SlideShare a Scribd company logo
จัดทำโดย
นำงสำวญำณิศำ พิชัย รหัสนักศึกษำ6213601002107
คณะนิติศำสตร์
บทนำ
Intermittent Fasting (IF) เป็นวิธีการควบคุมน้าหนักสูตรหนึ่ง ที่ได้รับความนิยม และเป็นที่สนใจเพิ่มขึ้น
รูปแบบของ IF จะใช้การกาหนดเวลาในการกิน และอดอาหาร ออกเป็นช่วงๆ คือกินในระยะเวลาที่กาหนด และ อดไม่ทานอาหาร
เลยในช่วงเวลาที่เหลือ
กระแสของ “การอดอาหารเป็นช่วงเวลา” ตามรูปแบบของ Intermittent Fasting หรือ มักเรียกย่อๆ ว่า IF เป็น
เทรนด์ที่ได้รับความนิยม และพูดถึงเพิ่มขึ้นในช่วงหลังมานี้ โดยเฉพาะในกลุ่มของคนที่ต้องการลดปริมาณไขมันในร่างกาย ต้องการ
ลดน้าหนัก เปลี่ยนแปลงรูปร่าง หรือแม้แต่กระทั้งในบางความเชื่อ การทา IF ช่วยให้สุขภาพร่างกายโดยรวมดีขึ้น อายุยืนขึ้น
แต่ต้องบอกตรงนี้ก่อนว่า การลดน้าหนักไม่ว่าทฤษฎีไหน ก็มีทั้งข้อดี และข้อเสีย จึงแนะนาให้อ่านอย่างมีสติ เลือกและ
ปรับใช้ให้เหมาะกับ Lifestyle ตัวเองจะดีที่สุด
วัตถุประสงค์
• เพื่อทราบถึงความหมายการทาintermittent fasting
• เพื่อทราบถึงสูตรการทาintermittent fasting
• เพื่อทราบสิ่งที่ไม่ควรมองข้ามเมื่อทาintermittentfasting
• เพื่อทราบถึงอาหารอะไรบ้างที่สามารถกินได้เมื่ออยู่ในช่วงอด
• เพื่อทราบถึงประโยชน์ของการทาintermittent fasting
• เพื่อทราบถึงโทษของการทาintermittent fasting
• เพื่อศึกษาว่าบุคคลทั่วไปทาintermittentfasting มากน้อยแค่ไหน
• เพื่อศึกษาว่าบุคคลทั่วไปทาintermittentfasting ได้ผลหรือไม่
• เพื่อทราบถึงข้อเสนอแนะของการทาintermittentfasting
กำรทำ intermittent fastingคืออะไร?
intermittentfasting เป็นรูปแบบหนึ่งในการกินอาหารที่ใช้หลักการยิ่งอดยิ่งผอม โดยจะเน้นการกินสลับ
ระหว่างช่วงเวลาที่กินและช่วงเวลาที่ไม่กิน
ซึ่งเมื่อทาไปได้ระยะหนึ่งร่างกายจะเกิดการปรับสมดุลทาให้สามารถดารงอยู่ได้เองโดยไม่ต้องกินอาหารครบ 3 มื้อและ
ช่วยลดความอยากของหวานหรือขนมจุกจิกระหว่างวันได้ดีอีกด้วย
โดยสาหรับสูตรการอดแบบ intermittent fasting ก็มีหลายสูตรด้วยกัน ซึ่งจะเลือกสูตรไหนดีนั้น จะต้องขึ้นอยู่
กับสภาพร่างกายของตัวเราเองว่าพร้อมสาหรับการทา fasting ด้วยสูตรไหนกล่าวคือ วิธีที่เลือกจะต้องไม่หักโหมเกินไปจน
เกิดผลเสียนั่นเอง
สูตรกำรทำ intermittent fasting
สาหรับสูตรที่ถูกนามาใช้ในการอดอาหารแบบเป็นช่วงๆก็มีหลายสูตรด้วยกันแต่เราจะขอแนะนาเฉพาะสูตรหลักๆที่ถูก
นามาใช้และพูดถึงมากที่สุด โดยแต่ละสูตรก็มีหลักการดังนี้
1.สูตร IF 16/8
มาเริ่มกันที่สูตรนี้กันก่อนเลย ซึ่งเป็นสูตรที่ผู้คนส่วนใหญ่นิยมทากันมากที่สุด เพราะไม่หักโหมหรือเป็นการทรมาน
ตัวเองจนเกินไป โดยรูปแบบการอดอาหารด้วยสูตรนี้ก็คือ กิน8 ชั่วโมงและอด 16 ชั่วโมงนั่นเอง สาหรับช่วงเวลาในการอดและ
การกินก็สามารถเลือกได้ตามความสะดวก และขึ้นอยู่กับไลฟ์สไตล์การใช้ชีวิตประจาวันของแต่ละคนด้วย ยกตัวอย่างเช่น คนที่ต้อง
ไปทางานแต่เช้า : คนกลุ่มนี้ควรได้รับอาหารเช้าเป็นประจา เพื่อเป็นการเสริมสร้างพลังงานให้กับร่างกายและกระตุ้นสมองให้พร้อม
สาหรับการทางานในระหว่างวัน ดังนั้นจึงควรแบ่งเป็น เริ่มกินตั้งแต่ 06:00 น. – 14.00 น. และเริ่มอดตั้งแต่ 14.00 น. –
06.00 น. นั่นเอง คนที่มักจะไม่ค่อยได้ทานอาหารเช้าอยู่แล้ว : เพื่อให้เข้ากับไลฟ์สไตล์ชีวิตของตัวเองคนกลุ่มนี้อาจเริ่มกินตั้งแต่
เวลา12.00 น. – 20.00 น. และเริ่มอดเวลา20.00 น. – 12.00 น. (ของอีกวัน) เป็นต้น อย่างไรก็ตามช่วงระหว่างการอด
ก็สามารถทานเครื่องดื่มหรืออาหารที่ไม่มีแคลอรีได้เช่น น้าเปล่า นมจืดไร้ไขมันและน้าตาล เป็นต้น
สูตรกำรทำ intermittent fasting (ต่อ)
2.สูตร IF 12/12
สูตรนี้จะให้ผลลัพธ์ที่ช้ากว่าสูตรแรกเล็กน้อย แต่ก็เหมาะกับคนที่เพิ่งเริ่มอดเป็นครั้งแรกหรือไม่เคยชินกับการอดอาหาร
มาก่อน เพราะหากเริ่มอดในทันทีก็จะเป็นผลเสียได้เหมือนกัน นอกจากนี้จะต้องใช้การออกกาลังกายเข้ามาช่วยด้วย โดยรูปแบบกา
รอดอาหารด้วยสูตรนี้ก็คือ กิน 12 ชั่วโมงและอด 12 ชั่วโมงนั่นเอง สาหรับช่วงเวลาที่จะใช้ในการอดและกินก็สามารถกาหนดได้
ตามสะดวกเช่นเดียวกับสูตรแรก ตัวอย่างเช่น คนที่ทางานเข้ากะตอนเช้า : อาจเริ่มกินตั้งแต่เวลา 07.00 – 19.00 น. และอด
ตั้งแต่เวลา 19.00 น. – 07.00 น. (ของวันต่อไป)
คนที่ทางานเข้ากะตอนกลางคืน : อาจเริ่มกินตั้งแต่เวลา 18.00 น. 06.00 น. (ของวันต่อไป) และเริ่มอดตั้งแต่เวลา
06.00 น. -18.00 น.ซึ่งเป็นช่วงเวลาของการนอนหลับพักผ่อนหลังกลับจากทางานและตื่นมาเตรียมพร้อมไปทางานพอดี ซึ่ง
สูตรนี้ในกรณีที่ไม่ได้ไปทางานหรือยังคงอยู่ในวัยเรียน แนะนาให้เริ่มกินตอนเช้า 07.00 น. – 19.00 น. และอดเวลา 19.00
– 07.00 น.จะดีที่สุดไม่ควรให้ช่วงเวลากินเกินไปจาก21.00 น.เพราะร่างกายมีการเผาผลาญน้อยว่าคนทางานการกินอาหาร
ดึกๆ จึงอาจทาให้น้าหนักขึ้นมากกว่าลดนั่นเอง
สูตรกำรทำ intermittent fasting (ต่อ)
3.สูตร IF 19/5
สาหรับสูตรนี้เป็นสูตรที่เร่งรัดและหักโหมพอสมควร เพราะมีเวลาที่สามารถกินได้แค่ 5 ชั่วโมงเท่านั้น ส่วน 19
ชั่วโมงที่เหลือจะต้องอด ห้ามกินอาหารอย่างเด็ดขาด นอกจากน้าหรือเครื่องดื่มที่ไม่มีแคลอรีหรือแคลอรีต่ามาก ซึ่งสูตรนี้ก็เหมาะ
กับคนที่ไม่ค่อยมีเวลาออกกาลังกายที่สุด และช่วงเวลาที่เหมาะกับการอดอาหารด้วยสูตร IF 19/5 ก็ขึ้นอยู่กับการใช้ชีวิตของแต่
ละคนว่าเป็นอย่างไร ตัวอย่างเช่น คนที่ทางานเช้าหรือต้องไปเรียนแต่เช้า : เพื่อให้เกิดความสมดุลที่สุด อาจเริ่มกินเวลา 12.00 น.
-17.00 น. และอดตั้งแต่เวลา 17.00 น. – 12.00 น. (ของอีกวัน) ซึ่งจะทาให้ไม่รู้สึกหิวจนเกินไป ต่างจากการเริ่มกิน
5ชั่วโมง ตอนเช้าและอดตั้งแต่เที่ยงไปถึงเช้าอีกวัน เพราะนั่นอาจทาให้ช่วงบ่ายเกิดอาการหิวจัด จนควบคุมตัวเองไม่ไหว แถม
ร่างกายก็ปรับสมดุลได้ยากอีกด้วย อย่างไรก็ตามการจะเริ่มกินและอดในเวลาใดก็อยู่ที่ความเหมาะสมต่อร่างกายของคุณเอง
