพัฒนาโครงการ การตลาดและ ผลิตภัณฑ รวมถึงการเพิ่มพันธมิตรทางธุรกิจ บริษัทไดลงนามในสัญญาใหเชาพื้นที่อาคารลุมพินี เรสซิเดนซ ที่พัฒนาเปนอาคารอาพารตเมนทใหเชาทั้ง อาคาร กับบริษัท รีเออิ (ประเทศไทย) จำกัด เพื่อขยายธุรกิจดานเซอรวิส อพารทเมนท (Serviced Apartment) และ การใหบริการเชาพักในลักษณะ ระยะยาว (Long Stay) แกลูกคาชาวญี่ปุน บริษัทไดรับเชิญจากตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ใหเขารวมงาน “Thailand Focus 2004” เพื่อนำเสนอ ผลประกอบการ นโยบาย ทิศทาง กลยุทธ และแผนการ ดำเนินธุรกิจของบริษัทตอผูบริหารระดับสูงของกองทุน ผูจัดการกองทุน และผูลงทุนสถาบันชั้นนำจากตางประเทศ
  • 7. รายงานประจำป 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน)4 2548-2549 ผูนำในธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพยดานอาคารชุดพักอาศัย และการปรับเปลี่ยนโครงสรางการบริหารจัดการ ไมเพียงเปนชวงเวลาของการเติบโตอยางมั่นคง หากแตหมายถึงยางกาวที่ไดรับการยอมรับ อยางกวางขวางในฐานะผูนำดานการพัฒนาอาคารชุดพักอาศัยทั้งจากนักวิเคราะห ลูกคา และสื่อมวลชน รวมทั้งยังไดรับรางวัลและการจัดอันดับจากหนวยงานและองคกรตางๆ ไดแก • บริษัทไดรับการจัดอันดับหลักทรัพยใหอยูในดัชนี SET Index 100 ของตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย โดยประกาศ ณ วันที่ 18 เมษายน 2548 • บริษัทไดรับการจัดอันดับใหเปน 1 ใน 93 บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยในป 2548 ที่ไดรับการประเมินผลการดำเนินงานดานการกำกับดูแลกิจการดีเดนในกลุม Top Quartile จากการประเมินโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) โดยบริษัทไดรับ การจัดอันดับในกลุม Top Quartile ติดตอกันเปนปที่ 3 • บริษัทไดรับการจัดอันดับจากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทยใหเปนบริษัทที่มี การกำกับดูแลกิจการในระดับ 4 ตราสัญลักษณ ซึ่งไดดำเนินงานตามหลักธรรมาภิบาล ที่มุงเนนการเปดเผยขอมูลตอนักลงทุน ผูถือหุน และบุคคลทั่วไปอยางโปรงใสมาโดยตลอด โดยมีคะแนนเฉลี่ย 80 - 89 จากคะแนนเต็ม 100 และปนี้นับเปนปที่ 4 ที่บริษัทไดรับ การสำรวจดานการกำกับดูแลกิจการที่ดีในอันดับดีมาก โดยมีบรรษัทภิบาลแหงชาติ รับรองในฐานะเปนบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย • บริษัทไดรับประกาศเกียรติคุณจากตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ในโอกาสที่บริษัทติด 1 ใน 3 ของบริษัทที่ไดรับการเสนอชื่อเขาชิงรางวัล SET AWARDS 2006 ประเภท Best Performance ในหมวด Property & Construction ซึ่งเปนผลมาจากการ ดำเนินงานที่มุงสรางการเติบโตที่ยั่งยืนและสรางผลตอบแทนที่ดีใหแกผูถือหุน โดยเกณฑ การตัดสินรางวัลพิจารณาจากฐานะการเงินและผลการดำเนินงานดีเดน รวมถึงการปฏิบัติ ตามขอกำหนดเรื่องการเปดเผยขอมูลของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และสภาพ คลองของหลักทรัพย ดานคณะกรรมการบริษัทนั้น ระหวางป 2548 - 2549 มีการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญดังนี้คือ • ศาสตราจารยโมรา บุณยผล ประธานกรรมการบริษัท ไดถึงแกกรรมเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2548 และจากการประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 4/2548 ไดมีมติ แตงตั้งนายปกรณ ทวีสิน ใหดำรงตำแหนง ประธานกรรมการบริษัท โดยมีผลตั้งแต วันที่ 11 สิงหาคม 2548 • บริษัทไดแตงตั้ง นายอมรศักดิ์ นพรัมภา ใหดำรงตำแหนงกรรมการตรวจสอบ โดยมี ผลตั้งแตวันที่ 22 ธันวาคม 2548 รวมถึงไดแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบชุดเดิมให