SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
Download to read offline
เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ใช้โซเชียลมิเดีย
สาหรับครูในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33
รุ่นที่ 1 ครูแกนนา
ระหว่างวันที่ 8-10 สิงหาคม 2556
ณ ห้องประชุมชั้น 3 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33
การใช้เฟชบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน
โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 (สุรินทร์)
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
. ...2
การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์)
การใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน
โดย…ครูจีรา ศรีไทยโรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์)
Mail:krujeera1@gmail.com
ศ.ดร.ศรีศักดิ์ จามรมาน ( 2554 : 3 พฤศจิกายน 2554) ได้กล่าวถึง การใช้เฟซบุ๊กเป็นศูนย์แห่งการเรียนรู้
ในสถานศึกษา มีรายละเอียดน่าสนใจดังนี้
เฟซบุ๊ก มีผู้เข้าชมที่ไม่ซ้้ากัน(โดยไม่นับจ้านวนการใช้ของผู้ที่เข้าชมซ้้า) เฉลี่ยเดือนละ 700 ล้านคน
และจากสถิติที่ประกาศโดยเว็บ “เฟซบุ๊ก (www.facebook.com)”เมื่อ กรกฎาคม 2554 มีผู้ใช้เฟซบุ๊กเป็นประจ้า
กว่า 750 ล้านคน โดยแต่ละวันมีผู้ใช้เฟซบุ๊กกว่า 375 ล้านคน และผู้ใช้เฟซบุ๊กแต่ละคนมีเพื่อนในเฟซบุ๊กประมาณ
130 คน อาจกล่าวได้ว่า เฟซบุ๊กเป็นศูนย์แห่งการเรียนรู้ที่ยังคงเฟื่องฟูและได้รับความนิยมอย่างต่อ เนื่องจึงส่งผลให้
สถานศึกษาต่างๆ น้าเฟซบุ๊กไปประยุกต์ใช้เป็นศูนย์แห่งการเรียนรู้ในสถานศึกษาเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์
และแบ่งปันข้อมูลด้านวิชาการ ในการเรียนการสอนรวมถึงการส่งเสริมความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันระหว่างครูผู้สอน
กับครูผู้สอน ระหว่างครูผู้สอนกับผู้เรียน และผู้เรียนกับผู้เรียน
จากการค้น “เฟซบุ๊กเพื่อการศึกษา (Facebook for Education)” ในกูเกิลจะพบแหล่งข้อมูล 922 ล้าน
รายการและจากการค้น “ศูนย์แห่งการเรียนรู้บนเฟซบุ๊ก (Learning Center on Facebook)” ในกูเกิลจะพบ
แหล่งข้อมูล 173 ล้านรายการ จะเห็นได้ว่ามีการน้าเฟซบุ๊กไปประยุกต์ใช้เพื่อการศึกษาและเป็นศูนย์แห่งการ เรียนรู้
ในสาขาวิชาต่างๆ มากมาย ยิ่งกว่าไปนั้น เฟซบุ๊กได้เป็นสื่อสังคมยอดนิยมส้าหรับครูผู้สอน ซึ่งเมื่อเมษายน 2554
“เพียร์สัน (Pearson)”ได้รายงานผลส้ารวจการใช้สื่อสังคมของครูผู้สอนใระดับอุดมศึกษาประมาณ 2,000 แห่ง
จากบล็อก “เอ็ดดูเดมิก (edudemic.com)”สรุปได้ว่า ครูผู้สอนร้อยละ 57 นิยมใช้เฟซบุ๊กในด้านส่วนตัวและ
ครูผู้สอนร้อยละ 30 ใช้เฟซบุ๊กในด้านวิชาชีพ
เว็บ “พีซีเทคแม็กกาซีน (www.pctechmagazine.com)” ได้อ้างถึงเหตุผล 4 ประการที่ครูผู้สอน
ควรพิจารณาเลือกใช้เฟซ บุ๊กเป็นศูนย์แห่งการเรียนรู้ในสถานศึกษา ประการแรก คือ การพัฒนาด้านภาษาซึ่ง
ครูผู้สอนและผู้เรียนจ้าเป็นต้องใช้เฟซบุ๊กในการติดต่อสื่อสารและแสดงความเห็นต่างๆ เกี่ยวกับวิชาที่เรียนบนเฟซบุ๊ก
ทั้งนี้ การใช้เฟซบุ๊กเป็นประจ้าในการเขียนและอ่านข้อความต่างๆ จะช่วยให้ผู้เรียนได้ฝึกการเขียน การสะกดค้า
และการใช้ไวยากรณ์ที่ถูกต้อง ประการที่สอง คือ การสื่อสารระหว่างบุคคลซึ่ง เป็นสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่าง
ครูผู้สอนกับครูผู้สอน ระหว่างครูผู้สอนกับผู้เรียน และผู้เรียนกับผู้เรียนในการติดต่อสื่อสารและแลกเปลี่ยน
ประสบการณ์ร่วมกัน รวมถึงสนับสนุนให้ผู้เรียนกล้าที่จะแสดงความคิดเห็นต่างๆ มากยิ่งขึ้น ประการที่สาม คือ
การท้างานร่วมกันเป็นกลุ่มซึ่ง เฟซบุ๊กเป็นอีกช่องทางหนึ่งที่เปิดโอกาสให้ ผู้เรียนผู้ใดผู้หนึ่งจะต้องรับผิดชอบงาน
ที่ได้รับมอบหมายร่วมกับผู้เรียน ผู้อื่นเป็นกลุ่ม ซึ่งเป็นการฝึกทักษะการเป็นผู้น้าและการเป็นผู้ตาม และประการที่สี่
คือ เพิ่มทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ซึ่งการใช้เฟซบุ๊กในการเรียนการสอน จะช่วยผู้เรียนมี
ความสนใจและมีความกระตือรือร้นที่จะเรียนรู้เกี่ยวกับการ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใหม่ๆ
สิ่งที่ครูผู้สอนพึงปฏิบัติในการใช้เฟซบุ๊กเป็นศูนย์แห่งการเรียนรู้ร่วมกับผู้เรียนนั้น เมื่อมิถุนายน 2554
เว็บ “ออลเฟซบุ๊ก(www.allfacebook.com)”ได้น้าเสนอเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติที่ดีที่สุดไว้ 7 ประการเพื่อเป็นแนวทาง
ให้ครูผู้สอนใช้เฟซบุ๊กได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ประการแรกคือ ห้ามครูผู้สอนระบายอารมณ์และความรู้สึกต่างๆ
ที่มีต่อผู้เรียนในเชิงลบผ่านเฟซบุ๊ก ประการที่สองคือ ควรก้าหนดนโยบายและแนวปฏิบัติในการใช้สื่อสังคมร่วมกัน
ระหว่างครูผู้สอนและผู้เรียนให้ชัดเจน ประการที่สามคือ ในกรณีที่ยกเลิกการเรียนการสอนในห้องเรียนเพราะ
สภาพอากาศไม่เอื้ออ้านวย ครูผู้สอนสามารถใช้เฟซบุ๊กเป็นศูนย์แห่งการเรียนรู้ร่วมกับผู้เรียนโดยการก้าหนด
. ...3
การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์)
หัวข้อเกี่ยวกับวิชาที่สอนเพื่อให้ผู้เรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น ประการที่สี่ คือ ไม่ควรใช้ข้อความที่รุนแรง ใน
การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผู้เรียนและสถานศึกษา ประการที่ห้าคือ หลีกเลี่ยงการแสดงข้อความที่ก่อให้เกิด
ข้อโต้แย้งที่รุนแรง ประการที่หกคือ ควรตั้งค่าการแสดงความคิดเห็นต่างๆ ที่ผู้เรียนทุกคนสามารถเข้าไปอ่านได้
และประการที่เจ็ดคือ ควรแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผู้เรียนในเชิงบวกเท่านั้น
จากความนิยมเฟซบุ๊กจึงมีผู้เชี่ยวชาญด้านวิชาการและครูผู้สอนรวมกลุ่มกันมากมายบนเฟซบุ๊ก
ขอยกตัวอย่างที่น่าสนใจเพื่อให้ครูผู้สอนได้น้าไปศึกษาและประยุกต์ใช้ให้ เหมาะกับสถานศึกษาของตน ตัวอย่าง
กลุ่มแรก คือ กลุ่ม “เฟซบุ๊กฟอร์เอ็ดดูเค เตอร์ส (Facebook for Educators)” เป็นกลุ่มที่ให้ค้าแนะน้าเกี่ยวกับ
การใช้เฟซบุ๊กอย่างไรให้ประสบความส้าเร็จในการเรียนการสอน ตัวอย่างกลุ่มที่สอง คือ กลุ่ม “คลาสรูม
อินสตรักชันอินเฟซบุ๊ก (Classroom Instruction in Facebook)” เป็นกลุ่มของครูผู้สอนที่ใช้เฟซบุ๊กเป็นส่วนเสริม
ในการสอนวิธีการใช้ห้องสมุด ตัวอย่างกลุ่มที่สาม คือ กลุ่ม “ยูสด์เท็กซ์บุ๊ก (Used Text Book)”เป็นกลุ่มที่เปิดเป็น
พื้นที่ส้าหรับซื้อขายหนังสือเรียนที่ใช้แล้ว และตัวอย่างกลุ่มที่สี่ คือ กลุ่ม “โฮมเวิร์กเฮลพ์ (Homework Help)”
เป็นกลุ่มที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ช่วยกันหาข้อมูลเพื่อท้าการบ้าน
เฟซบุ๊กยังเป็นศูนย์แห่งการเรียนรู้ที่ก่อให้เกิดชุมชนอื่นๆ เกิดขึ้นมากมาย เพื่อแบ่งปันความรู้ทางด้าน
วิชาการและความรู้ทั่วไป ตัวอย่างแรก คือ กลุ่มฉันรักคณิตศาสตร์(I LOVE MATH!) (www.facebook.com
/pages/ I-LOVE-MATH) ส้าหรับแบ่งปันความรู้ด้านคณิตศาสตร์ โดยถึงกรกฎาคม 2554 กลุ่มฉันรักคณิตศาสตร์
มีสมาชิกกว่า 20,000 ราย ตัวอย่างที่สอง คือ กลุ่มท้าอาหาร(Cooking) เว็บ www.facebook.com/pages/Cooking
ส้าหรับแบ่งปันความรู้และทักษะการท้าอาหาร โดยถึงกรกฎาคม 2554 กลุ่มท้าอาหารมีสมาชิกกว่า 6,800,000 ราย
ตัวอย่างที่สาม คือ กลุ่มฟิสิกส์(Physics) เว็บ www.facebook.com/pages/Physics ส้าหรับแบ่งปันข้อมูล
และความรู้ทางฟิสิกส์ โดยถึงกรกฎาคม 2554 กลุ่มฟิสิกส์มีสมาชิกกว่า 195,000 ราย สรุปแล้วอาจกล่าวได้ว่า
เฟซบุ๊กเป็นแหล่งรวมกลุ่มและชุมชนแห่งการเรียนรู้ที่ สร้างและแบ่งปันความรู้ใหม่ๆ แก่กันและกัน
เฟซบุ๊กมีซอฟต์แวร์ประยุกต์ใช้ หรือ แอพพลิเคชัน หรือ“แอพส์ (Apps = Applications)” เพื่อการศึกษา