สูตรกำรทำ intermittent fasting (ต่อ)
4.สูตร IF 24/24
เป็นวิธีการอดที่ยากที่สุด โดยอาจกล่าวว่าเป็นการอดในรูปแบบวันเว้นวันนั่นเอง โดยลักษณะของการอดแบบนี้ก็คือ
สามารถกินอาหารได้อย่างเต็มที่ภายใน 1 วัน (24 ชั่วโมง) และวันต่อไปก็ให้อดตลอดทั้งวันจนได้24 ชั่วโมงเช่นกัน
แต่อย่างไรก็ตาม เนื่องจากสูตรนี้เป็นสูตรเร่งรัดที่ส่งผลต่อการปรับสมดุลในร่างกายของคนเรามากที่สุดจึงไม่ควรทาเกิน
2 ครั้งต่อสัปดาห์ หรือทาแค่สัปดาห์ละครั้ง คือ 2 วัน และเปลี่ยนไปทาสูตรอื่นๆ ในวันอื่นนั่นเอง
สิ่งที่ไม่ควรมองข้ำมเมื่อทำ intermittent fasting
แม้ว่าการทา intermittent fasting หรือการอดอาหารเป็นช่วงๆ จะสามารถลดน้าหนักได้ดี
และให้ผลลัพธ์ดีจริง แต่ก็ยังมีสิ่งสาคัญที่ไม่ควรมองข้ามที่จะเป็นปัจจัยหลักให้การลดน้าหนักด้วยวิธี
intermittent fasting ประสบความสาเร็จง่ายขึ้นเช่นกัน นั่นคือ
สิ่งที่ไม่ควรมองข้ำมเมื่อทำ intermittent fasting(ต่อ)
1.ควบคุมปริมำณอำหำร เพราะถึงแม้ว่าจะกาหนด
ช่วงเวลากินและช่วงเวลาอดอย่างชัดเจน แต่ปริมาณอาหารที่กิน
เข้าไปหากมากเกินไปก็อาจทาให้วิธีนี้ไม่ได้ผลเช่นกัน ดังนั้นจึง
ควรควบคุมปริมาณอาหาร โดยเฉพาะพลังงานและแคลอรีที่
ได้รับให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมแล้วการทา Fasting จะสาเร็จ
ได้ไม่ยากแน่นอน
2.ต้องมีสำรอำหำรครบถ้วน สาหรับสารอาหารที่
ได้รับก็ควรครบถ้วนทั้ง คาร์โบไฮเดรต โปรตีน เกลือแร่ วิตามิน
และไขมันเช่นกัน เนื่องจากร่างกายของคนเรานั้นมีความต้อง
สารอาหารอย่างเพียงพอเพื่อนาไปพัฒนาการเติบโตของเซลล์
ต่างๆ และซ่อมแซมในส่วนที่สึกหรอ ดังนั้นในช่วงกิน จึงควรจัด
อาหารให้มีทั้งเนื้อสัตว์ ผักผลไม้และเมนูอื่นๆ ที่จะเป็น เพียงแค่
เลี่ยงเมนูทอดและเมนูที่มีน้าตาลเยอะเท่านั้น
สิ่งที่ไม่ควรมองข้ำมเมื่อทำ intermittent fasting(ต่อ)
3. นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ เนื่องจากการอดอาหาร
ด้วยวิธี IF อาจทาให้หลายคนอ่อนเพลียในช่วงแรกๆ ที่ร่างกายยังไม่
ปรับสมดุล ดังนั้นจึงควรนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ เพื่อให้
ร่างกายมีความแข็งแรงอยู่เสมอ นอกจากนี้การนอนหลับก็ยังช่วยให้
ระบบต่างๆ ในร่างกายทานได้อย่างมีประสิทธิภาพกว่าเดิมอีกด้วย
4. ออกกำลังกำยอย่ำงถูกวิธีและสม่ำเสมอ การออกกาลังกายถือ
เป็ นสิ่งที่สาคัญเป็ นอย่างมากกับการลดน้ าหนักด้วยสูตร
intermittent fasting ซึ่งจะช่วยให้ลดไขมันได้อย่าง
รวดเร็วยิ่งขึ้นและทาให้ร่างกายมีความแข็งแรงอีกด้วย โดยออก
กาลังกายนอกจากต้องออกอย่างถูกวิธีแล้ว ก็ต้องออกกาลังกายให้
ได้เป็นประจาอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3-4 ครั้ง ครั้งละ 30 นาทีอีก
ด้วย
อำหำรอะไรบ้ำงที่สำมำรถกินได้เมื่ออยู่ในช่วงอด
สาหรับอาหารที่กินได้ในช่วงที่กาลังอด ก็คืออาหารที่มีแคลอรีต่ามากหรือไม่มีเลย
นั่นเอง เพราะถึงแม้จะเป็นช่วงอด ร่างกายของเราก็ยังคงต้องการอาหารอยู่เสมอ
การจะไม่กินอะไรเข้าไปเลยก็อาจเป็ นผลเสียต่อสุขภาพได้ ดังนั้นสูตร
intermittent fasting จึงได้กาหนดอาหารที่สามารถกินได้มา 4 อย่างดังนี้
อำหำรอะไรบ้ำงที่สำมำรถกินได้เมื่ออยู่ในช่วงอด (ต่อ)
น้ำเปล่ำ เป็นสิ่งจาเป็นต่อร่างกายของคนเราที่จะขาด
ไม่ได้ ดังนั้นจึงสามารถดื่มน้าเปล่าได้ตลอดเวลาที่
ต้องการ แต่แนะนาให้ดื่มน้าที่อุณหภูมิปกติมากกว่าน้า
เย็น
น้ำผลไม้ จะเป็นน้าผลไม้อะไรก็ได้ แต่ต้องมี
แคลอรีต่ามาก และห้ามใส่น้าตาลลงไปเป็ น
ส่วนผสมเด็ดขาด น้าสมุนไพร เป็นเครื่องดื่มเพื่อ
สุขภาพที่เหมาะกับการกินในช่วงอดอย่างมาก แต่
ควรเลี่ยงเครื่ องดื่มสมุนไพรที่มีน้าตาลเป็ น
ส่วนผสม
ผลไม้ไขมันต่ำ อย่างเช่น แตงโม สับปะรดจะช่วยคลายหิว
ในช่วงอดได้ดี อย่างไรก็ตาม วิธีการกินอาหารในช่วงอด
นั้นควรเลือกกินอย่างใดอย่างหนึ่งเพียงสิ่งเดียวเท่านั้น เช่น
หากเลือกกินน้าเปล่าในช่วงอดก็ให้กินไปตลอดโดยห้าม
กินอย่างอื่นหรือหากเลือกกินแตงโมในช่วงอด ก็ให้กินไป
ตลอดโดยห้ามกินอย่างอื่นเช่นกันวิธีนี้จะได้ผลมากกว่าการ
กินทั้ง4 อย่างปนกันไป
ประโยชน์ของกำรทำ intermittent fasting
ส่วนประโยชน์ของการทา intermittent fasting ก็มีมากมายอย่างที่หลายคน
คาดไม่ถึงเลยทีเดียว แต่จะให้ผลลัพธ์ดีแค่ไหนก็ขึ้นอยู่กับสภาพร่างกายและอาหารที่เลือกกิน
ในช่วงกินของแต่ละคนด้วย โดยประโยชน์ของการทา intermittent fasting ที่เด่นชัด
มากที่สุด ได้แก่
ประโยชน์ของกำรทำ intermittent fasting(ต่อ)
1.น้ำหนักลด หุ่นเพรียวขึ้น
การทา IF จะช่วยให้น้าหนักลดและหุ่นดูเพรียวสวยขึ้นอย่างเห็น
ได้ชัด แถมยังช่วยให้ร่างกายมีความกระชับมากขึ้นอีกด้วย โดยเฉพาะ
กล้ามเนื้อส่วนต่างๆ ซึ่งเมื่อทาอย่างต่อเนื่องเป็นประจาก็จะให้ผลลัพธ์อย่าง
ทันใจมากทีเดียว นอกจากนี้ก็เป็นการลดน้าหนักที่ปลอดภัยโดยไม่ต้องพึ่งยา
ลดน้าหนักอีกด้วย
ประโยชน์ของกำรทำ intermittent fasting(ต่อ)
2.สุขภำพหัวใจแข็งแรง
การทาIF จะช่วยให้สุขภาพหัวใจแข็งแรง
มากขึ้น เพราะวิธีนี้จะทาให้ระดับคอเลสเตอรอลและไตร
กลีเซอไรด์ รวมถึงระดับน้าตาลในเลือดลดน้อยลงเป็น
อย่างมาก จึงลดปัญหาต่างๆ ที่มักจะเกิดกับหัวใจได้ดี ซึ่ง
ผลลัพธ์ที่ตามมาก็คือการมีสุขภาพหัวใจที่แข็งแรงนั่นเอง
ประโยชน์ของกำรทำ intermittent fasting(ต่อ)
3.Detox ของเสีย
อยากจะดีท็อกร่างกายไม่ต้องหาสูตรลับที่ไหนเพราะแค่ทา intermittent fasting ก็
จะช่วย Detox ของเสียออกจากร่างกายได้อย่างดีเยี่ยม และสามารถฟื้นฟูสุขภาพร่างกายจากความอ่อน
ล้าหรืออาการป่วยได้ดีอีกด้วย
ประโยชน์ของกำรทำ intermittent fasting(ต่อ)
4.ต้ำนกำรเกิดมะเร็ง
สาหรับโรคมะเร็งร้ายก็ป้องกันได้ไม่ยาก เพราะการทา
IF จะทาให้ร่างกายมีภูมิต้านทานมากขึ้น พร้อมลดความเสี่ยงการ
เกิดมะเร็งได้เป็นอย่างดี ดังนั้นผู้ที่ทา IF เป็นประจาจึงมักจะไม่