ดำรงตำแหนงอีกวาระหนึ่ง ระหวางวันที่ 1 กุมภาพันธ 2549 ถึงวันที่ 30 เมษายน 2551 • บริษัทไดแตงตั้ง นายทิฆัมพร เปลงศรีสุข ใหดำรงตำแหนง ประธานเจาหนาที่บริหาร และประธานคณะกรรมการบริหาร แทนนายทวีชัย จิตตสรณชัย ที่ขอลาออก โดยมี ผลตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2549 • บริษัทแตงตั้ง ศาสตราจารยศิริ เกวลินสฤษดิ์ และ นายทวีชัย จิตตสรณชัย ใหดำรง ตำแหนงรองประธานกรรมการ โดยมีผลตั้งแตวันที่ 26 เมษายน 2549 • บริษัทไดแตงตั้งนายอมรศักดิ์ นพรัมภา และ นายวีระศักดิ์ วหาวิศาล ใหดำรงตำแหนง กรรมการตรวจสอบแทน ศาสตราจารยศิริ เกวลินสฤษดิ์ และ นายวุฒิพล สุริยาภิวัฒน ที่ขอลาออก โดยมีผลตั้งแตวันที่ 26 เมษายน 2549 เปนตนไป และมีกำหนดวาระ ถึงวันที่ 30 เมษายน 2551 คณะกรรมการตรวจสอบชุดใหม ประกอบดวย 1. นายอมรศักดิ์ นพรัมภา ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 2. นายเทพ รุงธนาภิรมย กรรมการตรวจสอบ 3. นายวีระศักดิ์ วหาวิศาล กรรมการตรวจสอบ • บริษัทไดแตงตั้ง นายโอภาส ศรีพยัคฆ ใหดำรงตำแหนง กรรมการบริหาร และ กรรมการผูจัดการ โดยมีผลตั้งแตวันที่ 26 เมษายน 2549 นอกจากนี้ การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญอีกดานคือ ที่ประชุมใหญสามัญผูถือหุนประจำป 2549 ซึ่งจัดประชุมเมื่อวันที่ 26 เมษายน 2549 มีมติอนุมัติลดทุนจดทะเบียนจาก 1,486,706,550 บาท (หนึ่งพันสี่รอยแปดสิบหกลานเจ็ดแสนหกพันหารอยหาสิบบาทถวน) เปน 1,475,698,768 บาท (หนึ่งพันสี่รอยเจ็ดสิบหาลานหกแสนเกาหมื่นแปดพันเจ็ดรอย หกสิบแปดบาทถวน) โดยตัดหุนสามัญสวนที่เหลือจากการสำรองไวเพื่อรองรับการใชสิทธิ ในการแปลงใบสำคัญแสดงสิทธิจำนวน 11,007,782 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท และอนุมัติ แกไข หนังสือบริคณหสนธิ ขอ 4 ของบริษัท เพื่อใหสอดคลองกับการลดทุนจดทะเบียน จำนวนสมาชิกเพิ่มขึ้นเปนกวา 15,000ครอบครัว พื้นที่อาคารภายใตการดูแลกวา 1.2ลาน ตร.ม.
  • 8. 5รายงานประจำป 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) 2550-2551 จาก “ชุมชนนาอยู” สูวิสัยทัศนในระยะที่ 3 เพื่อการพัฒนาเชิงคุณภาพ สำหรับป 2551 เปนปที่บริษัทยังคงใหความสำคัญกับการพัฒนาเชิงคุณภาพตามวิสัยทัศนใน ระยะที่ 3 โดยใสใจในทุกกระบวนการ ตั้งแตการเปดตัวโครงการ การขาย การโอนกรรมสิทธิ์ การสงมอบสินคาแกลูกคา และการบริหารชุมชน ซึ่งเปนการดูแลคุณภาพชีวิตของผูอยูอาศัย ภายใตกลยุทธ “ชุมชนนาอยู” นอกจากนั้น ยังไดตอบสนองความตองการที่พักอาศัยที่มีอยู อยางตอเนื่องโดยไดเปดตัวโครงการอาคารชุดพักอาศัยแหงใหมจำนวนทั้งสิ้น 5 โครงการ ดังนี้ • บริษัทยังไดสงมอบโครงการลุมพินี คอนโดทาวน บดินทรเดชา-รามคำแหง อาคารชุด สำหรับผูมีรายไดปานกลางคอนขางต่ำ จำนวน 3,500 ยูนิต ที่กอสรางแลวเสร็จตั้งแต เดือนมีนาคมใหกับลูกคา ซึ่งนับเปนชุมชนขนาดใหญโครงการแรกภายใตแบรนด “ลุมพินี คอนโดทาวน” ที่บริษัทไดสรางนวัตกรรมทางการเงิน โดยความรวมมืออยางใกลชิดกับ สถาบันการเงินเพื่อประสานประโยชนใหกับทุกฝาย ทั้งลูกคา สถาบันการเงิน และบริษัท อันเนื่องจากเงื่อนไขของขนาดโครงการซึ่งสงผลตอระยะเวลาของการโอนกรรมสิทธิ์ บริษัท จึงไดตกลงกับสถาบันการเงินและหาแนวทางใหลูกคาสามารถใชประโยชนจากหองชุดได กอนรับโอนกรรมสิทธิ์ โดยการเซ็นตสัญญาเงินกูกับสถาบันการเงิน ซึ่งทางสถาบันการเงิน ก็จะลดวงเงินกูเฉพาะสวนกับทางบริษัท ซึ่งจะทำใหเกิดประโยชนกับ 3 ฝาย ไมวาจะ เปนลูกคา สถาบันการเงิน และบริษัท จากนวัตกรรมดังกลาว ชวยใหลูกคาไดเขาอยู เร็วกวากำหนดและบริษัทสามารถลดความเสี่ยงและคาใชจายดานดอกเบี้ยอีกดวย ป 2550 