มากมายที่จะช่วยอ้านวยความสะดวกให้แก่ครูผู้สอนในการเตรียม เนื้อหาการสอนและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ใหม่ๆ
ตัวอย่างแรก คือ “ไฟลส์ (Files)”ส้าหรับอัพโหลดแฟ้มข้อมูลให้กับผู้เรียน ตัวอย่างที่สอง คือ“เมกอะควิซ
(Make a Quiz)”ส้าหรับสร้างค้าถามออนไลน์เพื่อทดสอบความรู้ของผู้เรียน ตัวอย่างที่สามคือ“คาเลนเดอร์
(Calendar)”ส้าหรับสร้างปฏิทินแจ้งเตือนก้าหนดการต่างๆ ตัวอย่างที่สี่ คือคอร์ส(Course) ส้าหรับ จัดการ
เนื้อหาการเรียนการสอน นอกจากนี้ ยังมีแอพส์ที่จะช่วยอ้านวยความสะดวกในการเรียนและแบ่งปันเรื่องราวที่
เป็น ประโยชน์ในการเรียนรู้ส้าหรับผู้เรียน ตัวอย่างเช่น “วีรีด (weRead)” ส้าหรับจัดการรายชื่อหนังสือให้
ผู้สนใจร่วมแสดงความคิดเห็น และ “คลาสโน้ตส์ (Class Notes)”ส้าหรับ ถ่ายภาพในขณะที่ครูผู้สอนเขียน
เนื้อหาบนกระดาน หรือคัดลอกเนื้อหาที่เรียน แล้วน้าไปโพสต่อเพื่อแบ่งปันผู้อื่น ส้าหรับผู้สนใจสามารถเข้า
อินเทอร์เน็ตแล้วค้นหาข้อมูลแอพส์ของเฟซบุ๊กเพื่อการศึกษาได้
จะเห็นได้ว่า เฟซบุ๊กเป็นศูนย์แห่งการเรียนรู้และเป็นห่วงโซ่การศึกษาขนาดใหญ่ที่ทรงประสิทธิภาพใน
การเรียนรู้แบบไร้ขีดจ้ากัด ซึ่งครูผู้สอนและผู้เรียนสามารถเข้าถึงได้จากทุกที่ ทุกเวลา ตลอดวันละ24 ชั่วโมง
สัปดาห์ละ 7 วัน ฉะนั้น ผู้บริหารการศึกษาจึงควรก้าหนดแนวปฏิบัติในการใช้เฟซบุ๊กอย่างเหมาะสมเพื่ช่วยลด
ความเสี่ยงด้านการใช้เฟซบุ๊กไปในทางที่ผิดหรือด้านการก่อให้เกิดความ เสื่อมเสียชื่อเสียงแก่สถานศึกษา
ยิ่งกว่านั้น ผู้บริหารการศึกษาจ้าเป็นต้องพัฒนานโยบายการใช้เฟซบุ๊กที่มีอยู่เป็นระยะๆ เพื่อให้เข้ากับสถานการณ์
และยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงไปด้วย
ที่มา: http://www.dmaonline.in.th/index.php?modules=article&f=view&cat_id=3&id=58
. ...4
การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์)
ด้วยเฟซบุ๊กถือว่าเป็นโซเชียลมิเดียที่ได้รับความนิยามมากที่สุดในขณะนี้ ไม่ว่าจะใคร เพศ วัยใด
ต่างก็ใช้งานเฟซบุ๊ก จนแทบจะกล่าวได้ว่าไม่มีใครไม่รู้จักเฟสบุ๊ก ดังนั้นในบทบาทของครูผู้สอนก็คงปฏิเสธไม่ได้
เช่นกัน ในการที่จะน้ามาเฟซบุ๊กมาเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมการเรียนการสอนในยุคโซเชียลขณะนี้ ในที่นี้ขอ
แบ่งปันเรื่องราวเกี่ยวกับเฟซบุ๊คที่ครูผู้สอนควรรู้ และน้าไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนใน 2 เรื่อง ประกอบด้วย
การสร้างกลุ่ม (Facebook Group) และการสร้างเพจ (Facebook FanPage) รายละเอียดดังนี้
การสร้างกลุ่ม (Facebook Group)
ขั้นที่ 1 ลงมือสร้างกลุ่ม
1. เปิดเฟซบุ๊กไทม์ไลน์ (Facebook Timeline) คลิกหน้าแรก
2. คลิกที่ค้าสั่งสร้างกลุ่ม ดังรูป
3. จะปรากฏดังรูป ตั้งชื่อกลุ่ม ในที่นี้คือ ClassICT’s_krujeera เลือกเพื่อนเข้ากลุ่มอย่างน้อย 1 คน
ก้าหนดความเป็นส่วนตัว เลือกปิด แล้วคลิกสร้าง
. ...5
การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์)
4. จะปรากฏดังรูป ให้คลิกเลือกสัญลักษณ์ประจ้ากลุ่ม (ไม่เลือกก็ได้) จากนั้นคลิกปุ่มตกลง
5. จะปรากฏชื่อกลุ่ม และภาพประจ้าตัวของเราและเพื่อนที่น้าเข้าที่ส่วนบนของกลุ่มดังรูป
ขั้นที่ 2 รับสมาชิกเข้ากลุ่ม
หลังจากสร้างกลุ่มได้แล้วการรับสมาชิกเข้ากลุ่มท้าได้หลายวิธีดังนี้
กรณีพาเพื่อนเข้ากลุ่ม
1. พิมพ์ชื่อเพื่อนที่ช่องเพิ่มบุคคลในกลุ่ม จะปรากฏเพื่อนตามชื่อ จากนั้นคลิกเลือกเพื่อน
2. การเพิ่มเพื่อนอีกให้ท้าแบบเดิม
. ...6
การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์)
กรณีพาบุคลที่ไม่ได้เป็นเพื่อนเข้ากลุ่ม
วิธีนี้เหมาะกับครูผู้สอนที่ต้องการให้นักเรียนเข้ากลุ่มโดยไม่ต้องรับเป็นเพื่อน เพื่อให้สามารถท้า
กิจกรรมการเรียนการสอนร่วมกันในกลุ่มได้ ในที่นี้ขอแนะน้า 2 วิธี ดังนี้
1. เชิญนักเรียนเข้ากลุ่มทางอีเมล วิธีนี้ต้องทราบอีเมลนักเรียน
1.1 เปิดกลุ่มบน Facebook ในที่นี้คือกลุ่ม ClassICT’s_Krujeera ให้คลิกค้าสั่ง เชิญทางอีเมล
1.2 จะปรากฏกล่องเชิญผู้อื่นให้เข้าร่วมกลุ่มทางอีเมล ให้ป้อนชื่ออีเมลนักเรียน โดยสามารถเชิญ
นักเรียนได้หลาย ๆ คนพร้อมกัน ดังรูป จากนั้นคลิกปุ่มเชิญ
.
. ...7
การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์)
1.3 ส้าหรับนักเรียน (ผู้ถูกเชิญทางเมล)
1) ที่อีเมลนักเรียนจะปรากฏอีเมลเชิญเข้าร่วมกลุ่ม ดังรูป ให้คลิกเปิดเมล
2) จะปรากฏดังรูป ให้คลิกปุ่มเข้าร่วมกลุ่ม
3) จะเข้าสู่การขั้นตอนให้เปิด Face นักเรียน เมื่อเปิด Face นักเรียนแล้วจะปรากฏกลุ่ม
ClassICT’s_Krujeera ทันที ให้นักเรียนคลิก เข้าร่วมกลุ่ม
*** จบขั้นตอนในส่วนนักเรียน
. ...8
การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์)
1.4 ส้าหรับครู เมื่อนักเรียนขอเข้ากลุ่ม จะปรากฏค้าร้องขอ ดังรูป ให้คลิกปุ่ม  รับเข้ากลุ่ม
หรือคลิกปุ่ม  กรณีไม่รับเข้ากลุ่ม
1.5 เมื่อครูรับนักเรียนเข้ากลุ่มแล้ว ที่ Facebook นักเรียนจะปรากฏชื่อกลุ่ม ClassICT’s_Krujeera
ที่เมนูดังรูป การเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มให้คลิกที่ชื่อกลุ่มนี้
1.6 เมื่อนักเรียนคลิกชื่อกลุ่มจะได้ดังรูป
. ...9
การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์)
2. ให้นักเรียนขอเข้ากลุ่มผ่านทางเฟซบ๊กไทม์ไลน์ของครู ดังนี้
2.1 ครูแชร์กลุ่ม โดยเปิดกลุ่มแล้วคลิกปุ่ม จากนั้นคลิกค้าสั่ง แชร์กลุ่ม
2.2 จะปรากฏดังรูป ให้พิมพ์ข้อความเชิญนักเรียนเข้ากลุ่ม แล้วคลิกปุ่มแชร์กลุ่ม
2.3 ส้าหรับนักเรียน ให้ค้นหาเฟซบุ๊กไทม์ไลน์ครู โดยพิมพ์ชื่อเฟสบุ๊กครู ในที่นี้คือ
Jeerajaree krujee Srithai จะปรากฏดังรูป จากนั้นคลิกเปิดเฟสบุ๊กครู
. ...10
การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์)
2.4 จะปรากฏเฟซบุ๊กไทม์ไลน์ครูดังรูป ให้นักเรียนคลิกชื่อกลุ่มหรือสัญลักษณ์ประจ้ากลุ่ม
เพื่อเข้าร่วมกลุ่ม
2.5 จากนั้นจะเข้าสู่ขั้นตอนและด้าเนินการตามข้อ 1.3 ข้อ 3) และข้อ 1.4-1.6 ตามล้าดับ
ในหน้าที่ 6-7
ขั้นที่ 3 การระบุรายละเอียดกลุ่ม
1. คลิกแท็ปเกี่ยวกับ แล้วคลิกที่ เพิ่มค้าอธิบาย
2. จะปรากฏดังรูป ให้เพิ่มค้าอธิบาย แล้วคลิกปุ่มบันทึก
. ...11
การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์)
ขั้นที่ 4 การสร้างกิจกรรมในกลุ่ม
1. คลิกค้าสั่งกิจกรรม แล้วคลิกปุ่มสร้างกิจกรรม
2. จะปรากฏหน้าต่างกิจกรรม ให้ตั้งชื่อกิจกรรม ลงรายละเอียด แท็กสถานที่ เลือกวันเวลา และ
เลือกเพื่อนที่จะเชิญ จากนั้นคลิกปุ่ม สร้าง เป็นอันเรียบร้อย
3. จะปรากฏดังรูป ให้คลิกปุ่มเชิญสมาชิก
. ...12
การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์)
4. จะได้ดังรูป ให้คลิกเลือกสมาชิกตามต้องการโดยคลิกที่ช่อง  ให้มีเครื่องหมาย จากนั้น
คลิกปุ่มบันทึก
5. กลับไปที่หน้าของกลุ่มจะปรากฏกิจกรรมนัดหมายดังรูป
. ...13
การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์)
ขั้นที่ 5 การโพสต์รูปภาพ
1. คลิกแท็ปรูปภาพ จากนั้นคลิกปุ่ม อัพโหลดรูปภาพ
2. ไปที่แหล่งเก็บภาพ คลิกเลือกภาพ แล้วคลิกปุ่ม Open
3. จะได้ดังรูป จากนั้นตั้งชื่ออัลบั๊บภาพ ข้อความอธิบายภาพ และคลิกปุ่มโพสต์รูปภาพ
จะปรากฏภาพที่โพสต์ที่หน้าเพจ
. ...14
การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์)
ขั้นที่ 6 การอัพโฟลดไฟล์
1. คลิกแท็ปไฟล์ คลิกที่ปุ่ม อัพโหลดไฟล์
2. จะปรากฏดังรูป ให้พิมพ์ข้อความอธิบาย จากนั้นคลิกปุ่ม Browse
3. ไปยังแหล่งเก็บไฟล์เอกสาร คลิกเลือกไฟล์ แล้วคลิกปุ่ม Open
. ...15
การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์)
4. จะปรากฏชื่อไฟล์ตามที่เลือก ให้คลิกปุ่มบันทึก