ป่ วยด้วยโรคมะเร็งนั่นเอง เพราะฉะนั้นสาหรับใครที่อยากมี
สุขภาพแข็งแรง ห่างไกลจากมะเร็ง ก็ลองมาอดอาหารด้วยวิธี
intermittent fasting กันดูสิ
ประโยชน์ของกำรทำ intermittent fasting(ต่อ)
5.บำรุงสมอง ต้ำนควำมจำเสื่อม
เพราะการทาintermittent fasting จะทาให้ระดับ
BDNF ในสมองเพิ่มสูงขึ้นซึ่งจะไปช่วยกระตุ้นให้สมองมีการทางาน
อย่างมีประสิทธิภาพ ชะลอการเสื่อมของเซลล์และลดความเสี่ยงการ
เป็นอัลไซเมอร์เมื่ออายุมากขึ้นได้ดี แถมยังทาให้ความจาดีและสมองมี
การคิดวิเคราะห์ได้อย่างรวดเร็วยิ่งขึ้นอีกด้วย
ประโยชน์ของกำรทำ intermittent fasting(ต่อ)
6.อำยุยืนยำว
จากการวิจัยพบว่าผู้ที่ทา IF จะมีอายุขัยที่ยืนยาว
มากกว่าผู้ที่ไม่เคยทาintermittentfasting เลย เพราะวิธี
นี้จะทาให้ร่างกายมีการปรับสมดุลให้สามารถอยู่ได้เองโดยไม่
ต้องกินอาหารมากนักและช่วยให้ร่างกายมีความแข็งแรงห่างไกล
จากโรคต่างๆ มากขึ้น จึงเป็นผลให้อายุยืนยาวด้วยนั่นเอง
ประโยชน์ของกำรทำ intermittent fasting(ต่อ)
7.ประหยัดเงินได้ดี
เพราะการทา IF จะทาให้เรากินอาหารน้อยลง จึงทาให้
ค่าใช้จ่ายในการกินลดน้อยลงไปด้วยเช่นกัน นอกจากนี้การทา
intermittent fasting ก็เป็นวิธีที่สัมพันธ์กับการใช้ชีวิตประจาวัน
ของเรามากที่สุด จึงไม่ต้องมีค่าใช้จ่ายใดๆ เพิ่มเติม เหมือนกับการกินยา
ลดความอ้วนหรือการใช้อุปกรณ์ช่วยออกกาลังกาย ซึ่งนั่นล้วนต้องจ่ายใน
ราคาสูงทั้งสิ้น ดังนั้นการทา IF จึงเป็นวิธีที่ประหยัดเงินสุดๆ เลยทีเดียว
โทษของกำรทำ intermittent fasting
ได้รู้ถึงประโยชน์ของการทา intermittentfasting แล้ว แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าวิธีนี้จะไม่มีข้อเสีย โดยข้อเสีย
ของการทา IF คือ
กลิ่นตัวแรงกว่าปกติ นั่นก็เพราะการทา IF จะทาให้ร่างกายมีการขับเอาสารพิษออกมาทางผิวหนังและปากหรือที่
เรียกว่า Detox นั่นเอง ดังนั้นจึงทาให้เรามีกลิ่นตัวและกลิ่นปากที่แรงกว่าปกติได้ เพราะฉะนั้นในขณะที่กาลังอดอาหารด้วย
สูตรนี้ หากต้องเข้าสังคมหรือไปในที่ที่มีคนเยอะๆ ก็ต้องระมัดระวังเรื่องกลิ่นตัวกันหน่อย
ไม่เหมาะกับหญิงตั้งครรภ์ เพราะในขณะตั้งครรภ์ ร่างกายจะมีความต้องการสารอาหารมากกว่าปกติ เพื่อนาไป
พัฒนาการการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์และบารุงร่างกายให้ทารกมีความสมบูรณ์แข็งแรงที่สุด ดังนั้นหญิงตั้งครรภ์จึงไม่
ควรอดอาหารด้วยวิธี IF หรือวิธีไหนทั้งสิ้น
รู้สึกหิวอย่างรุนแรง ในระยะแรกของการทา IF หลายคนอาจรู้สึกหิวอย่างรุนแรง เนื่องจากเป็นการปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมการกินอย่างกะทันหัน ทาให้ร่างกายปรับตัวไม่ทัน แต่หากมีความอดทนและสามารถทาได้ไปในระยะเวลาหนึ่งแล้ว
ร่างกายก็จะปรับสมดุลให้สามารถอยู่ได้โดยไม่ต้องกินอาหารตลอดเวลา ซึ่งก็จะไม่หิวรุนแรงอีกต่อไป
โทษของกำรทำ intermittent fasting(ต่อ)
สูตร 24/24 ไม่ควรทาติดต่อกันเกิน 3 วัน สาหรับใครที่เลือกสูตรนี้ แนะนาว่าไม่ควรทาติดต่อกัน
เกิน 3 วัน เพราะเป็นการทาร้ายร่างกายจนเกินไปและอาจทาให้ร่างกายได้รับสารอาหารและพลังงานไม่เพียงพอ
ต่อการดาเนินชีวิตในแต่ละวันได้เพราะฉะนั้นอาจสลับทากับสูตรอื่นๆ โดยทาสูตร 24/24 แค่อาทิตย์ละครั้งก็
พอ
ไม่เหมาะกับคนที่เป็นโรคบางชนิด การทา IF จะไม่เหมาะกับคนที่มีโรคบางชนิด อย่างเช่น โรค
กระเพาะอาหาร เพราะร่างกายมีความต้องการอาหารตรงตามเวลาและเพียงพอ การอดจึงอาจจะทาให้อาการแย่ลง
ได้
วิธีกำรดำเนินงำน
• คิดหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา
• วางแผน ศึกษา และค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่สนใจ ว่ามีเนื้อหามากน้อยเพียงใดตามวัตถุประสงค์ที่ได้กาหนดไว้
• รวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบ
• สร้างแบบสอบถามGoogle from เพื่อรวบรวมว่าบุคคลทั่วไปทาintermittentfasting มากน้อยเพียงใด และผล
เป็นยังไง
• รวบรวมข้อมูลและคิดเปอร์เซ็นต์จากการประเมินของกลุ่มตัวอย่าง
• ทาการอภิปรายผล สรุปผล และข้อเสนอแนะจากวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้
อภิปรำยผล
• https://forms.gle/ZCZjqgNG9W1HHLma6
สรุปผล
• จากการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา การทา Intermittent Fasting (IF) ของบุคคลทั่วไป เพื่อเป็นการมอบ
ความรู้ให้กับผู้ที่จะศึกษาเกี่ยวกับ การทา Intermittent Fasting (IF) ต่อไป
• ใช้วิธีการทาแบบสอบถามออนไลน์ผ่าน Google from โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง คือ บุคคลทั่วไป
• กลุ่มตัวอย่างส่วนมากผ่านการควบคุมน้าหนักแบบ Intermittent Fasting (IF) ทั้งหมด
• บุคคลทั่วไปอยากใช้สูตร 16/8 ในการควบคุมน้าหนัก เพราะไม่ลาบากเกินไปสาหรับการเริ่มต้น
• บุคคลทั่วไปใช้สูตร 16/8 ในการควบคุมน้าหนัก และเห็นผลต่อตัวเองที่สุด
• นอกจากการควบคุมน้าหนักโดยวิธี Intermittent Fasting (IF) แล้วบุคคลกลุ่มตัวอย่างส่วนมากยังออกกาลังกาย
ควบคู่ไปด้วย
• ผลการศึกษาเรื่อง Intermittent Fasting (IF) ค่อนข้างเป็นที่พึงพอใจต่อบุคคลที่ได้เห็นข้อมูลเกี่ยวกับสื่อดิจิทัลนี้
ข้อเสนอแนะ
อย่างไรก็ตามการทา intermittent fasting ไม่ใช่คาตอบที่ดีที่สุดสาหรับคนที่อยาก
ลดน้าหนักหรือต้องการมีสุขภาพดี จึงควรทาตามความเหมาะสมเท่านั้น เช่นทาแค่สัปดาห์ละ 2-3 วัน
แล้วสลับกับการควบคุมอาหารและการออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ ดังนั้นการจะทา IF อย่างต่อเนื่องดี
ไหมก็ขึ้นอยู่กับสภาพร่างกายของแต่ละคนด้วย แต่ถ้าให้ดีควรทาสลับกับวิธีอื่นๆ จะดีกว่า จะเห็นได้ว่า
การทา intermittent fasting ไม่ใช่เรื่องยากอย่างที่คิด และยังมีหลายสูตรให้เลือกทากันอีกด้วย
เพราะฉะนั้นมาทา IF เพื่อการมีหุ่นสวยและสุขภาพดีกันดีกว่า
ที่มา
https://bit.ly/3x2Q0ue
https://bit.ly/35XzVtP