บริษัทไดเปลี่ยนแปลงนโยบายการรวมลงทุนในบริษัท แกรนด ยูนิตี้ ดิเวปล็อปเมนท จำกัด โดยลดสัดสวนการถือหุนลงจากเดิม รอยละ 33.3 เปนรอยละ 20 ของทุน จดทะเบียนเรียกชำระแลว และไดัจัดตั้งบริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท เซอรวิส จำกัด ขึ้น เพื่อดำเนินการเรื่องการบริหารโครงการอสังหาริมทรัพยแบบครบวงจร อันไดแก งานดานวิศวกรรมและการกอสราง การเงิน การตลาด และการขาย ป 2550 นับเปนพัฒนาการที่สำคัญอีกครั้งของบริษัท ที่ผลักดันใหนโยบายการบริหาร จัดการสิ่งแวดลอมและสังคมภายใตโครงการ “ชุมชนนาอยู” เปนนโยบายหลักที่ใชใน การขับเคลื่อนการดำเนินงานขององคกร เพื่อมุงสรางสรรคสิ่งแวดลอมและสังคม พรอมคุณภาพชีวิตที่ดีใหกับชุมชนที่บริษัทพัฒนาและบริหารจัดการ รวมไปถึงชุมชน รอบขางและสังคมในระดับที่ใหญขึ้น โดยเนนการมีสวนรวมจากลูกคา พันธมิตร และ พนักงาน เชน จัดใหมีการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อการเรียนรูการมีสวนรวม พรอม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณจากตัวแทนคณะกรรมการเจาของรวมทุก โครงการ ในหัวขอ “ชุมชนนาอยู” เพื่อรวมกันกำหนดมาตรฐานและรูปแบบของการ อยูอาศัยรวมกันในแตละชุมชนที่บริษัทไดพัฒนาขึ้น ฯลฯ ทั้งนี้ ไดสงผลตอเนื่องมา ยังป 2551 ซึ่งเปนปแหงการเริ่มตนวิสัยทัศนในระยะที่ 3 ที่มุงเนนการพัฒนาเชิงคุณภาพ ในทุกมุมมอง ทั้งที่เกี่ยวของกับบุคลากร กระบวนการบริหารจัดการภายใน รวมถึงมิติ ดานลูกคา และการเงิน เพื่อสรางความสุขที่แทจริงบนพื้นฐานความพอเพียง นอกจากนี้ สามารถสรุปการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญในดานอื่นๆ ไดดังนี้ • ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 5/2550 เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2550 ไดแตงตั้ง คณะอนุกรรมการพิจารณาคาตอบแทนเพื่อพิจารณาคาตอบแทนของคณะกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานในองคกร • บริษัทไดรับเชิญจากตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เขารวมงาน “Thailand Focus 2007” ระหวางวันที่ 12 - 14 กันยายน 2550 ณ โรงแรมพลาซา แอททินี ถนนวิทยุ กรุงเทพมหานคร เพื่อนำเสนอผลประกอบการ นโยบาย ทิศทาง กลยุทธ และแผนการ ดำเนินธุรกิจของบริษัท ในรูปแบบ One on One Meeting กับผูบริหารระดับสูงของกองทุน ผูจัดการกองทุน นักวิเคราะหหลักทรัพย และผูลงทุนสถาบันชั้นนำจากตางประเทศ เกือบ 2 ลาน ตร.ม. จาก 54โครงการ กวา 30,000 ครอบครัว ภายใต “สังคมลุมพินี” 1 ลุมพินี วิลล รามคำแหง 26 2 ลุมพินี สวีท พระราม 8 3 ลุมพินี เพลส พระราม 8 4 ลุมพินี เพลส พระราม 9-รัชดา 5 ลุมพินี วิลล บางแค รวม เม.ย.51 - มิ.ย. 52 เม.ย.51 - ส.ค. 52 เม.ย.51 - ส.ค. 52 มิ.ย. 51 - เม.ย.53 ธ.ค. 51 - มิ.ย. 53 998 178 1,121 1,154 268 3,719 1,250 503 1,974 2,890 290 6,907 โครงการ มูลคาโครงการ จำนวน ระยะเวลาโครงการ (ลานบาท) (ยูนิต)
  • 9. รายงานประจำป 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน)6 • ในชวงกลางป 2551 บริษัทไดปรับโครงสรางองคกร เพื่อปรับกลยุทธในการดำเนินงาน ใหสอดรับกับสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป โดยโครงสรางองคกรที่เปลี่ยนแปลงใหมนี้ จะมีผลบังคับใชในป 2552 รวมทั้งไดปรับแผนพัฒนาโครงการใหมเพื่อลดความเสี่ยง จากความผันผวนของราคาวัสดุกอสราง และบริหารตนทุนอยางมีประสิทธิภาพ สงผลให การเปดขายโครงการลุมพินี วิลล บางแค ในชวงปลายป ซึ่งเปนโครงการนำรองในทำเล ใหมยานบางแคประสบความสำเร็จอยางสูง ไดรับการตอบรับที่ดียิ่งจากลูกคาจนทำให บริษัทสามารถปดการขายไดภายในเวลาเพียง 3 