5. จะปรากฏไฟล์ที่อัพโหลดแล้วดังรูป ให้คลิกที่ชื่อไฟล์เพื่อดูรายละเอียด หรือคลิกดาวน์โหลด
เพื่อดาวน์โหลดเอกสาร
ขั้นที่ 7 แก้ไขการตั้งค่ากลุ่ม
การปรับแก้ไขการตั้งค่ากลุ่มท้าได้ดังนี้
1. คลิกปุ่ม แล้วคลิกค้าสั่งการตั้งค่ากลุ่ม
. ...16
การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์)
2. จะปรากฏดังรูป ท้าการแก้ไขรายการที่ต้องการ จากนั้นคลิกปุ่ม บันทึก
. ...17
การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์)
การสร้างเพจ (Facebook Fanpage)
ขั้นที่ 1 ลงมือสร้างเพจส่วนตัว
1. เปิดเฟซบุ๊ก ที่ช่อง Address ให้พิมพ์ /page ที่ URL แล้วกด Enter
2. จะเข้าสู่การสร้างหน้าใหม่ดังรูป ให้คลิกที่รูปแบบที่ต้องการสร้าง ในที่นี้เลือก ศิลปิน วง หรือ
บุคคลสาธารณ
3. จากนั้นคลิกเลือกหมวดหมู่ ในที่นี้เลือก ครู
. ...18
การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์)
4. จากนั้นตั้งชื่อเพจ คลิกปุ่ม ฉันยอมรับเงื่อนไขหน้า Facebook แล้วคลิกปุ่มเริ่ม
5. เข้าสู่ขั้นตอนขั้นตอนที่ 1 ให้ป้อนค้าอธิบาย คลิกเลือกรายการ แล้วคลิกปุ่มบันทึกข้อมูล
6. เข้าสู่ขั้นตอนที่ 2 ก้าหนดรูปประจ้าตัว ให้คลิกปุ่มอัพโหลดจากคอมพิวเตอร์
. ...19
การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์)
7. ไปที่แหล่งเก็บภาพ คลิกเลือกภาพ จากนั้นคลิกปุ่ม Open
8. จะได้รูปประจ้าตัวตามที่เลือกดังรูป ให้คลิกปุ่ม ถัดไป
9. เข้าสู่ขั้นตอนที่ 3 ให้คลิกปุ่ม ข้าม
. ...20
การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์)
10. เข้าสู่ขั้นตอนที่ 4 ให้คลิกปุ่มข้าม
11. จะปรากฏดังรูป ให้คลิกปุ่มถูกใจ
12. จะได้ดังรูป ให้คลิกปุ่มถัดไป
. ...21
การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์)
13. จะเข้าสู่หน้าเพจดังรูป ซึ่งเป็นส่วนของแผงควบคุมส้าหรับผู้ดูแล ให้คลิกปุ่มซ่อน
14. จะเข้าสู่หน้าเพจของเราดังรูป ประกอบด้วย ภาพประจ้าตัว ภาพปก (ยังไม่เพิ่ม) ชื่อเรื่องของเพจ
และส่วนแสดงเรื่องราว (ซึ่งสร้างใหม่จะยังไม่มีเรื่องราว)
*** เป็นอันเสร็จขั้นตอนการสร้างเพจ
. ...22
การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์)
ขั้นที่ 2 เพิ่มภาพหน้าปก
1. ให้คลิกปุ่มเพิ่มภาพหน้าปก
2. จะปรากฏดังรูป คลิกปุ่ม ตกลง
3. ไปที่แหล่งเก็บภาพ คลิกเลือกภาพ แล้วคลิกปุ่ม Open
4. จากนั้นคลิกลากเพื่อปรับต้าแหน่งหน้าปก แล้วคลิกปุ่มบันทึกการเปลี่ยนแปลง
. ...23
การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์)
ขั้นที่ 3 การหาแฟน…แบบง่ายๆ
ท้ายังไงนะ…? เขาจะถูกใจเรา
1. เปลี่ยนเพื่อนเป็นแฟน
1.1 ให้คลิกเมนูสร้างผู้ชม จากนั้นคลิกปุ่มเชิญชวนเพื่อน
หรือที่หน้าเพจคลิกที่ ดูทั้งหมด หรือคลิกเชิญเพื่อนเป็นรายคนตามชื่อเพื่อนที่ปรากฏ
1.2 จะปรากฏดังรูปให้คลิกเลือกเพื่อนตามต้องการแล้วคลิกปุ่มส่ง
. ...24
การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์)
2. กรณีอยากได้…ชาวโลกเป็นแฟน
2.1 คลิกเมนู สร้างผู้ชม แล้วคลิกปุ่ม แชร์หน้า
2.2 จะได้ดังรูป พิมพ์ข้อความเชิญชวน…ชาวโลก…เข้าร่วมเป็นแฟน
2.3 คลิกเลือกแหล่งแชร์ จากหนั้นคลิกปุ่ม แชร์หน้า
การแชร์สามารถแชร์ไปยังแหล่งต่างๆ ได้ตามแหล่งที่ปรากฏ เพื่อการเข้าถึงของแฟนบนโลก
ออนไลน์ได้อย่างหลากหลาย
. ...25
การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์)
2.4 กรณีแชร์บนไทม์ไลน์ ที่ไทม์ไลน์จะปรากฏดังรูป เมื่อบุคคลใดผ่านมาเห็นโพสต์นี้แล้วคลิกที่
ลิงค์นี้จะเปิดเพจทันที การเป็นแฟนท้าได้โดยคลิกที่ปุ่มโพสต์นี้
2.5 จะปรากฏหน้าเพจ ให้คลิกถูกใจ เพื่อร่วมเป็นแฟนเพจ…
. ...26
การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์)
ขั้นที่ 5 การอัพเดตข้อมูลหน้า
1. คลิกเมนูแก้ไขเพจ แล้วคลิกที่ค้าสั่ง อัพเดตข้อมูลหน้า หรือคลิกที่ปุ่ม อัพเดตข้อมูลหน้า บนเพจ
2. จะปรากฏดังรูป แก้ไขรายการที่ต้องการโดยคลิกที่รายการที่ต้องการแก้ไข ท้าการแก้ไข
จากนั้นคลิกปุ่มบันทึกการเปลี่ยนแปลง
*** การแก้ไขรายการใดๆ ให้ปฏิบัติตามค้าอธิบายที่ปรากฏ
. ...27
การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์)
ตัวอย่างการอัพเดตข้อมูลหน้า
2.1 การแก้ไขชื่อเพจ
1) คลิกที่ชื่อเพจ
2) จะได้ดังรูป แก้ไขชื่อเพจเดิมในช่องชื่อ แล้วคลิกปุ่ม บันทึกการเปลี่ยนแปลง
2.2 การแก้ไขเริ่มข้อมูล
1) ให้คลิกที่รายการเริ่มข้อมูล เลือก
รายการ ในที่นี้เลือกเปิดตัวเมื่อ
ก้าหนดปี คศ. เดือน และวัน
จากนั้นคลิกปุ่ม
บันทึกการเปลี่ยนแปลง
2) ที่ส่วนท้ายของเพจจะปรากฏดังรูป
. ...28
การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์)
ขั้นที่ 6 การโพสต์เรื่องราว
6.1 การโพสต์ข้อความ ให้พิมพ์ข้อความในช่องสถานะ แล้วคลิกปุ่ม โพสต์
6.2 การโพสต์รูปภาพ
1. คลิกที่แท็ป รูปภาพ/วิดีโอ คลิกที่ปุ่ม อัพโหลดรูปภาพ/วิดีโอ เพื่อโพสต์ภาพเดียว กรณี
ต้องการโพสต์หลายรูปครั้งเดียวให้คลิกที่ สร้างอัลบั้มรูปภาพ
2. จากนั้นพิมพ์ข้อความอธิบายภาพ แล้วคลิกปุ่ม Browse เพื่อไปยังแหล่งเก็บภาพ
. ...29
การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์)
3. ไปที่แหล่งเก็บภาพ จากนั้นคลิกเลือก 1 ภาพ แล้วคลิกปุ่ม Open
4. จะปรากฏชื่อไฟล์ภาพดังรูป ให้คลิกปุ่ม โพสต์
5. จะปรากฏดังรูป
. ...30
การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์)
กรณีต้องการโพสต์หลายภาพหรือสร้างอัลบั้มรูปภาพ ให้ท้าดังนี้
1. คลิกที่แท็ป รูปภาพ/วิดีโอ ต้องการโพสต์หลายรูปครั้งเดียวให้คลิกที่ สร้างอัลบั้มรูปภาพ
2. ไปที่แหล่งเก็บภาพ กดปุ่ม Ctrl บนแป้นพิมพ์ค้างไว้ แล้วคลิกเลือกภาพ เมื่อได้ภาพครบตาม
ต้องการแล้วปล่อยปุ่ม Ctrl แล้วคลิกปุ่ม Open
3. จะเข้าสู่จอภาพการอัพโหลด ให้ตั้งชื่ออัลบั๊ม ค้าอธิบายอัลบั๊ม ระบุสถานที่ถ่ายภาพ
เมื่อการอัพโหลดสมบูรณ์ ให้คลิกปุ่มโพสต์รูปภาพ
. ...31
การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์)
6.3 การโพสต์เว็บไซท์/วีดีโอจากเว็บไซท์ยูทูป
1. เมื่อพบเว็บไซท์ที่มีเรื่องราวต้องการน้ามาแบ่งปันบนเพจของเรา ให้คัดลอก URL ของเว็บ
ไซท์นั้น โดยลากเมาส์คลุม URL คลิกขวา แล้วคลิกค้าสั่ง Copy ดังรูป
2. การโพสต์ให้ไปที่หน้าเพจของเรา ที่ช่องสถานะพิมพ์ข้อความน้าดังตัวอย่าง จากนั้นคลิกขวา
แล้วคลิกค้าสั่ง Past เพื่อวาง URL ที่คัดลอกไว้ ดังรูป
3. จะได้ดังรูป ให้คลิกปุ่ม โพสต์
*** การโพสต์วีดีโอจากเว็บไซท์ยูทูปก็ด้าเนินการในลักษณะเดียวกันนี้
. ...32
การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์)
ขั้นที่ 7 การลบเพจ
1. ที่เมนู คลิกค้าสั่งแก้ไขเพจ แล้วคลิกค้าสั่งการตั้งค่า
2. จะปรากฏค้าสั่งชุดการตั้งค่าทั้งหมด ให้คลิกเลือกค้าสั่ง ลบหน้าของคุณ ซึ่งเป็นค้าสั่งสุดท้าย
3. จะปรากฏดังรูป คลิกที่ ลบ
4. จะปรากฏดังรูป ให้คลิกปุ่ม Delete Page หรือถ้าเปลี่ยนใจไม่ลบเพจ ให้คลิกปุ่ม ยกเลิก
. ...33
การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์)
แหล่งอ้างอิง
http://www.dmaonline.in.th/index.php?modules=article&f=view&cat_id=3&id=58
สืบค้น 28 กรกฏาคม 2556.
https://www.facebook.com/krujeera. สืบค้น 26-31 กรกฏาคม 2556.
https://www.facebook.com/groups/krujeera/?bookmark_t=group. สืบค้น 26-31 กรกฏาคม
2556.
https://www.facebook.com/pages/การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้วย-Desktop-Author/
404206066366325?bookmark_t=page. สืบค้น 31 กรกฏาคม 2556.
https://www.facebook.com/padcharida.tamsud?fref=ts. สืบค้น 29 กรกฏาคม 2556
https://www.facebook.com/groups/socialmedia33/?bookmark_t=group. สืบค้น 30 กรกฏาคม
2556ใ
ขอขอบคุณ
เจ้าของเว็บไซท์ต่างๆ เจ้าของรูปภาพทุกๆ ท่านที่ปรากฏในเอกสารเล่มนี้ เป็นอย่างสูง