More Related Content

What's hot

วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆวัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
Utai Sukviwatsirikul
 
Food for CKD
Food for CKDFood for CKD
Food for CKD
Pha C
 
คู่มือโภชนากร
คู่มือโภชนากรคู่มือโภชนากร
คู่มือโภชนากร
sucheera Leethochawalit
 
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
praphan khunti
 
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังอาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
CAPD AngThong
 
JENIS DIET DAN HUBUNGANNYA DENGAN PENYAKIT
JENIS DIET DAN HUBUNGANNYA DENGAN PENYAKIT JENIS DIET DAN HUBUNGANNYA DENGAN PENYAKIT
JENIS DIET DAN HUBUNGANNYA DENGAN PENYAKIT
pjj_kemenkes
 
โภชนบำบัด
โภชนบำบัดโภชนบำบัด
โภชนบำบัด
noppadolbunnum
 
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์Utai Sukviwatsirikul
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
tumetr
 
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reactionAntibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
Utai Sukviwatsirikul
 
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่มอาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด รวมเล่ม
I'Mah Sunshine
 
อาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับอาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับTODSAPRON TAWANNA
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานjinchuta7
 
การสังเคราะห์งานวิจัยด้วย การวิเคราะห์อภิมาน
การสังเคราะห์งานวิจัยด้วย การวิเคราะห์อภิมานการสังเคราะห์งานวิจัยด้วย การวิเคราะห์อภิมาน
การสังเคราะห์งานวิจัยด้วย การวิเคราะห์อภิมาน
Twatchai Tangutairuang
 
แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556
แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556
แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556
Vorawut Wongumpornpinit
 
Choose myplate-powerpoint
Choose myplate-powerpointChoose myplate-powerpoint
Choose myplate-powerpoint
chattanoogafoodcoach
 
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัชเรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
Ziwapohn Peecharoensap
 
งานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวานงานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวาน
Muay Muay Somruthai
 

What's hot (20)

Ppt.dm
Ppt.dmPpt.dm
Ppt.dm
 
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆวัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
 
Food for CKD
Food for CKDFood for CKD
Food for CKD
 
คู่มือโภชนากร
คู่มือโภชนากรคู่มือโภชนากร
คู่มือโภชนากร
 
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
 
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังอาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
 
Leaflet diet rendah lemak
Leaflet diet rendah lemakLeaflet diet rendah lemak
Leaflet diet rendah lemak
 
JENIS DIET DAN HUBUNGANNYA DENGAN PENYAKIT
JENIS DIET DAN HUBUNGANNYA DENGAN PENYAKIT JENIS DIET DAN HUBUNGANNYA DENGAN PENYAKIT
JENIS DIET DAN HUBUNGANNYA DENGAN PENYAKIT
 
โภชนบำบัด
โภชนบำบัดโภชนบำบัด
โภชนบำบัด
 
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reactionAntibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
 
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่มอาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด  รวมเล่ม
อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด รวมเล่ม
 
อาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับอาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับ
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
การสังเคราะห์งานวิจัยด้วย การวิเคราะห์อภิมาน
การสังเคราะห์งานวิจัยด้วย การวิเคราะห์อภิมานการสังเคราะห์งานวิจัยด้วย การวิเคราะห์อภิมาน
การสังเคราะห์งานวิจัยด้วย การวิเคราะห์อภิมาน
 
แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556
แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556
แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556
 
Choose myplate-powerpoint
Choose myplate-powerpointChoose myplate-powerpoint
Choose myplate-powerpoint
 
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัชเรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
 
งานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวานงานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวาน
 

Similar to การควบคุมน้ำหนักแบบ Intermittent fasting (if)

Breakfast2
Breakfast2Breakfast2
Breakfast2
ssuserf1e77f
 
Breakfast2
Breakfast2Breakfast2
Breakfast2
ssuserf1e77f
 
Breakfast
BreakfastBreakfast
Breakfast
ssuserf1e77f
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003maprang1962
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003
maprang1962
 
วิธีลดความอ้วน เพื่อสุขภาพที่ดีและร่างกายที่แข็งแรง
วิธีลดความอ้วน เพื่อสุขภาพที่ดีและร่างกายที่แข็งแรงวิธีลดความอ้วน เพื่อสุขภาพที่ดีและร่างกายที่แข็งแรง
วิธีลดความอ้วน เพื่อสุขภาพที่ดีและร่างกายที่แข็งแรง
Panuwat Beforetwo
 
สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่
สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่
สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่guestcfd317
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นjatupron2
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
jatupron2
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
jatupron2
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
Onrapanee Kettawong
 
กินอย่างไรไม่ให้อ้วน (1)
กินอย่างไรไม่ให้อ้วน (1)กินอย่างไรไม่ให้อ้วน (1)
กินอย่างไรไม่ให้อ้วน (1)
Anupa Ice
 
คู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
คู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพคู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
คู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
Thiti Wongpong
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
Onrapanee Kettawong
 
Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpoint
nin261
 
ใบงานที่ 2 สารคดี
ใบงานที่ 2 สารคดีใบงานที่ 2 สารคดี
ใบงานที่ 2 สารคดีSuparnisa Aommie
 
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
 การออกกำลังกายที่ถูกวิธี การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
เอิท. เอิท
 
6 วิธีสลายไขมันส่วนเกิน
6  วิธีสลายไขมันส่วนเกิน6  วิธีสลายไขมันส่วนเกิน
6 วิธีสลายไขมันส่วนเกิน
Nutcha Seanglamlers
 
งานนำเสนอ 22-31-35
งานนำเสนอ 22-31-35งานนำเสนอ 22-31-35
งานนำเสนอ 22-31-35
วงศกร สำราญ
 

Similar to การควบคุมน้ำหนักแบบ Intermittent fasting (if) (20)

Breakfast2
Breakfast2Breakfast2
Breakfast2
 
Breakfast2
Breakfast2Breakfast2
Breakfast2
 
Breakfast
BreakfastBreakfast
Breakfast
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003
 
วิธีลดความอ้วน เพื่อสุขภาพที่ดีและร่างกายที่แข็งแรง
วิธีลดความอ้วน เพื่อสุขภาพที่ดีและร่างกายที่แข็งแรงวิธีลดความอ้วน เพื่อสุขภาพที่ดีและร่างกายที่แข็งแรง
วิธีลดความอ้วน เพื่อสุขภาพที่ดีและร่างกายที่แข็งแรง
 
สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่
สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่
สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
 
กินอย่างไรไม่ให้อ้วน (1)
กินอย่างไรไม่ให้อ้วน (1)กินอย่างไรไม่ให้อ้วน (1)
กินอย่างไรไม่ให้อ้วน (1)
 
คู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
คู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพคู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
คู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
 
Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpoint
 
ใบงานที่ 2 สารคดี
ใบงานที่ 2 สารคดีใบงานที่ 2 สารคดี
ใบงานที่ 2 สารคดี
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
 การออกกำลังกายที่ถูกวิธี การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
 
6 วิธีสลายไขมันส่วนเกิน
6  วิธีสลายไขมันส่วนเกิน6  วิธีสลายไขมันส่วนเกิน
6 วิธีสลายไขมันส่วนเกิน
 
งานนำเสนอ 22-31-35
งานนำเสนอ 22-31-35งานนำเสนอ 22-31-35
งานนำเสนอ 22-31-35
 

การควบคุมน้ำหนักแบบ Intermittent fasting (if)