ชั่วโมง • บริษัทไดรับรางวัลประกาศเกียรติคุณจากสำนักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค สำนักนายกรัฐมนตรี (สคบ.) ในฐานะ “ผูประกอบธุรกิจอสังหาริมทรัพยที่ดีประจำป 2550-2551” ซึ่งเปนโครงการที่สำนักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภคไดจัดขึ้น โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหผูประกอบธุรกิจมีจริยธรรมและความรับผิดชอบตอสังคม • นิตยสาร Forbes Asia ฉบับเดือนกันยายน 2551 ไดคัดเลือกใหบริษัทเปน 1 ใน “200 Best Under A Billion” ซึ่งทำการสำรวจบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยใน ภูมิภาคเอเชียแปซิฟก จำนวน 24,155 บริษัท ที่มีรายไดต่ำกวา 1,000 ลานเหรียญ สหรัฐ และมีผลการดำเนินงานโดดเดนอยางตอเนื่อง โดยมีบริษัทไทยไดรับรางวัล ดังกลาวเพียง 7 บริษัทเทานั้น • บริษัทไดรับการจัดอันดับจากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ใหเปนบริษัท ที่มีการกำกับดูแลกิจการในระดับ 4 ตราสัญลักษณ เปนปที่ 5 ติดตอกัน ดวยการดำเนิน งานตามหลักธรรมาภิบาลที่มุงเนนการเปดเผยขอมูลตอนักลงทุน ผูถือหุน และบุคคล ทั่วไปอยางโปรงใสมาโดยตลอด • เนื่องจากวิกฤติซับไพรมที่เกิดขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกา และสถานการณทางการเมือง ของประเทศไทยในชวงปลายป 2551 ซึ่งมีผลกระทบตอตลาดเงินในประเทศและกอให เกิดความผันผวนในตลาดหลักทรัพย ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยและสำนักงาน คณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ไดสงเสริมใหบริษัทจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย จัดโครงการซื้อหุนคืนเพื่อสรางความเชื่อมั่นใหแก นักลงทุน ดังนั้น ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 6/2551 เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2551 จึงไดมีมติอนุมัติโครงการซื้อหุนคืน เนื่องจากราคาหุนในตลาดชวงนั้นต่ำกวาปจจัยพื้นฐานของบริษัท โดยกำหนดวงเงินที่ จะใชในการซื้อคืน เปนจำนวนเงิน 200 ลานบาท โดยมีจำนวนหุนที่จะซื้อคืนประมาณ 62 ลานหุน คิดเปนรอยละ 4.20 ของหุนที่จำหนายแลวทั้งหมด คือ 1,475,698,768 หุน และเปนการซื้อในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเทานั้น มีระยะเวลาตั้งแตวันที่ 24 ตุลาคม 2551 ถึงวันที่ 23 เมษายน 2552 การปรับตัวรับมือวิกฤติเศรษฐกิจ
  • 10. 7รายงานประจำป 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) สินทรัพย สินทรัพยรวม ที่ดินและตนทุนโครงสรางระหวางกอสราง สินคาคงเหลือ ที่ดินและตนทุนโครงการรอการพัฒนา สินทรัพยใหเชาสุทธิ หนี้สินและสวนของผูถือหุน เงินกูยืมระยะสั้น เงินกูยืมระยะยาว หนี้สินรวม หุนที่ออกและเรียกชำระแลว สวนของผูถือหุน ผลการดำเนินงาน รายไดจากการขาย รายไดรวม ตนทุน กำไรขั้นตนจากการขาย กำไร (ขาดทุน) สุทธิ อัตราสวนทางการเงิน มูลคาตามบัญชีตอหุน * กำไรสุทธิตอหุนขั้นพื้นฐาน ** กำไรสุทธิตอหุนปรับลด อัตรากำไรสุทธิตอรายไดรวม อัตราผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพยรวม เงินปนผลตอหุน หนวย : ลานบาท * คิดจากจำนวนหุนถัวเฉลี่ย ** รอผลการอนุมัติจากที่ประชุมใหญสามัญผูถือหุนประจำป 2552 หมายเหตุ 1) เปนขอมูลจากงบการเงินรวม 2) ป 2547 ไดเปลี่ยนแปลงมูลคาตอหุนจาก 10.0 บาท เปน 1.0 บาท 2551 8,846.49 3,781.48 1,403.97 681.92 709.99 2,063.69 530.67 4,362.02 1,474.59 4,484.48 7,018.71 7,303.69 4,826.17 2,192.54 1,205.44 3.04 0.82 - 16.50 29.01 15.05 ** 2550 7,175.76 4,532.36 501.64 660.72 678.53 1,202.01 501.00 3,348.80 1,475.70 