More Related Content

Viewers also liked

ลบเสียงรบกวนโปรแกรม Adacity
ลบเสียงรบกวนโปรแกรม Adacityลบเสียงรบกวนโปรแกรม Adacity
ลบเสียงรบกวนโปรแกรม AdacityJeeraJaree Srithai
 
บทความวิจัยในชั้นเรียนจีรา ศรีไทย
บทความวิจัยในชั้นเรียนจีรา ศรีไทยบทความวิจัยในชั้นเรียนจีรา ศรีไทย
บทความวิจัยในชั้นเรียนจีรา ศรีไทยJeeraJaree Srithai
 
Facebook for_education_By krujeera srithai
Facebook for_education_By krujeera srithaiFacebook for_education_By krujeera srithai
Facebook for_education_By krujeera srithaiJeeraJaree Srithai
 
วิธีส่งเมลแนบไฟล์
วิธีส่งเมลแนบไฟล์วิธีส่งเมลแนบไฟล์
วิธีส่งเมลแนบไฟล์JeeraJaree Srithai
 
02ใบความรู้ 5.1 เรื่อง บล๊อกคืออะไร
02ใบความรู้ 5.1 เรื่อง บล๊อกคืออะไร02ใบความรู้ 5.1 เรื่อง บล๊อกคืออะไร
02ใบความรู้ 5.1 เรื่อง บล๊อกคืออะไรJeeraJaree Srithai
 
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อJeeraJaree Srithai
 
3บทคัดย่อวิจัยเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติ
3บทคัดย่อวิจัยเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติ3บทคัดย่อวิจัยเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติ
3บทคัดย่อวิจัยเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติJeeraJaree Srithai
 
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์JeeraJaree Srithai
 
01ใบความรู้ที่ 1.1 การสร้างไซท์
01ใบความรู้ที่ 1.1 การสร้างไซท์01ใบความรู้ที่ 1.1 การสร้างไซท์
01ใบความรู้ที่ 1.1 การสร้างไซท์JeeraJaree Srithai
 
วิธีส่งเมลแนบไฟล์
วิธีส่งเมลแนบไฟล์วิธีส่งเมลแนบไฟล์
วิธีส่งเมลแนบไฟล์JeeraJaree Srithai
 
4บทคัดย่อ html
4บทคัดย่อ html4บทคัดย่อ html
4บทคัดย่อ htmlJeeraJaree Srithai
 
02ใบความรู้ที่2.1 อีเมล
02ใบความรู้ที่2.1 อีเมล02ใบความรู้ที่2.1 อีเมล
02ใบความรู้ที่2.1 อีเมลJeeraJaree Srithai
 
บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...
บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...
บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...JeeraJaree Srithai
 

Viewers also liked (15)