  • 2. บทนำ Intermittent Fasting (IF) เป็นวิธีการควบคุมน้าหนักสูตรหนึ่ง ที่ได้รับความนิยม และเป็นที่สนใจเพิ่มขึ้น รูปแบบของ IF จะใช้การกาหนดเวลาในการกิน และอดอาหาร ออกเป็นช่วงๆ คือกินในระยะเวลาที่กาหนด และ อดไม่ทานอาหาร เลยในช่วงเวลาที่เหลือ กระแสของ “การอดอาหารเป็นช่วงเวลา” ตามรูปแบบของ Intermittent Fasting หรือ มักเรียกย่อๆ ว่า IF เป็น เทรนด์ที่ได้รับความนิยม และพูดถึงเพิ่มขึ้นในช่วงหลังมานี้ โดยเฉพาะในกลุ่มของคนที่ต้องการลดปริมาณไขมันในร่างกาย ต้องการ ลดน้าหนัก เปลี่ยนแปลงรูปร่าง หรือแม้แต่กระทั้งในบางความเชื่อ การทา IF ช่วยให้สุขภาพร่างกายโดยรวมดีขึ้น อายุยืนขึ้น แต่ต้องบอกตรงนี้ก่อนว่า การลดน้าหนักไม่ว่าทฤษฎีไหน ก็มีทั้งข้อดี และข้อเสีย จึงแนะนาให้อ่านอย่างมีสติ เลือกและ ปรับใช้ให้เหมาะกับ Lifestyle ตัวเองจะดีที่สุด
  • 3. วัตถุประสงค์ • เพื่อทราบถึงความหมายการทาintermittent fasting • เพื่อทราบถึงสูตรการทาintermittent fasting • เพื่อทราบสิ่งที่ไม่ควรมองข้ามเมื่อทาintermittentfasting • เพื่อทราบถึงอาหารอะไรบ้างที่สามารถกินได้เมื่ออยู่ในช่วงอด • เพื่อทราบถึงประโยชน์ของการทาintermittent fasting • เพื่อทราบถึงโทษของการทาintermittent fasting • เพื่อศึกษาว่าบุคคลทั่วไปทาintermittentfasting มากน้อยแค่ไหน • เพื่อศึกษาว่าบุคคลทั่วไปทาintermittentfasting ได้ผลหรือไม่ • เพื่อทราบถึงข้อเสนอแนะของการทาintermittentfasting
  • 4. กำรทำ intermittent fastingคืออะไร? intermittentfasting เป็นรูปแบบหนึ่งในการกินอาหารที่ใช้หลักการยิ่งอดยิ่งผอม โดยจะเน้นการกินสลับ ระหว่างช่วงเวลาที่กินและช่วงเวลาที่ไม่กิน ซึ่งเมื่อทาไปได้ระยะหนึ่งร่างกายจะเกิดการปรับสมดุลทาให้สามารถดารงอยู่ได้เองโดยไม่ต้องกินอาหารครบ 3 มื้อและ ช่วยลดความอยากของหวานหรือขนมจุกจิกระหว่างวันได้ดีอีกด้วย โดยสาหรับสูตรการอดแบบ intermittent fasting ก็มีหลายสูตรด้วยกัน ซึ่งจะเลือกสูตรไหนดีนั้น จะต้องขึ้นอยู่ กับสภาพร่างกายของตัวเราเองว่าพร้อมสาหรับการทา fasting ด้วยสูตรไหนกล่าวคือ วิธีที่เลือกจะต้องไม่หักโหมเกินไปจน เกิดผลเสียนั่นเอง
  • 5. สูตรกำรทำ intermittent fasting สาหรับสูตรที่ถูกนามาใช้ในการอดอาหารแบบเป็นช่วงๆก็มีหลายสูตรด้วยกันแต่เราจะขอแนะนาเฉพาะสูตรหลักๆที่ถูก นามาใช้และพูดถึงมากที่สุด โดยแต่ละสูตรก็มีหลักการดังนี้ 1.สูตร IF 16/8 มาเริ่มกันที่สูตรนี้กันก่อนเลย ซึ่งเป็นสูตรที่ผู้คนส่วนใหญ่นิยมทากันมากที่สุด เพราะไม่หักโหมหรือเป็นการทรมาน ตัวเองจนเกินไป โดยรูปแบบการอดอาหารด้วยสูตรนี้ก็คือ กิน8 ชั่วโมงและอด 16 ชั่วโมงนั่นเอง สาหรับช่วงเวลาในการอดและ การกินก็สามารถเลือกได้ตามความสะดวก และขึ้นอยู่กับไลฟ์สไตล์การใช้ชีวิตประจาวันของแต่ละคนด้วย ยกตัวอย่างเช่น คนที่ต้อง ไปทางานแต่เช้า : คนกลุ่มนี้ควรได้รับอาหารเช้าเป็นประจา เพื่อเป็นการเสริมสร้างพลังงานให้กับร่างกายและกระตุ้นสมองให้พร้อม สาหรับการทางานในระหว่างวัน ดังนั้นจึงควรแบ่งเป็น เริ่มกินตั้งแต่ 06:00 น. – 14.00 น. และเริ่มอดตั้งแต่ 14.00 น. – 06.00 น. นั่นเอง คนที่มักจะไม่ค่อยได้ทานอาหารเช้าอยู่แล้ว : เพื่อให้เข้ากับไลฟ์สไตล์ชีวิตของตัวเองคนกลุ่มนี้อาจเริ่มกินตั้งแต่ เวลา12.00 น. – 20.00 น. และเริ่มอดเวลา20.00 น. – 12.00 น. (ของอีกวัน) เป็นต้น อย่างไรก็ตามช่วงระหว่างการอด ก็สามารถทานเครื่องดื่มหรืออาหารที่ไม่มีแคลอรีได้เช่น น้าเปล่า นมจืดไร้ไขมันและน้าตาล เป็นต้น
  • 6. สูตรกำรทำ intermittent fasting (ต่อ) 2.สูตร IF 12/12 สูตรนี้จะให้ผลลัพธ์ที่ช้ากว่าสูตรแรกเล็กน้อย แต่ก็เหมาะกับคนที่เพิ่งเริ่มอดเป็นครั้งแรกหรือไม่เคยชินกับการอดอาหาร มาก่อน เพราะหากเริ่มอดในทันทีก็จะเป็นผลเสียได้เหมือนกัน นอกจากนี้จะต้องใช้การออกกาลังกายเข้ามาช่วยด้วย โดยรูปแบบกา รอดอาหารด้วยสูตรนี้ก็คือ กิน 12 ชั่วโมงและอด 12 ชั่วโมงนั่นเอง สาหรับช่วงเวลาที่จะใช้ในการอดและกินก็สามารถกาหนดได้ ตามสะดวกเช่นเดียวกับสูตรแรก ตัวอย่างเช่น คนที่ทางานเข้ากะตอนเช้า : อาจเริ่มกินตั้งแต่เวลา 07.00 – 19.00 น. และอด ตั้งแต่เวลา 19.00 น. – 07.00 น. (ของวันต่อไป) คนที่ทางานเข้ากะตอนกลางคืน : อาจเริ่มกินตั้งแต่เวลา 18.00 น. 06.00 น. (ของวันต่อไป) และเริ่มอดตั้งแต่เวลา 06.00 น. -18.00 น.ซึ่งเป็นช่วงเวลาของการนอนหลับพักผ่อนหลังกลับจากทางานและตื่นมาเตรียมพร้อมไปทางานพอดี ซึ่ง สูตรนี้ในกรณีที่ไม่ได้ไปทางานหรือยังคงอยู่ในวัยเรียน แนะนาให้เริ่มกินตอนเช้า 07.00 น. – 19.00 น. และอดเวลา 19.00 – 07.00 น.จะดีที่สุดไม่ควรให้ช่วงเวลากินเกินไปจาก21.00 น.เพราะร่างกายมีการเผาผลาญน้อยว่าคนทางานการกินอาหาร ดึกๆ จึงอาจทาให้น้าหนักขึ้นมากกว่าลดนั่นเอง
  • 7. สูตรกำรทำ intermittent fasting (ต่อ) 3.สูตร IF 19/5 สาหรับสูตรนี้เป็นสูตรที่เร่งรัดและหักโหมพอสมควร เพราะมีเวลาที่สามารถกินได้แค่ 5 ชั่วโมงเท่านั้น ส่วน 19 ชั่วโมงที่เหลือจะต้องอด ห้ามกินอาหารอย่างเด็ดขาด นอกจากน้าหรือเครื่องดื่มที่ไม่มีแคลอรีหรือแคลอรีต่ามาก ซึ่งสูตรนี้ก็เหมาะ กับคนที่ไม่ค่อยมีเวลาออกกาลังกายที่สุด และช่วงเวลาที่เหมาะกับการอดอาหารด้วยสูตร IF 19/5 ก็ขึ้นอยู่กับการใช้ชีวิตของแต่ ละคนว่าเป็นอย่างไร ตัวอย่างเช่น คนที่ทางานเช้าหรือต้องไปเรียนแต่เช้า : เพื่อให้เกิดความสมดุลที่สุด อาจเริ่มกินเวลา 12.00 น. -17.00 น. และอดตั้งแต่เวลา 17.00 น. – 12.00 น. (ของอีกวัน) ซึ่งจะทาให้ไม่รู้สึกหิวจนเกินไป ต่างจากการเริ่มกิน 5ชั่วโมง ตอนเช้าและอดตั้งแต่เที่ยงไปถึงเช้าอีกวัน เพราะนั่นอาจทาให้ช่วงบ่ายเกิดอาการหิวจัด จนควบคุมตัวเองไม่ไหว แถม ร่างกายก็ปรับสมดุลได้ยากอีกด้วย อย่างไรก็ตามการจะเริ่มกินและอดในเวลาใดก็อยู่ที่ความเหมาะสมต่อร่างกายของคุณเอง