3,826.96 6,574.22 6,823.77 4,294.89 2,279.33 927.74 2.59 0.63 - 13.60 25.99 14.11 0.32 2548 4,523.70 2,408.16 124.73 819.59 314.14 234.97 340.00 1,532.26 1,475.70 2,991.44 3,346.45 3,582.63 2,159.64 1,186.81 588.38 2.20 0.43 - 16.42 22.14 13.17 0.22 2547 4,414.81 2,313.76 85.33 661.14 317.60 1,598.45 - 2,090.87 1,205.60 2,323.94 2,308.84 2,478.40 1,498.75 810.10 448.39 2.12 0.41 0.36 18.09 22.86 12.27 0.20 2549 5,969.80 3,485.15 276.16 837.75 617.67 1,033.89 230.00 2,657.43 1,475.70 3,312.37 4,747.84 5,020.49 3,213.88 1,533.96 765.23 2.24 0.52 - 15.24 24.28 14.58 0.26 สรุปขอมูลทางการเงิน กำไรสุทธิตอหุน (บาท) 2547254625452544254325422541 2548 2549 2550 2551 รายไดรวม (ลานบาท) 8,000 7,000 6,000 5,000 4,000 3,000 2,000 1,000 -1,000 -2,000 -3,000 -4,000 -5,000 -6,000 0 24 21 18 15 12 9 -9 -12 -15 -18 6 -6 3 -3 0 520.42 -13.53 -8.30 6.55 2.01 4.97 0.41 0.43 0.52 0.63 0.82446.31 460.23 678.46 1,069.81 1,943.58 2,478.40 6,823.77 7,303.69 3,582.63 5,020.49 -1.19
  • 11. สาสนจากประธานกรรมการ รายงานประจำป 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน)8 เรียน ทานผูถือหุน ป 2551 นับเปนปที่มีปจจัยเสี่ยงในการดำเนินธุรกิจรอบดาน ทั้งที่เกิดจากภายนอกและภายในประเทศ สำหรับปจจัยภายนอกนั้น วิกฤติการณ ซับไพรมในสหรัฐอเมริกาสงผลใหสถาบันการเงินขนาดใหญตองปดตัวลง และหลายแหงตองขอรับความชวยเหลือจากภาครัฐ วิกฤติการณดังกลาวสงผลกระทบ ตอเนื่องไปทั่วโลก ทั้งในยุโรปและเอเชียรวมถึงประเทศไทยดวย ซึ่งปจจุบันวิกฤติการณดังกลาวยังอยูในภาวะที่นาวิตกและยังไมเห็นสัญญาณการสิ้นสุด ขณะเดียวกัน ปจจัยเสี่ยงภายในประเทศอันเกิดจากสถานการณการเมืองที่ขาดเสถียรภาพ รวมทั้งความผันผวนของราคาน้ำมันที่ปรับตัวขึ้นสูงสุดเปนประวัติการณ ในชวงครึ่งปแรก และปรับตัวลงต่ำสุดแบบไมคาดคิดในชวงปลายป ทำใหราคาวัสดุกอสรางผันผวนยากตอการคาดการณตนทุนกอสราง และสงผลใหภาพรวม ของตลาดอสังหาริมทรัพยชะลอตัวลง อยางไรก็ตาม จากภาวะดังกลาวขางตน บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) (LPN) ไดรับผลกระทบเพียงเล็กนอย เนื่องจาก บริษัทไดปรับแผนการพัฒนาโครงการใหมในชวงครึ่งปหลังของป 2551 เพื่อลดความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาวัสดุกอสรางและเปนการบริหารตนทุน อยางมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ จากประสบการณการผานวิกฤติเศรษฐกิจในป 2540 ทำใหบริษัทมีความระมัดระวังในการดำเนินธุรกิจ โดยไดปรับเปลี่ยนแนวทางใน การบริหารจัดการ ทั้งดานกระบวนการคิด การมีสวนรวม และกระบวนการภายใน เพื่อเตรียมความพรอมรับกับสถานการณตางๆ ไดทันทวงที นอกจากนั้น ป 2551 ยังเปนปเริ่มตนของการกำหนดวิสัยทัศนในระยะที่ 3 ของบริษัทที่มีเปาหมายมุงเนนในเชิงคุณภาพมากขึ้น ซึ่งนอกจากจะมุงพัฒนาผลิตภัณฑที่มี คุณภาพอยางตอเนื่องแลว ยังใหความสำคัญกับการพัฒนาแบรนด “ลุมพินี” โดยไดศึกษาความเปนตัวตนของบริษัท และมีแผนที่จะสื่อสารแบรนดออกสู ภายนอกในป 2552 ซึ่งทั้งหมดนี้สะทอนใหเห็นถึงความมุงมั่นที่จะตอบสนองตอความตองการที่อยูอาศัยที่มีคุณภาพ อันเปนหนึ่งในปจจัยพื้นฐานที่สำคัญยิ่ง สำหรับทุกคน พรอมไปกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดลอมภายใตกลยุทธ “ชุมชนนาอยู” เพื่อใหทุกครอบครัวในสังคม “ลุมพินี” เกิดความสุขที่แทจริง ของการอยูอาศัย (Real Pleasure of Living) บริษัทยังคำนึงถึงความรอบคอบในการดำเนินธุรกิจภายใตหลักธรรมาภิบาล และหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่มุงบริหารงานดวยความโปรงใส และดูแลใหผลประกอบการเติบโตในอัตราที่เหมาะสม รวมทั้งการกำหนดผลกำไรจากการดำเนินงานที่สอดคลองกับสถานการณในแตละชวงเวลา การปรับแผน ดำเนินงานดังกลาวสงผลใหบริษัทมีกำไรสุทธิเติบโตขึ้นจากป 2550 ประมาณรอยละ 30 ทั้งยังครองสวนแบงทางการตลาดถึงรอยละ 30 ซึ่งถือเปนอันดับหนึ่ง ในกลุมบริษัทผูพัฒนาโครงการประเภทอาคารชุดพักอาศัย และสามารถจายเงินปนผลใหแกผูถือหุนในอัตราที่เติบโตจากปกอนหนาประมาณรอยละ 30 อันเปน การรักษาไวซึ่งผลประโยชนของผูมีสวนไดเสียทุกกลุม รางวัลแหงความภาคภูมิใจคือการที่บริษัทไดรับการจัดอันดับจากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย ใหเปนบริษัทที่มีการกำกับดูแลกิจการในระดับ 4 ตราสัญลักษณติดตอกันเปนปที่ 5 ซึ่งดำเนินงานตามหลักธรรมาภิบาลที่มุงเนนความโปรงใส การเปดเผยขอมูลตอนักลงทุน ผูถือหุน และบุคคลทั่วไป การไดรับรางวัลผูประกอบการธุรกิจอสังหาริมทรัพยที่ดีจากสำนักงานคณะกรรมการคุมครอง ผูบริโภค สำนักนายกรัฐมนตรี (สคบ.) โดยมีเกณฑในการตัดสินจากสถานะของบริษัท ผลงานที่ผานมา มาตรฐานการออกแบบและกอสราง ความรับผิดชอบ ตอผูบริโภคและสังคม และความพึงพอใจของผูบริโภค รวมถึงการไดรับคัดเลือกใหเปน 1 ใน “200 Best Under A Billion” จากนิตยสาร Forbes Asia ฉบับเดือนกันยายน 2551 ซึ่งทำการสำรวจบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก จำนวน 24,155 บริษัท ที่มีรายไดต่ำกวา 1,000 ลานเหรียญสหรัฐ และมีผลการดำเนินงานโดดเดนอยางตอเนื่อง แตสิ่งที่นำมาซึ่งความภูมิใจสูงสุด คือการที่บริษัทไดรับความเชื่อมั่นจากผูที่อยูอาศัยในสังคม “ลุมพินี” และบอกตอประสบการณที่ดีไปยังลูกคารายอื่นๆ อันสอดคลองกับวัตถุประสงคของบริษัทที่มุงหวังให “ลุมพินี” เปนแบรนดคุณภาพของคนไทยที่อยู ในใจของลูกคาตลอดไป
  • 12. 9รายงานประจำป 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) สำหรับในป 2552 แมวาภาคการสงออกและการทองเที่ยวจะหดตัว เปนผลใหแนวโนมการวางงานเพิ่มสูงขึ้น รวมทั้งยังคงมีปจจัยเสี่ยงในภาคการเงิน ทำใหธุรกิจอสังหาริมทรัพยโดยรวมอยูในภาวะชะลอตัวเนื่องจากหลายบริษัทตางรอดูทิศทางสถานการณทางการเมืองและเศรษฐกิจที่ชัดเจนขึ้นกอนการพัฒนา โครงการใหม แตบริษัทเชื่อวาความตองการที่อยูอาศัยในเมืองยังคงมีอยูอยางตอเนื่อง พิสูจนไดจากการที่บริษัทเปดตัวโครงการลุมพินี วิลล บางแค เมื่อปลายปที่แลว และไดรับการตอบรับอยางดียิ่งจนทำใหโครงการดังกลาวขายหมดภายในเวลาเพียง 3 ชั่วโมง ป 2552 นี้ จึงนาจะเปนโอกาสของบริษัท ทามกลางวิกฤติ ดวยความแข็งแกรงและการเตรียมความพรอมในการบริหารสภาพคลองทางการเงิน การบริหารสินคาคงคลัง การปรับแผนงานกอสรางให เร็วขึ้นกวากำหนดในทุกโครงการ และการใชหลัก “วิศวกรรมเชิงคุณภาพ” (Value Engineering) ที่มุงเพิ่มมูลคาใหกับสินคาและบริการ ควบคูไปกับการ เพิ่มความเขมขนในการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารชุมชน ประกอบกับนโยบายภาครัฐที่มุงกระตุนเศรษฐกิจในป 2552 โดยใชภาคอสังหาริมทรัพยเปนตัว ขับเคลื่อน ดวยมาตรการทั้งดานการเงิน การคลัง และมาตรการดานภาษี จากปจจัยดังกลาวทั้งหมด นาจะเปนสวนผลักดันใหบริษัทเติบโตตอไปไดประมาณ รอยละ 10 - 15 ซึ่งในป 2552 บริษัทมีแผนพัฒนาโครงการใหมจำนวน 6-8 โครงการ มูลคารวมประมาณ 12,000 ลานบาท โดยจะเปนโครงการในลักษณะ โครงการตอเนื่องในทำเลที่บริษัทประสบความสำเร็จมากอน และมีฐานลูกคาที่มีความเชื่อมั่น และไววางใจตอแบรนดของบริษัทอยางเหนียวแนน และยังคง พัฒนาโครงการนำรองในทำเลใหมโดยใชโครงการลุมพินี วิลล บางแค เปนตนแบบ ป 2552 