ลบเสียงรบกวนโปรแกรม Adacity
ลบเสียงรบกวนโปรแกรม Adacityลบเสียงรบกวนโปรแกรม Adacity
ลบเสียงรบกวนโปรแกรม Adacity
 
Audacity use
Audacity useAudacity use
Audacity use
 
05 25072556 patsdu
05 25072556 patsdu05 25072556 patsdu
05 25072556 patsdu
 
บทความวิจัยในชั้นเรียนจีรา ศรีไทย
บทความวิจัยในชั้นเรียนจีรา ศรีไทยบทความวิจัยในชั้นเรียนจีรา ศรีไทย
บทความวิจัยในชั้นเรียนจีรา ศรีไทย
 
Facebook for_education_By krujeera srithai
Facebook for_education_By krujeera srithaiFacebook for_education_By krujeera srithai
Facebook for_education_By krujeera srithai
 
วิธีส่งเมลแนบไฟล์
วิธีส่งเมลแนบไฟล์วิธีส่งเมลแนบไฟล์
วิธีส่งเมลแนบไฟล์
 
02ใบความรู้ 5.1 เรื่อง บล๊อกคืออะไร
02ใบความรู้ 5.1 เรื่อง บล๊อกคืออะไร02ใบความรู้ 5.1 เรื่อง บล๊อกคืออะไร
02ใบความรู้ 5.1 เรื่อง บล๊อกคืออะไร
 
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
 
3บทคัดย่อวิจัยเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติ
3บทคัดย่อวิจัยเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติ3บทคัดย่อวิจัยเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติ
3บทคัดย่อวิจัยเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติ
 
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
 
01ใบความรู้ที่ 1.1 การสร้างไซท์
01ใบความรู้ที่ 1.1 การสร้างไซท์01ใบความรู้ที่ 1.1 การสร้างไซท์
01ใบความรู้ที่ 1.1 การสร้างไซท์
 
วิธีส่งเมลแนบไฟล์
วิธีส่งเมลแนบไฟล์วิธีส่งเมลแนบไฟล์
วิธีส่งเมลแนบไฟล์
 
4บทคัดย่อ html
4บทคัดย่อ html4บทคัดย่อ html
4บทคัดย่อ html
 
02ใบความรู้ที่2.1 อีเมล
02ใบความรู้ที่2.1 อีเมล02ใบความรู้ที่2.1 อีเมล
02ใบความรู้ที่2.1 อีเมล
 
บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...
บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...
บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...
 

Similar to คู่มือFacebookอบรมsocial media สพม.33 โดยครูจีรา ศรีไทย

เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ Social Media
เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ Social Mediaเอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ Social Media
เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ Social MediaTeemtaro Chaiwongkhot
 
การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003
การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003
การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003peter dontoom
 
FACEBOOK: The Practice of Social Constructivist in Blended Learning
FACEBOOK: The Practice of Social Constructivist in Blended Learning FACEBOOK: The Practice of Social Constructivist in Blended Learning
FACEBOOK: The Practice of Social Constructivist in Blended Learning kulachai
 
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op kumahaoath พระมหาโอ๊ท
 
Model of learning by social media
Model of learning by social mediaModel of learning by social media
Model of learning by social mediaKrit Chanthraphrom
 
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003Thidarat Termphon
 
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนนคู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนนครูทัศรินทร์ บุญพร้อม
 
Is3 การจัดกิจกรรมการนำองค์ความรู้ กลุ่ม1
Is3 การจัดกิจกรรมการนำองค์ความรู้ กลุ่ม1Is3 การจัดกิจกรรมการนำองค์ความรู้ กลุ่ม1
Is3 การจัดกิจกรรมการนำองค์ความรู้ กลุ่ม1พัน พัน
 
หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์Narathip Khrongyut
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5kruwaeo
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1Thanyalux Kanthong
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1Thanyalux Kanthong
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1Thanyalux Kanthong
 

Similar to คู่มือFacebookอบรมsocial media สพม.33 โดยครูจีรา ศรีไทย (20)

เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ Social Media
เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ Social Mediaเอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ Social Media
เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ Social Media
 
การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003
การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003
การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003
 
FACEBOOK: The Practice of Social Constructivist in Blended Learning
FACEBOOK: The Practice of Social Constructivist in Blended Learning FACEBOOK: The Practice of Social Constructivist in Blended Learning
FACEBOOK: The Practice of Social Constructivist in Blended Learning
 
Social media
Social mediaSocial media
Social media
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Model of learning by social media
Model of learning by social mediaModel of learning by social media
Model of learning by social media
 
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
 
ใบงาน2-8
ใบงาน2-8ใบงาน2-8
ใบงาน2-8
 
2-8
2-82-8
2-8
 
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนนคู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
 
The best teacher_of_social_media
The best teacher_of_social_mediaThe best teacher_of_social_media
The best teacher_of_social_media
 
The Best Teacher of Social Media
The Best Teacher of Social MediaThe Best Teacher of Social Media
The Best Teacher of Social Media
 
Is3 การจัดกิจกรรมการนำองค์ความรู้ กลุ่ม1
Is3 การจัดกิจกรรมการนำองค์ความรู้ กลุ่ม1Is3 การจัดกิจกรรมการนำองค์ความรู้ กลุ่ม1
Is3 การจัดกิจกรรมการนำองค์ความรู้ กลุ่ม1
 
หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 

คู่มือFacebookอบรมsocial media สพม.33 โดยครูจีรา ศรีไทย

  • 1. เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ใช้โซเชียลมิเดีย สาหรับครูในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 รุ่นที่ 1 ครูแกนนา ระหว่างวันที่ 8-10 สิงหาคม 2556 ณ ห้องประชุมชั้น 3 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 การใช้เฟชบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 (สุรินทร์) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 2. . ...2 การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์) การใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดย…ครูจีรา ศรีไทยโรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์) Mail:krujeera1@gmail.com ศ.ดร.ศรีศักดิ์ จามรมาน ( 2554 : 3 พฤศจิกายน 2554) ได้กล่าวถึง การใช้เฟซบุ๊กเป็นศูนย์แห่งการเรียนรู้ ในสถานศึกษา มีรายละเอียดน่าสนใจดังนี้ เฟซบุ๊ก มีผู้เข้าชมที่ไม่ซ้้ากัน(โดยไม่นับจ้านวนการใช้ของผู้ที่เข้าชมซ้้า) เฉลี่ยเดือนละ 700 ล้านคน และจากสถิติที่ประกาศโดยเว็บ “เฟซบุ๊ก (www.facebook.com)”เมื่อ กรกฎาคม 2554 มีผู้ใช้เฟซบุ๊กเป็นประจ้า กว่า 750 ล้านคน โดยแต่ละวันมีผู้ใช้เฟซบุ๊กกว่า 375 ล้านคน และผู้ใช้เฟซบุ๊กแต่ละคนมีเพื่อนในเฟซบุ๊กประมาณ 130 คน อาจกล่าวได้ว่า เฟซบุ๊กเป็นศูนย์แห่งการเรียนรู้ที่ยังคงเฟื่องฟูและได้รับความนิยมอย่างต่อ เนื่องจึงส่งผลให้ สถานศึกษาต่างๆ น้าเฟซบุ๊กไปประยุกต์ใช้เป็นศูนย์แห่งการเรียนรู้ในสถานศึกษาเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และแบ่งปันข้อมูลด้านวิชาการ ในการเรียนการสอนรวมถึงการส่งเสริมความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันระหว่างครูผู้สอน กับครูผู้สอน ระหว่างครูผู้สอนกับผู้เรียน และผู้เรียนกับผู้เรียน จากการค้น “เฟซบุ๊กเพื่อการศึกษา (Facebook for Education)” ในกูเกิลจะพบแหล่งข้อมูล 922 ล้าน รายการและจากการค้น “ศูนย์แห่งการเรียนรู้บนเฟซบุ๊ก (Learning Center on Facebook)” ในกูเกิลจะพบ แหล่งข้อมูล 173 ล้านรายการ จะเห็นได้ว่ามีการน้าเฟซบุ๊กไปประยุกต์ใช้เพื่อการศึกษาและเป็นศูนย์แห่งการ เรียนรู้ ในสาขาวิชาต่างๆ มากมาย ยิ่งกว่าไปนั้น เฟซบุ๊กได้เป็นสื่อสังคมยอดนิยมส้าหรับครูผู้สอน ซึ่งเมื่อเมษายน 2554 “เพียร์สัน (Pearson)”ได้รายงานผลส้ารวจการใช้สื่อสังคมของครูผู้สอนใระดับอุดมศึกษาประมาณ 2,000 แห่ง จากบล็อก “เอ็ดดูเดมิก (edudemic.com)”สรุปได้ว่า ครูผู้สอนร้อยละ 57 นิยมใช้เฟซบุ๊กในด้านส่วนตัวและ ครูผู้สอนร้อยละ 30 ใช้เฟซบุ๊กในด้านวิชาชีพ เว็บ “พีซีเทคแม็กกาซีน (www.pctechmagazine.com)” ได้อ้างถึงเหตุผล 4 ประการที่ครูผู้สอน ควรพิจารณาเลือกใช้เฟซ บุ๊กเป็นศูนย์แห่งการเรียนรู้ในสถานศึกษา ประการแรก คือ การพัฒนาด้านภาษาซึ่ง ครูผู้สอนและผู้เรียนจ้าเป็นต้องใช้เฟซบุ๊กในการติดต่อสื่อสารและแสดงความเห็นต่างๆ เกี่ยวกับวิชาที่เรียนบนเฟซบุ๊ก ทั้งนี้ การใช้เฟซบุ๊กเป็นประจ้าในการเขียนและอ่านข้อความต่างๆ จะช่วยให้ผู้เรียนได้ฝึกการเขียน การสะกดค้า และการใช้ไวยากรณ์ที่ถูกต้อง ประการที่สอง คือ การสื่อสารระหว่างบุคคลซึ่ง เป็นสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่าง ครูผู้สอนกับครูผู้สอน ระหว่างครูผู้สอนกับผู้เรียน และผู้เรียนกับผู้เรียนในการติดต่อสื่อสารและแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ร่วมกัน รวมถึงสนับสนุนให้ผู้เรียนกล้าที่จะแสดงความคิดเห็นต่างๆ มากยิ่งขึ้น ประการที่สาม คือ การท้างานร่วมกันเป็นกลุ่มซึ่ง เฟซบุ๊กเป็นอีกช่องทางหนึ่งที่เปิดโอกาสให้ ผู้เรียนผู้ใดผู้หนึ่งจะต้องรับผิดชอบงาน ที่ได้รับมอบหมายร่วมกับผู้เรียน ผู้อื่นเป็นกลุ่ม ซึ่งเป็นการฝึกทักษะการเป็นผู้น้าและการเป็นผู้ตาม และประการที่สี่ คือ เพิ่มทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ซึ่งการใช้เฟซบุ๊กในการเรียนการสอน จะช่วยผู้เรียนมี ความสนใจและมีความกระตือรือร้นที่จะเรียนรู้เกี่ยวกับการ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใหม่ๆ สิ่งที่ครูผู้สอนพึงปฏิบัติในการใช้เฟซบุ๊กเป็นศูนย์แห่งการเรียนรู้ร่วมกับผู้เรียนนั้น เมื่อมิถุนายน 2554 เว็บ “ออลเฟซบุ๊ก(www.allfacebook.com)”ได้น้าเสนอเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติที่ดีที่สุดไว้ 7 ประการเพื่อเป็นแนวทาง ให้ครูผู้สอนใช้เฟซบุ๊กได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ประการแรกคือ ห้ามครูผู้สอนระบายอารมณ์และความรู้สึกต่างๆ ที่มีต่อผู้เรียนในเชิงลบผ่านเฟซบุ๊ก ประการที่สองคือ ควรก้าหนดนโยบายและแนวปฏิบัติในการใช้สื่อสังคมร่วมกัน ระหว่างครูผู้สอนและผู้เรียนให้ชัดเจน ประการที่สามคือ ในกรณีที่ยกเลิกการเรียนการสอนในห้องเรียนเพราะ สภาพอากาศไม่เอื้ออ้านวย ครูผู้สอนสามารถใช้เฟซบุ๊กเป็นศูนย์แห่งการเรียนรู้ร่วมกับผู้เรียนโดยการก้าหนด
  • 3. . ...3 การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์) หัวข้อเกี่ยวกับวิชาที่สอนเพื่อให้ผู้เรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น ประการที่สี่ คือ ไม่ควรใช้ข้อความที่รุนแรง ใน การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผู้เรียนและสถานศึกษา ประการที่ห้าคือ หลีกเลี่ยงการแสดงข้อความที่ก่อให้เกิด ข้อโต้แย้งที่รุนแรง ประการที่หกคือ ควรตั้งค่าการแสดงความคิดเห็นต่างๆ ที่ผู้เรียนทุกคนสามารถเข้าไปอ่านได้ และประการที่เจ็ดคือ ควรแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผู้เรียนในเชิงบวกเท่านั้น จากความนิยมเฟซบุ๊กจึงมีผู้เชี่ยวชาญด้านวิชาการและครูผู้สอนรวมกลุ่มกันมากมายบนเฟซบุ๊ก ขอยกตัวอย่างที่น่าสนใจเพื่อให้ครูผู้สอนได้น้าไปศึกษาและประยุกต์ใช้ให้ เหมาะกับสถานศึกษาของตน ตัวอย่าง กลุ่มแรก คือ กลุ่ม “เฟซบุ๊กฟอร์เอ็ดดูเค เตอร์ส (Facebook for Educators)” เป็นกลุ่มที่ให้ค้าแนะน้าเกี่ยวกับ การใช้เฟซบุ๊กอย่างไรให้ประสบความส้าเร็จในการเรียนการสอน ตัวอย่างกลุ่มที่สอง คือ กลุ่ม “คลาสรูม อินสตรักชันอินเฟซบุ๊ก (Classroom Instruction in Facebook)” เป็นกลุ่มของครูผู้สอนที่ใช้เฟซบุ๊กเป็นส่วนเสริม ในการสอนวิธีการใช้ห้องสมุด ตัวอย่างกลุ่มที่สาม คือ กลุ่ม “ยูสด์เท็กซ์บุ๊ก (Used Text Book)”เป็นกลุ่มที่เปิดเป็น พื้นที่ส้าหรับซื้อขายหนังสือเรียนที่ใช้แล้ว และตัวอย่างกลุ่มที่สี่ คือ กลุ่ม “โฮมเวิร์กเฮลพ์ (Homework Help)” เป็นกลุ่มที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ช่วยกันหาข้อมูลเพื่อท้าการบ้าน เฟซบุ๊กยังเป็นศูนย์แห่งการเรียนรู้ที่ก่อให้เกิดชุมชนอื่นๆ เกิดขึ้นมากมาย เพื่อแบ่งปันความรู้ทางด้าน วิชาการและความรู้ทั่วไป ตัวอย่างแรก คือ กลุ่มฉันรักคณิตศาสตร์(I LOVE MATH!) (www.facebook.com /pages/ I-LOVE-MATH) ส้าหรับแบ่งปันความรู้ด้านคณิตศาสตร์ โดยถึงกรกฎาคม 2554 กลุ่มฉันรักคณิตศาสตร์ มีสมาชิกกว่า 20,000 ราย ตัวอย่างที่สอง คือ กลุ่มท้าอาหาร(Cooking) เว็บ www.facebook.com/pages/Cooking ส้าหรับแบ่งปันความรู้และทักษะการท้าอาหาร โดยถึงกรกฎาคม 2554 กลุ่มท้าอาหารมีสมาชิกกว่า 6,800,000 ราย ตัวอย่างที่สาม คือ กลุ่มฟิสิกส์(Physics) เว็บ www.facebook.com/pages/Physics ส้าหรับแบ่งปันข้อมูล และความรู้ทางฟิสิกส์ โดยถึงกรกฎาคม 2554 กลุ่มฟิสิกส์มีสมาชิกกว่า 195,000 ราย สรุปแล้วอาจกล่าวได้ว่า เฟซบุ๊กเป็นแหล่งรวมกลุ่มและชุมชนแห่งการเรียนรู้ที่ สร้างและแบ่งปันความรู้ใหม่ๆ แก่กันและกัน เฟซบุ๊กมีซอฟต์แวร์ประยุกต์ใช้ หรือ แอพพลิเคชัน หรือ“แอพส์ (Apps = Applications)” เพื่อการศึกษา มากมายที่จะช่วยอ้านวยความสะดวกให้แก่ครูผู้สอนในการเตรียม เนื้อหาการสอนและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ใหม่ๆ ตัวอย่างแรก คือ “ไฟลส์ (Files)”ส้าหรับอัพโหลดแฟ้มข้อมูลให้กับผู้เรียน ตัวอย่างที่สอง คือ“เมกอะควิซ (Make a Quiz)”ส้าหรับสร้างค้าถามออนไลน์เพื่อทดสอบความรู้ของผู้เรียน ตัวอย่างที่สามคือ“คาเลนเดอร์ (Calendar)”ส้าหรับสร้างปฏิทินแจ้งเตือนก้าหนดการต่างๆ ตัวอย่างที่สี่ คือคอร์ส(Course) ส้าหรับ จัดการ เนื้อหาการเรียนการสอน นอกจากนี้ ยังมีแอพส์ที่จะช่วยอ้านวยความสะดวกในการเรียนและแบ่งปันเรื่องราวที่ เป็น ประโยชน์ในการเรียนรู้ส้าหรับผู้เรียน ตัวอย่างเช่น “วีรีด (weRead)” ส้าหรับจัดการรายชื่อหนังสือให้ ผู้สนใจร่วมแสดงความคิดเห็น และ “คลาสโน้ตส์ (Class Notes)”ส้าหรับ ถ่ายภาพในขณะที่ครูผู้สอนเขียน เนื้อหาบนกระดาน หรือคัดลอกเนื้อหาที่เรียน แล้วน้าไปโพสต่อเพื่อแบ่งปันผู้อื่น ส้าหรับผู้สนใจสามารถเข้า อินเทอร์เน็ตแล้วค้นหาข้อมูลแอพส์ของเฟซบุ๊กเพื่อการศึกษาได้ จะเห็นได้ว่า เฟซบุ๊กเป็นศูนย์แห่งการเรียนรู้และเป็นห่วงโซ่การศึกษาขนาดใหญ่ที่ทรงประสิทธิภาพใน การเรียนรู้แบบไร้ขีดจ้ากัด ซึ่งครูผู้สอนและผู้เรียนสามารถเข้าถึงได้จากทุกที่ ทุกเวลา ตลอดวันละ24 ชั่วโมง สัปดาห์ละ 7 วัน ฉะนั้น ผู้บริหารการศึกษาจึงควรก้าหนดแนวปฏิบัติในการใช้เฟซบุ๊กอย่างเหมาะสมเพื่ช่วยลด ความเสี่ยงด้านการใช้เฟซบุ๊กไปในทางที่ผิดหรือด้านการก่อให้เกิดความ เสื่อมเสียชื่อเสียงแก่สถานศึกษา ยิ่งกว่านั้น ผู้บริหารการศึกษาจ้าเป็นต้องพัฒนานโยบายการใช้เฟซบุ๊กที่มีอยู่เป็นระยะๆ เพื่อให้เข้ากับสถานการณ์ และยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงไปด้วย ที่มา: http://www.dmaonline.in.th/index.php?modules=article&f=view&cat_id=3&id=58
  • 4. . ...4 การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์) ด้วยเฟซบุ๊กถือว่าเป็นโซเชียลมิเดียที่ได้รับความนิยามมากที่สุดในขณะนี้ ไม่ว่าจะใคร เพศ วัยใด ต่างก็ใช้งานเฟซบุ๊ก จนแทบจะกล่าวได้ว่าไม่มีใครไม่รู้จักเฟสบุ๊ก ดังนั้นในบทบาทของครูผู้สอนก็คงปฏิเสธไม่ได้ เช่นกัน ในการที่จะน้ามาเฟซบุ๊กมาเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมการเรียนการสอนในยุคโซเชียลขณะนี้ ในที่นี้ขอ แบ่งปันเรื่องราวเกี่ยวกับเฟซบุ๊คที่ครูผู้สอนควรรู้ และน้าไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนใน 2 เรื่อง ประกอบด้วย การสร้างกลุ่ม (Facebook Group) และการสร้างเพจ (Facebook FanPage) รายละเอียดดังนี้ การสร้างกลุ่ม (Facebook Group) ขั้นที่ 1 ลงมือสร้างกลุ่ม 1. เปิดเฟซบุ๊กไทม์ไลน์ (Facebook Timeline) คลิกหน้าแรก 2. คลิกที่ค้าสั่งสร้างกลุ่ม ดังรูป 3. จะปรากฏดังรูป ตั้งชื่อกลุ่ม ในที่นี้คือ ClassICT’s_krujeera เลือกเพื่อนเข้ากลุ่มอย่างน้อย 1 คน ก้าหนดความเป็นส่วนตัว เลือกปิด แล้วคลิกสร้าง
  • 5. . ...5 การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์) 4. จะปรากฏดังรูป ให้คลิกเลือกสัญลักษณ์ประจ้ากลุ่ม (ไม่เลือกก็ได้) จากนั้นคลิกปุ่มตกลง 5. จะปรากฏชื่อกลุ่ม และภาพประจ้าตัวของเราและเพื่อนที่น้าเข้าที่ส่วนบนของกลุ่มดังรูป ขั้นที่ 2 รับสมาชิกเข้ากลุ่ม หลังจากสร้างกลุ่มได้แล้วการรับสมาชิกเข้ากลุ่มท้าได้หลายวิธีดังนี้ กรณีพาเพื่อนเข้ากลุ่ม 1. พิมพ์ชื่อเพื่อนที่ช่องเพิ่มบุคคลในกลุ่ม จะปรากฏเพื่อนตามชื่อ จากนั้นคลิกเลือกเพื่อน 2. การเพิ่มเพื่อนอีกให้ท้าแบบเดิม
  • 6. . ...6 การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์) กรณีพาบุคลที่ไม่ได้เป็นเพื่อนเข้ากลุ่ม วิธีนี้เหมาะกับครูผู้สอนที่ต้องการให้นักเรียนเข้ากลุ่มโดยไม่ต้องรับเป็นเพื่อน เพื่อให้สามารถท้า กิจกรรมการเรียนการสอนร่วมกันในกลุ่มได้ ในที่นี้ขอแนะน้า 2 วิธี ดังนี้ 1. เชิญนักเรียนเข้ากลุ่มทางอีเมล วิธีนี้ต้องทราบอีเมลนักเรียน 1.1 เปิดกลุ่มบน Facebook ในที่นี้คือกลุ่ม ClassICT’s_Krujeera ให้คลิกค้าสั่ง เชิญทางอีเมล 1.2 จะปรากฏกล่องเชิญผู้อื่นให้เข้าร่วมกลุ่มทางอีเมล ให้ป้อนชื่ออีเมลนักเรียน โดยสามารถเชิญ นักเรียนได้หลาย ๆ คนพร้อมกัน ดังรูป จากนั้นคลิกปุ่มเชิญ .
  • 7. . ...7 การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์) 1.3 ส้าหรับนักเรียน (ผู้ถูกเชิญทางเมล) 1) ที่อีเมลนักเรียนจะปรากฏอีเมลเชิญเข้าร่วมกลุ่ม ดังรูป ให้คลิกเปิดเมล 2) จะปรากฏดังรูป ให้คลิกปุ่มเข้าร่วมกลุ่ม 3) จะเข้าสู่การขั้นตอนให้เปิด Face นักเรียน เมื่อเปิด Face นักเรียนแล้วจะปรากฏกลุ่ม ClassICT’s_Krujeera ทันที ให้นักเรียนคลิก เข้าร่วมกลุ่ม *** จบขั้นตอนในส่วนนักเรียน
  • 8. . ...8 การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์) 1.4 ส้าหรับครู เมื่อนักเรียนขอเข้ากลุ่ม จะปรากฏค้าร้องขอ ดังรูป ให้คลิกปุ่ม  รับเข้ากลุ่ม หรือคลิกปุ่ม  กรณีไม่รับเข้ากลุ่ม 1.5 เมื่อครูรับนักเรียนเข้ากลุ่มแล้ว ที่ Facebook นักเรียนจะปรากฏชื่อกลุ่ม ClassICT’s_Krujeera ที่เมนูดังรูป การเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มให้คลิกที่ชื่อกลุ่มนี้ 1.6 เมื่อนักเรียนคลิกชื่อกลุ่มจะได้ดังรูป
  • 9. . ...9 การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์) 2. ให้นักเรียนขอเข้ากลุ่มผ่านทางเฟซบ๊กไทม์ไลน์ของครู ดังนี้ 2.1 ครูแชร์กลุ่ม โดยเปิดกลุ่มแล้วคลิกปุ่ม จากนั้นคลิกค้าสั่ง แชร์กลุ่ม 2.2 จะปรากฏดังรูป ให้พิมพ์ข้อความเชิญนักเรียนเข้ากลุ่ม แล้วคลิกปุ่มแชร์กลุ่ม 2.3 ส้าหรับนักเรียน ให้ค้นหาเฟซบุ๊กไทม์ไลน์ครู โดยพิมพ์ชื่อเฟสบุ๊กครู ในที่นี้คือ Jeerajaree krujee Srithai จะปรากฏดังรูป จากนั้นคลิกเปิดเฟสบุ๊กครู
  • 10. . ...10 การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์) 2.4 จะปรากฏเฟซบุ๊กไทม์ไลน์ครูดังรูป ให้นักเรียนคลิกชื่อกลุ่มหรือสัญลักษณ์ประจ้ากลุ่ม เพื่อเข้าร่วมกลุ่ม 2.5 จากนั้นจะเข้าสู่ขั้นตอนและด้าเนินการตามข้อ 1.3 ข้อ 3) และข้อ 1.4-1.6 ตามล้าดับ ในหน้าที่ 6-7 ขั้นที่ 3 การระบุรายละเอียดกลุ่ม 1. คลิกแท็ปเกี่ยวกับ แล้วคลิกที่ เพิ่มค้าอธิบาย 2. จะปรากฏดังรูป ให้เพิ่มค้าอธิบาย แล้วคลิกปุ่มบันทึก
  • 11. . ...11 การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์) ขั้นที่ 4 การสร้างกิจกรรมในกลุ่ม 1. คลิกค้าสั่งกิจกรรม แล้วคลิกปุ่มสร้างกิจกรรม 2. จะปรากฏหน้าต่างกิจกรรม ให้ตั้งชื่อกิจกรรม ลงรายละเอียด แท็กสถานที่ เลือกวันเวลา และ เลือกเพื่อนที่จะเชิญ จากนั้นคลิกปุ่ม สร้าง เป็นอันเรียบร้อย 3. จะปรากฏดังรูป ให้คลิกปุ่มเชิญสมาชิก