  • 8. สูตรกำรทำ intermittent fasting (ต่อ) 4.สูตร IF 24/24 เป็นวิธีการอดที่ยากที่สุด โดยอาจกล่าวว่าเป็นการอดในรูปแบบวันเว้นวันนั่นเอง โดยลักษณะของการอดแบบนี้ก็คือ สามารถกินอาหารได้อย่างเต็มที่ภายใน 1 วัน (24 ชั่วโมง) และวันต่อไปก็ให้อดตลอดทั้งวันจนได้24 ชั่วโมงเช่นกัน แต่อย่างไรก็ตาม เนื่องจากสูตรนี้เป็นสูตรเร่งรัดที่ส่งผลต่อการปรับสมดุลในร่างกายของคนเรามากที่สุดจึงไม่ควรทาเกิน 2 ครั้งต่อสัปดาห์ หรือทาแค่สัปดาห์ละครั้ง คือ 2 วัน และเปลี่ยนไปทาสูตรอื่นๆ ในวันอื่นนั่นเอง
  • 9. สิ่งที่ไม่ควรมองข้ำมเมื่อทำ intermittent fasting แม้ว่าการทา intermittent fasting หรือการอดอาหารเป็นช่วงๆ จะสามารถลดน้าหนักได้ดี และให้ผลลัพธ์ดีจริง แต่ก็ยังมีสิ่งสาคัญที่ไม่ควรมองข้ามที่จะเป็นปัจจัยหลักให้การลดน้าหนักด้วยวิธี intermittent fasting ประสบความสาเร็จง่ายขึ้นเช่นกัน นั่นคือ
  • 10. สิ่งที่ไม่ควรมองข้ำมเมื่อทำ intermittent fasting(ต่อ) 1.ควบคุมปริมำณอำหำร เพราะถึงแม้ว่าจะกาหนด ช่วงเวลากินและช่วงเวลาอดอย่างชัดเจน แต่ปริมาณอาหารที่กิน เข้าไปหากมากเกินไปก็อาจทาให้วิธีนี้ไม่ได้ผลเช่นกัน ดังนั้นจึง ควรควบคุมปริมาณอาหาร โดยเฉพาะพลังงานและแคลอรีที่ ได้รับให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมแล้วการทา Fasting จะสาเร็จ ได้ไม่ยากแน่นอน 2.ต้องมีสำรอำหำรครบถ้วน สาหรับสารอาหารที่ ได้รับก็ควรครบถ้วนทั้ง คาร์โบไฮเดรต โปรตีน เกลือแร่ วิตามิน และไขมันเช่นกัน เนื่องจากร่างกายของคนเรานั้นมีความต้อง สารอาหารอย่างเพียงพอเพื่อนาไปพัฒนาการเติบโตของเซลล์ ต่างๆ และซ่อมแซมในส่วนที่สึกหรอ ดังนั้นในช่วงกิน จึงควรจัด อาหารให้มีทั้งเนื้อสัตว์ ผักผลไม้และเมนูอื่นๆ ที่จะเป็น เพียงแค่ เลี่ยงเมนูทอดและเมนูที่มีน้าตาลเยอะเท่านั้น
  • 11. สิ่งที่ไม่ควรมองข้ำมเมื่อทำ intermittent fasting(ต่อ) 3. นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ เนื่องจากการอดอาหาร ด้วยวิธี IF อาจทาให้หลายคนอ่อนเพลียในช่วงแรกๆ ที่ร่างกายยังไม่ ปรับสมดุล ดังนั้นจึงควรนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ เพื่อให้ ร่างกายมีความแข็งแรงอยู่เสมอ นอกจากนี้การนอนหลับก็ยังช่วยให้ ระบบต่างๆ ในร่างกายทานได้อย่างมีประสิทธิภาพกว่าเดิมอีกด้วย 4. ออกกำลังกำยอย่ำงถูกวิธีและสม่ำเสมอ การออกกาลังกายถือ เป็ นสิ่งที่สาคัญเป็ นอย่างมากกับการลดน้ าหนักด้วยสูตร intermittent fasting ซึ่งจะช่วยให้ลดไขมันได้อย่าง รวดเร็วยิ่งขึ้นและทาให้ร่างกายมีความแข็งแรงอีกด้วย โดยออก กาลังกายนอกจากต้องออกอย่างถูกวิธีแล้ว ก็ต้องออกกาลังกายให้ ได้เป็นประจาอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3-4 ครั้ง ครั้งละ 30 นาทีอีก ด้วย
  • 12. อำหำรอะไรบ้ำงที่สำมำรถกินได้เมื่ออยู่ในช่วงอด สาหรับอาหารที่กินได้ในช่วงที่กาลังอด ก็คืออาหารที่มีแคลอรีต่ามากหรือไม่มีเลย นั่นเอง เพราะถึงแม้จะเป็นช่วงอด ร่างกายของเราก็ยังคงต้องการอาหารอยู่เสมอ การจะไม่กินอะไรเข้าไปเลยก็อาจเป็ นผลเสียต่อสุขภาพได้ ดังนั้นสูตร intermittent fasting จึงได้กาหนดอาหารที่สามารถกินได้มา 4 อย่างดังนี้
  • 13. อำหำรอะไรบ้ำงที่สำมำรถกินได้เมื่ออยู่ในช่วงอด (ต่อ) น้ำเปล่ำ เป็นสิ่งจาเป็นต่อร่างกายของคนเราที่จะขาด ไม่ได้ ดังนั้นจึงสามารถดื่มน้าเปล่าได้ตลอดเวลาที่ ต้องการ แต่แนะนาให้ดื่มน้าที่อุณหภูมิปกติมากกว่าน้า เย็น น้ำผลไม้ จะเป็นน้าผลไม้อะไรก็ได้ แต่ต้องมี แคลอรีต่ามาก และห้ามใส่น้าตาลลงไปเป็ น ส่วนผสมเด็ดขาด น้าสมุนไพร เป็นเครื่องดื่มเพื่อ สุขภาพที่เหมาะกับการกินในช่วงอดอย่างมาก แต่ ควรเลี่ยงเครื่ องดื่มสมุนไพรที่มีน้าตาลเป็ น ส่วนผสม ผลไม้ไขมันต่ำ อย่างเช่น แตงโม สับปะรดจะช่วยคลายหิว ในช่วงอดได้ดี อย่างไรก็ตาม วิธีการกินอาหารในช่วงอด นั้นควรเลือกกินอย่างใดอย่างหนึ่งเพียงสิ่งเดียวเท่านั้น เช่น หากเลือกกินน้าเปล่าในช่วงอดก็ให้กินไปตลอดโดยห้าม กินอย่างอื่นหรือหากเลือกกินแตงโมในช่วงอด ก็ให้กินไป ตลอดโดยห้ามกินอย่างอื่นเช่นกันวิธีนี้จะได้ผลมากกว่าการ กินทั้ง4 อย่างปนกันไป
  • 14. ประโยชน์ของกำรทำ intermittent fasting ส่วนประโยชน์ของการทา intermittent fasting ก็มีมากมายอย่างที่หลายคน คาดไม่ถึงเลยทีเดียว แต่จะให้ผลลัพธ์ดีแค่ไหนก็ขึ้นอยู่กับสภาพร่างกายและอาหารที่เลือกกิน ในช่วงกินของแต่ละคนด้วย โดยประโยชน์ของการทา intermittent fasting ที่เด่นชัด มากที่สุด ได้แก่
  • 15. ประโยชน์ของกำรทำ intermittent fasting(ต่อ) 1.น้ำหนักลด หุ่นเพรียวขึ้น การทา IF จะช่วยให้น้าหนักลดและหุ่นดูเพรียวสวยขึ้นอย่างเห็น ได้ชัด แถมยังช่วยให้ร่างกายมีความกระชับมากขึ้นอีกด้วย โดยเฉพาะ กล้ามเนื้อส่วนต่างๆ ซึ่งเมื่อทาอย่างต่อเนื่องเป็นประจาก็จะให้ผลลัพธ์อย่าง ทันใจมากทีเดียว นอกจากนี้ก็เป็นการลดน้าหนักที่ปลอดภัยโดยไม่ต้องพึ่งยา ลดน้าหนักอีกด้วย
  • 16. ประโยชน์ของกำรทำ intermittent fasting(ต่อ) 2.สุขภำพหัวใจแข็งแรง การทาIF จะช่วยให้สุขภาพหัวใจแข็งแรง มากขึ้น เพราะวิธีนี้จะทาให้ระดับคอเลสเตอรอลและไตร กลีเซอไรด์ รวมถึงระดับน้าตาลในเลือดลดน้อยลงเป็น อย่างมาก จึงลดปัญหาต่างๆ ที่มักจะเกิดกับหัวใจได้ดี ซึ่ง ผลลัพธ์ที่ตามมาก็คือการมีสุขภาพหัวใจที่แข็งแรงนั่นเอง
  • 17. ประโยชน์ของกำรทำ intermittent fasting(ต่อ) 3.Detox ของเสีย อยากจะดีท็อกร่างกายไม่ต้องหาสูตรลับที่ไหนเพราะแค่ทา intermittent fasting ก็ จะช่วย Detox ของเสียออกจากร่างกายได้อย่างดีเยี่ยม และสามารถฟื้นฟูสุขภาพร่างกายจากความอ่อน ล้าหรืออาการป่วยได้ดีอีกด้วย
  • 18. ประโยชน์ของกำรทำ intermittent fasting(ต่อ) 4.ต้ำนกำรเกิดมะเร็ง สาหรับโรคมะเร็งร้ายก็ป้องกันได้ไม่ยาก เพราะการทา IF จะทาให้ร่างกายมีภูมิต้านทานมากขึ้น พร้อมลดความเสี่ยงการ เกิดมะเร็งได้เป็นอย่างดี ดังนั้นผู้ที่ทา IF เป็นประจาจึงมักจะไม่ ป่ วยด้วยโรคมะเร็งนั่นเอง เพราะฉะนั้นสาหรับใครที่อยากมี สุขภาพแข็งแรง ห่างไกลจากมะเร็ง ก็ลองมาอดอาหารด้วยวิธี intermittent fasting กันดูสิ