นี้ เปนปที่บริษัทดำเนินงานครบรอบ 20 ป เปน 20 ปที่บริษัทไดสั่งสมประสบการณ ความเชี่ยวชาญ และความซื่อสัตยในการดำเนิน ธุรกิจตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี ภายใตหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อใหบริษัทเปนองคกรคุณภาพที่สรางสรรคที่อยูอาศัยที่มีคุณภาพควบคูไปกับ สังคมและสิ่งแวดลอมคุณภาพ โดยรักษาไวซึ่งประโยชนของผูมีสวนไดเสียทุกกลุม ซึ่งเบื้องหลังความสำเร็จของบริษัทตลอดระยะเวลาที่ผานมาเกิดจากความ เชื่อมั่นและการสนับสนุนดวยดีเสมอมา ผมจึงใครขอกลาวคำขอบคุณอยางสูงตอทานผูถือหุน ลูกคา สถาบันการเงิน พันธมิตร สื่อมวลชน ตลอดจน หนวยงานภาครัฐและเอกชน รวมถึงผูบริหารและพนักงานทุกทาน ที่ทุมเทแรงกายแรงใจ เพื่อสรางสรรคผลิตภัณฑที่ตรงใจลูกคา นำไปสูความพึงพอใจ สูงสุดทั้งในปจจุบันและอนาคต ปกรณ ทวีสิน ประธานกรรมการ
  • 13. แนวทางการบริหารจัดการดานสิ่งแวดลอมและสังคม รายงานประจำป 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน)10 ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพยเปนธุรกิจที่มีผลกระทบโดยตรงตอสิ่งแวดลอมและสังคมอยางสูง จะเห็นไดวาอสังหาริมทรัพยที่สงมอบจากผูประกอบการ ที่ไมมีคุณภาพ จะสรางปญหาใหกับสิ่งแวดลอมและสังคมเปนอยางมาก ปรัชญาการดำเนินธุรกิจของคณะกรรมการบริษัทจึงไดกำหนดแนวทางในการสราง ความสมดุลของการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและคุณภาพในทุกมิติของการดำเนินงาน ไมวาจะเปนมิติดานการเงิน ดานลูกคา ดานผูมีสวนไดสวนเสีย ดานพนักงาน รวมทั้งมิติของการบริหารจัดการดานสิ่งแวดลอม ซึ่งไดถูกกำหนดในแผนภูมิกลยุทธขององคกรมาโดยตลอด รวมทั้งไดกำหนดแนวทางและ เปาหมายภายใตหัวขอความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอมและสังคม (Corporate Environment and Social Responsibility : CESR) ถึงแมวาความรับผิดชอบ ตอสังคม (CSR) โดยปกติจะรวมถึงความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอมเขาไปดวย แตดวยจิตสำนึกของคณะกรรมการบริษัทที่ตองการเพิ่มความสำคัญในการ ลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมมากขึ้น จึงกำหนดให CESR เปนกลยุทธที่สำคัญขององคกร แนวทางการดำเนินงานดานสิ่งแวดลอมและสังคมของบริษัท จึงไดกำหนดหลักการไว 3 ขอ ไดแก ความรับผิดชอบ (Responsibility) การแบงปน (Sharing) และการสรางเครือขายความมีสวนรวม (Networking) โดยจิตสำนึกความรับผิดชอบนั้นเปนการเริ่มตนจากตนเอง ซึ่งหมายถึงภายในองคกรและ ภายในชุมชนที่พัฒนา แลวจึงแบงปนสูสังคมภายนอก โดยตองอาศัยความมีสวนรวมจากผูมีสวนไดเสียทุกกลุม เชน พนักงาน ลูกคา คูคา ฯลฯ ดังคำที่วา “สิ่งแวดลอมและสังคมที่ดี ตองเริ่มตนจากตัวเรากอน เมื่อเราพรอมจึงขยายออกไปสูชุมชนที่เราพัฒนาและบริหาร และสุดทายจึงขยายไปสูชุมชนรอบขาง” แนวคิดดังกลาวจึงสงผลไปสูแนวทางการปฏิบัติของทุกสวนในองคกร และเปนที่มาของนโยบายการบริหารจัดการชุมชนที่บริษัทมุงพัฒนาใหทุก โครงการเปน “ชุมชนนาอยู” ของสังคม และเปนตนแบบของผูประกอบการดานธุรกิจอสังหาริมทรัพยในดานความรับผิดชอบตอผลกระทบอันเกิดจากอสังหาริมทรัพย ที่ตนเองไดพัฒนาขึ้น แนวทางการดำเนินงานดานความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอม แบงออกเปน 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 เริ่มพัฒนาโครงการ ดวยแนวคิดดานความรับผิดชอบดังกลาว จึงสงผลตอเนื่องมาในทุกขั้นตอนการดำเนินงาน นับตั้งแตการเลือกทำเลในการพัฒนา โครงการที่ยังขาดแคลนที่พักอาศัยที่มีคุณภาพ ใกลสถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวกตางๆ การออกแบบและการกำหนดราคาเพื่อตอบสนองความ ตองการที่อยูอาศัยที่สามารถเปนเจาของไดงายขึ้น การเพิ่มเติมสิ่งอำนวยความสะดวกที่เปนความจำเปนพื้นฐานเขาไปภายในโครงการ สงผลใหการ ดำเนินชีวิตสมบูรณแบบมากขึ้น ชวยลดการเดินทาง การใชพลังงาน และแกปญหาการจราจร ทั้งยังมีเวลาใชชีวิตกับครอบครัวมากขึ้นและกอใหเกิด จุดเริ่มตนของการดำเนินชีวิตที่ดีในทุกดาน เชน การพัฒนาโครงการภายใตแบรนด “ลุมพินี คอนโดทาวน” ซึ่งมีจุดมุงหมายสำคัญในการสรางที่อยูอาศัย หลังแรกใหกับคนในสังคมเมือง โดยกำหนดราคาขายเริ่มตนเพียง 7 แสนบาทเศษ ภายใตการบริหารชุมชนที่มุงเนนการสรางคุณภาพชีวิตที่ดีใหแก ผูอยูอาศัย โดยบริษัทมีแผนที่จะพัฒนาโครงการในลักษณะนี้ในพื้นที่ที่มีความตองการที่อยูอาศัยอยางตอเนื่อง นอกจากนี้ การดำเนินงานในสวนที่ เกี่ยวของกับสิ่งแวดลอม ยังใหความสำคัญกับการเลือกใชวัสดุทดแทนใหมากที่สุด เพื่อหลีกเลี่ยงการใชวัสดุจากธรรมชาติซึ่งเปนการทำลายสภาพแวดลอม โดยรวม ขนาดของชิ้นสวนตางๆ ถูกออกแบบใหสอดคลองกับมาตรฐานอุตสาหกรรมเพื่อลดเศษวัสดุที่กลับมาเปนขยะเหลือทิ้งคืนสูสภาพแวดลอมให นอยที่สุด รวมถึงการออกแบบที่คำนึงถึงการประหยัดพลังงานและงายตอการบำรุงรักษาอาคารในระยะยาว โดยบริษัทจะใหความสำคัญกับการคัดเลือก บริษัทพันธมิตรที่มีนโยบายที่ชัดเจนดานสิ่งแวดลอมเขามามีสวนรวมในการพัฒนาโครงการ ระยะที่ 2 ระหวางพัฒนาโครงการ บริษัทไดใหความสำคัญในการปฏิบัติตามแนวทางลดผลกระทบในรายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมอยางเครงครัด เริ่มตั้งแตการ ดูแลผลกระทบตออาคารหรือชุมชนขางเคียง ทั้งทางดานเสียง ฝุนละออง การจราจร โดยการปองกันในทุกรูปแบบ การดูแลความสะอาดของลอรถ ขนสงวัสดุอุปกรณกอสรางขณะออกจากหนวยงานกอสราง เพื่อลดความเสียหายของผิวจราจร การควบคุมการกอสรางใหเปนไปตามที่ออกแบบและ เปนไปตามเวลาที่กำหนด การรายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและลดผลกระทบจากการกอสราง โดยกิจกรรมทั้งหมดนี้ บริษัทจัดใหมี เจาหนาที่ระดับสูงของบริษัทคอยดูแลและติดตามอยางใกลชิด เพื่อใหเกิดประสิทธิผลสูงสุด และมีการควบคุมดูแลใหผูรับเหมากอสรางปฏิบัติตาม มาตรการปองกันและลดผลกระทบจากการกอสรางตามที่ระบุในรายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมและที่แจงกับชุมชนขางเคียง ระยะที่ 3 หลังพัฒนาโครงการ ภายหลังการสงมอบโครงการและหองชุดใหกับลูกคาแลว บริษัทไดจัดตั้งฝายบริหารชุมชนขึ้น เพื่อทำหนาที่บริหารจัดการชุมชน ใหมีมาตรฐานคุณภาพชีวิตที่เหมาะสมตามแนวทาง “ชุมชนนาอยู” ซึ่งไมเพียงเปนการบำรุงดูแลรักษาใหอุปกรณและทรัพยสินตางๆ เกิดความพรอมและ ความปลอดภัยในการใชงานเทานั้น แตยังใหความสำคัญกับการสรางสังคมที่ดี มีความอบอุน ปลอดภัย และใหความสำคัญกับสิ่งแวดลอมภายใน โครงการอยางจริงจังและสม่ำเสมอ โดยการนำแนวคิด Green Clean Lean มาปรับใชเปนแนวทางในการประชาสัมพันธ พรอมรณรงคใหผูอยูอาศัย ในชุมชนรวมดำเนินการอยางจริงจัง ตัวอยางเชน การรณรงคใหผูอยูอาศัยรวมคัดแยกขยะ เพื่อนำขยะบางสวนเขากระบวนการ Recycle หรือนำ กลับมาใชใหม หรือการนำน้ำจากบอบำบัดกลับมารดน้ำตนไม การรณรงคใหใชถุงผาแทนถุงพลาสติก การลดการใชพลังงานไฟฟาในอาคารตาม แนวทางการอนุรักษพลังงาน เปนตน ทั้งนี้ บริษัทยังไดใหความสำคัญกับการปรับปรุงสภาพอาคารและสิ่งแวดลอมของอาคารชุดพักอาศัยที่บริษัทพัฒนา มามากกวา 10 ป ในรูปของการทาสีอาคาร การเพิ่มพื้นที่สีเขียว และการปรับปรุงสภาพแวดลอมที่เกี่ยวของกับคุณภาพชีวิตของผูอยูอาศัยในโครงการ ตางๆ ไดแก อาคารลุมพินี ทาวเวอร ลุมพินี เซ็นเตอร แฮปปแลนด พี.เอส.ที. คอนโดวิลล และพี.เอส.ที. ซิตี้โฮม เปนตน