  • 19. ประโยชน์ของกำรทำ intermittent fasting(ต่อ) 5.บำรุงสมอง ต้ำนควำมจำเสื่อม เพราะการทาintermittent fasting จะทาให้ระดับ BDNF ในสมองเพิ่มสูงขึ้นซึ่งจะไปช่วยกระตุ้นให้สมองมีการทางาน อย่างมีประสิทธิภาพ ชะลอการเสื่อมของเซลล์และลดความเสี่ยงการ เป็นอัลไซเมอร์เมื่ออายุมากขึ้นได้ดี แถมยังทาให้ความจาดีและสมองมี การคิดวิเคราะห์ได้อย่างรวดเร็วยิ่งขึ้นอีกด้วย
  • 20. ประโยชน์ของกำรทำ intermittent fasting(ต่อ) 6.อำยุยืนยำว จากการวิจัยพบว่าผู้ที่ทา IF จะมีอายุขัยที่ยืนยาว มากกว่าผู้ที่ไม่เคยทาintermittentfasting เลย เพราะวิธี นี้จะทาให้ร่างกายมีการปรับสมดุลให้สามารถอยู่ได้เองโดยไม่ ต้องกินอาหารมากนักและช่วยให้ร่างกายมีความแข็งแรงห่างไกล จากโรคต่างๆ มากขึ้น จึงเป็นผลให้อายุยืนยาวด้วยนั่นเอง
  • 21. ประโยชน์ของกำรทำ intermittent fasting(ต่อ) 7.ประหยัดเงินได้ดี เพราะการทา IF จะทาให้เรากินอาหารน้อยลง จึงทาให้ ค่าใช้จ่ายในการกินลดน้อยลงไปด้วยเช่นกัน นอกจากนี้การทา intermittent fasting ก็เป็นวิธีที่สัมพันธ์กับการใช้ชีวิตประจาวัน ของเรามากที่สุด จึงไม่ต้องมีค่าใช้จ่ายใดๆ เพิ่มเติม เหมือนกับการกินยา ลดความอ้วนหรือการใช้อุปกรณ์ช่วยออกกาลังกาย ซึ่งนั่นล้วนต้องจ่ายใน ราคาสูงทั้งสิ้น ดังนั้นการทา IF จึงเป็นวิธีที่ประหยัดเงินสุดๆ เลยทีเดียว
  • 22. โทษของกำรทำ intermittent fasting ได้รู้ถึงประโยชน์ของการทา intermittentfasting แล้ว แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าวิธีนี้จะไม่มีข้อเสีย โดยข้อเสีย ของการทา IF คือ กลิ่นตัวแรงกว่าปกติ นั่นก็เพราะการทา IF จะทาให้ร่างกายมีการขับเอาสารพิษออกมาทางผิวหนังและปากหรือที่ เรียกว่า Detox นั่นเอง ดังนั้นจึงทาให้เรามีกลิ่นตัวและกลิ่นปากที่แรงกว่าปกติได้ เพราะฉะนั้นในขณะที่กาลังอดอาหารด้วย สูตรนี้ หากต้องเข้าสังคมหรือไปในที่ที่มีคนเยอะๆ ก็ต้องระมัดระวังเรื่องกลิ่นตัวกันหน่อย ไม่เหมาะกับหญิงตั้งครรภ์ เพราะในขณะตั้งครรภ์ ร่างกายจะมีความต้องการสารอาหารมากกว่าปกติ เพื่อนาไป พัฒนาการการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์และบารุงร่างกายให้ทารกมีความสมบูรณ์แข็งแรงที่สุด ดังนั้นหญิงตั้งครรภ์จึงไม่ ควรอดอาหารด้วยวิธี IF หรือวิธีไหนทั้งสิ้น รู้สึกหิวอย่างรุนแรง ในระยะแรกของการทา IF หลายคนอาจรู้สึกหิวอย่างรุนแรง เนื่องจากเป็นการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมการกินอย่างกะทันหัน ทาให้ร่างกายปรับตัวไม่ทัน แต่หากมีความอดทนและสามารถทาได้ไปในระยะเวลาหนึ่งแล้ว ร่างกายก็จะปรับสมดุลให้สามารถอยู่ได้โดยไม่ต้องกินอาหารตลอดเวลา ซึ่งก็จะไม่หิวรุนแรงอีกต่อไป
  • 23. โทษของกำรทำ intermittent fasting(ต่อ) สูตร 24/24 ไม่ควรทาติดต่อกันเกิน 3 วัน สาหรับใครที่เลือกสูตรนี้ แนะนาว่าไม่ควรทาติดต่อกัน เกิน 3 วัน เพราะเป็นการทาร้ายร่างกายจนเกินไปและอาจทาให้ร่างกายได้รับสารอาหารและพลังงานไม่เพียงพอ ต่อการดาเนินชีวิตในแต่ละวันได้เพราะฉะนั้นอาจสลับทากับสูตรอื่นๆ โดยทาสูตร 24/24 แค่อาทิตย์ละครั้งก็ พอ ไม่เหมาะกับคนที่เป็นโรคบางชนิด การทา IF จะไม่เหมาะกับคนที่มีโรคบางชนิด อย่างเช่น โรค กระเพาะอาหาร เพราะร่างกายมีความต้องการอาหารตรงตามเวลาและเพียงพอ การอดจึงอาจจะทาให้อาการแย่ลง ได้
  • 24. วิธีกำรดำเนินงำน • คิดหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา • วางแผน ศึกษา และค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่สนใจ ว่ามีเนื้อหามากน้อยเพียงใดตามวัตถุประสงค์ที่ได้กาหนดไว้ • รวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบ • สร้างแบบสอบถามGoogle from เพื่อรวบรวมว่าบุคคลทั่วไปทาintermittentfasting มากน้อยเพียงใด และผล เป็นยังไง • รวบรวมข้อมูลและคิดเปอร์เซ็นต์จากการประเมินของกลุ่มตัวอย่าง • ทาการอภิปรายผล สรุปผล และข้อเสนอแนะจากวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้
  • 26. สรุปผล • จากการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา การทา Intermittent Fasting (IF) ของบุคคลทั่วไป เพื่อเป็นการมอบ ความรู้ให้กับผู้ที่จะศึกษาเกี่ยวกับ การทา Intermittent Fasting (IF) ต่อไป • ใช้วิธีการทาแบบสอบถามออนไลน์ผ่าน Google from โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง คือ บุคคลทั่วไป • กลุ่มตัวอย่างส่วนมากผ่านการควบคุมน้าหนักแบบ Intermittent Fasting (IF) ทั้งหมด • บุคคลทั่วไปอยากใช้สูตร 16/8 ในการควบคุมน้าหนัก เพราะไม่ลาบากเกินไปสาหรับการเริ่มต้น • บุคคลทั่วไปใช้สูตร 16/8 ในการควบคุมน้าหนัก และเห็นผลต่อตัวเองที่สุด • นอกจากการควบคุมน้าหนักโดยวิธี Intermittent Fasting (IF) แล้วบุคคลกลุ่มตัวอย่างส่วนมากยังออกกาลังกาย ควบคู่ไปด้วย • ผลการศึกษาเรื่อง Intermittent Fasting (IF) ค่อนข้างเป็นที่พึงพอใจต่อบุคคลที่ได้เห็นข้อมูลเกี่ยวกับสื่อดิจิทัลนี้
  • 27. ข้อเสนอแนะ อย่างไรก็ตามการทา intermittent fasting ไม่ใช่คาตอบที่ดีที่สุดสาหรับคนที่อยาก ลดน้าหนักหรือต้องการมีสุขภาพดี จึงควรทาตามความเหมาะสมเท่านั้น เช่นทาแค่สัปดาห์ละ 2-3 วัน แล้วสลับกับการควบคุมอาหารและการออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ ดังนั้นการจะทา IF อย่างต่อเนื่องดี ไหมก็ขึ้นอยู่กับสภาพร่างกายของแต่ละคนด้วย แต่ถ้าให้ดีควรทาสลับกับวิธีอื่นๆ จะดีกว่า จะเห็นได้ว่า การทา intermittent fasting ไม่ใช่เรื่องยากอย่างที่คิด และยังมีหลายสูตรให้เลือกทากันอีกด้วย เพราะฉะนั้นมาทา IF เพื่อการมีหุ่นสวยและสุขภาพดีกันดีกว่า