  • 12. . ...12 การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์) 4. จะได้ดังรูป ให้คลิกเลือกสมาชิกตามต้องการโดยคลิกที่ช่อง  ให้มีเครื่องหมาย จากนั้น คลิกปุ่มบันทึก 5. กลับไปที่หน้าของกลุ่มจะปรากฏกิจกรรมนัดหมายดังรูป
  • 13. . ...13 การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์) ขั้นที่ 5 การโพสต์รูปภาพ 1. คลิกแท็ปรูปภาพ จากนั้นคลิกปุ่ม อัพโหลดรูปภาพ 2. ไปที่แหล่งเก็บภาพ คลิกเลือกภาพ แล้วคลิกปุ่ม Open 3. จะได้ดังรูป จากนั้นตั้งชื่ออัลบั๊บภาพ ข้อความอธิบายภาพ และคลิกปุ่มโพสต์รูปภาพ จะปรากฏภาพที่โพสต์ที่หน้าเพจ
  • 14. . ...14 การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์) ขั้นที่ 6 การอัพโฟลดไฟล์ 1. คลิกแท็ปไฟล์ คลิกที่ปุ่ม อัพโหลดไฟล์ 2. จะปรากฏดังรูป ให้พิมพ์ข้อความอธิบาย จากนั้นคลิกปุ่ม Browse 3. ไปยังแหล่งเก็บไฟล์เอกสาร คลิกเลือกไฟล์ แล้วคลิกปุ่ม Open
  • 15. . ...15 การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์) 4. จะปรากฏชื่อไฟล์ตามที่เลือก ให้คลิกปุ่มบันทึก 5. จะปรากฏไฟล์ที่อัพโหลดแล้วดังรูป ให้คลิกที่ชื่อไฟล์เพื่อดูรายละเอียด หรือคลิกดาวน์โหลด เพื่อดาวน์โหลดเอกสาร ขั้นที่ 7 แก้ไขการตั้งค่ากลุ่ม การปรับแก้ไขการตั้งค่ากลุ่มท้าได้ดังนี้ 1. คลิกปุ่ม แล้วคลิกค้าสั่งการตั้งค่ากลุ่ม
  • 16. . ...16 การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์) 2. จะปรากฏดังรูป ท้าการแก้ไขรายการที่ต้องการ จากนั้นคลิกปุ่ม บันทึก
  • 17. . ...17 การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์) การสร้างเพจ (Facebook Fanpage) ขั้นที่ 1 ลงมือสร้างเพจส่วนตัว 1. เปิดเฟซบุ๊ก ที่ช่อง Address ให้พิมพ์ /page ที่ URL แล้วกด Enter 2. จะเข้าสู่การสร้างหน้าใหม่ดังรูป ให้คลิกที่รูปแบบที่ต้องการสร้าง ในที่นี้เลือก ศิลปิน วง หรือ บุคคลสาธารณ 3. จากนั้นคลิกเลือกหมวดหมู่ ในที่นี้เลือก ครู
  • 18. . ...18 การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์) 4. จากนั้นตั้งชื่อเพจ คลิกปุ่ม ฉันยอมรับเงื่อนไขหน้า Facebook แล้วคลิกปุ่มเริ่ม 5. เข้าสู่ขั้นตอนขั้นตอนที่ 1 ให้ป้อนค้าอธิบาย คลิกเลือกรายการ แล้วคลิกปุ่มบันทึกข้อมูล 6. เข้าสู่ขั้นตอนที่ 2 ก้าหนดรูปประจ้าตัว ให้คลิกปุ่มอัพโหลดจากคอมพิวเตอร์
  • 19. . ...19 การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์) 7. ไปที่แหล่งเก็บภาพ คลิกเลือกภาพ จากนั้นคลิกปุ่ม Open 8. จะได้รูปประจ้าตัวตามที่เลือกดังรูป ให้คลิกปุ่ม ถัดไป 9. เข้าสู่ขั้นตอนที่ 3 ให้คลิกปุ่ม ข้าม
  • 20. . ...20 การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์) 10. เข้าสู่ขั้นตอนที่ 4 ให้คลิกปุ่มข้าม 11. จะปรากฏดังรูป ให้คลิกปุ่มถูกใจ 12. จะได้ดังรูป ให้คลิกปุ่มถัดไป
  • 21. . ...21 การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์) 13. จะเข้าสู่หน้าเพจดังรูป ซึ่งเป็นส่วนของแผงควบคุมส้าหรับผู้ดูแล ให้คลิกปุ่มซ่อน 14. จะเข้าสู่หน้าเพจของเราดังรูป ประกอบด้วย ภาพประจ้าตัว ภาพปก (ยังไม่เพิ่ม) ชื่อเรื่องของเพจ และส่วนแสดงเรื่องราว (ซึ่งสร้างใหม่จะยังไม่มีเรื่องราว) *** เป็นอันเสร็จขั้นตอนการสร้างเพจ
  • 22. . ...22 การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์) ขั้นที่ 2 เพิ่มภาพหน้าปก 1. ให้คลิกปุ่มเพิ่มภาพหน้าปก 2. จะปรากฏดังรูป คลิกปุ่ม ตกลง 3. ไปที่แหล่งเก็บภาพ คลิกเลือกภาพ แล้วคลิกปุ่ม Open 4. จากนั้นคลิกลากเพื่อปรับต้าแหน่งหน้าปก แล้วคลิกปุ่มบันทึกการเปลี่ยนแปลง
  • 23. . ...23 การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์) ขั้นที่ 3 การหาแฟน…แบบง่ายๆ ท้ายังไงนะ…? เขาจะถูกใจเรา 1. เปลี่ยนเพื่อนเป็นแฟน 1.1 ให้คลิกเมนูสร้างผู้ชม จากนั้นคลิกปุ่มเชิญชวนเพื่อน หรือที่หน้าเพจคลิกที่ ดูทั้งหมด หรือคลิกเชิญเพื่อนเป็นรายคนตามชื่อเพื่อนที่ปรากฏ 1.2 จะปรากฏดังรูปให้คลิกเลือกเพื่อนตามต้องการแล้วคลิกปุ่มส่ง
  • 24. . ...24 การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์) 2. กรณีอยากได้…ชาวโลกเป็นแฟน 2.1 คลิกเมนู สร้างผู้ชม แล้วคลิกปุ่ม แชร์หน้า 2.2 จะได้ดังรูป พิมพ์ข้อความเชิญชวน…ชาวโลก…เข้าร่วมเป็นแฟน 2.3 คลิกเลือกแหล่งแชร์ จากหนั้นคลิกปุ่ม แชร์หน้า การแชร์สามารถแชร์ไปยังแหล่งต่างๆ ได้ตามแหล่งที่ปรากฏ เพื่อการเข้าถึงของแฟนบนโลก ออนไลน์ได้อย่างหลากหลาย
  • 25. . ...25 การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์) 2.4 กรณีแชร์บนไทม์ไลน์ ที่ไทม์ไลน์จะปรากฏดังรูป เมื่อบุคคลใดผ่านมาเห็นโพสต์นี้แล้วคลิกที่ ลิงค์นี้จะเปิดเพจทันที การเป็นแฟนท้าได้โดยคลิกที่ปุ่มโพสต์นี้ 2.5 จะปรากฏหน้าเพจ ให้คลิกถูกใจ เพื่อร่วมเป็นแฟนเพจ…
  • 26. . ...26 การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์) ขั้นที่ 5 การอัพเดตข้อมูลหน้า 1. คลิกเมนูแก้ไขเพจ แล้วคลิกที่ค้าสั่ง อัพเดตข้อมูลหน้า หรือคลิกที่ปุ่ม อัพเดตข้อมูลหน้า บนเพจ 2. จะปรากฏดังรูป แก้ไขรายการที่ต้องการโดยคลิกที่รายการที่ต้องการแก้ไข ท้าการแก้ไข จากนั้นคลิกปุ่มบันทึกการเปลี่ยนแปลง *** การแก้ไขรายการใดๆ ให้ปฏิบัติตามค้าอธิบายที่ปรากฏ
  • 27. . ...27 การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์) ตัวอย่างการอัพเดตข้อมูลหน้า 2.1 การแก้ไขชื่อเพจ 1) คลิกที่ชื่อเพจ 2) จะได้ดังรูป แก้ไขชื่อเพจเดิมในช่องชื่อ แล้วคลิกปุ่ม บันทึกการเปลี่ยนแปลง 2.2 การแก้ไขเริ่มข้อมูล 1) ให้คลิกที่รายการเริ่มข้อมูล เลือก รายการ ในที่นี้เลือกเปิดตัวเมื่อ ก้าหนดปี คศ. เดือน และวัน จากนั้นคลิกปุ่ม บันทึกการเปลี่ยนแปลง 2) ที่ส่วนท้ายของเพจจะปรากฏดังรูป
  • 28. . ...28 การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์) ขั้นที่ 6 การโพสต์เรื่องราว 6.1 การโพสต์ข้อความ ให้พิมพ์ข้อความในช่องสถานะ แล้วคลิกปุ่ม โพสต์ 6.2 การโพสต์รูปภาพ 1. คลิกที่แท็ป รูปภาพ/วิดีโอ คลิกที่ปุ่ม อัพโหลดรูปภาพ/วิดีโอ เพื่อโพสต์ภาพเดียว กรณี ต้องการโพสต์หลายรูปครั้งเดียวให้คลิกที่ สร้างอัลบั้มรูปภาพ 2. จากนั้นพิมพ์ข้อความอธิบายภาพ แล้วคลิกปุ่ม Browse เพื่อไปยังแหล่งเก็บภาพ
  • 29. . ...29 การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์) 3. ไปที่แหล่งเก็บภาพ จากนั้นคลิกเลือก 1 ภาพ แล้วคลิกปุ่ม Open 4. จะปรากฏชื่อไฟล์ภาพดังรูป ให้คลิกปุ่ม โพสต์ 5. จะปรากฏดังรูป
  • 30. . ...30 การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์) กรณีต้องการโพสต์หลายภาพหรือสร้างอัลบั้มรูปภาพ ให้ท้าดังนี้ 1. คลิกที่แท็ป รูปภาพ/วิดีโอ ต้องการโพสต์หลายรูปครั้งเดียวให้คลิกที่ สร้างอัลบั้มรูปภาพ 2. ไปที่แหล่งเก็บภาพ กดปุ่ม Ctrl บนแป้นพิมพ์ค้างไว้ แล้วคลิกเลือกภาพ เมื่อได้ภาพครบตาม ต้องการแล้วปล่อยปุ่ม Ctrl แล้วคลิกปุ่ม Open 3. จะเข้าสู่จอภาพการอัพโหลด ให้ตั้งชื่ออัลบั๊ม ค้าอธิบายอัลบั๊ม ระบุสถานที่ถ่ายภาพ เมื่อการอัพโหลดสมบูรณ์ ให้คลิกปุ่มโพสต์รูปภาพ
  • 31. . ...31 การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์) 6.3 การโพสต์เว็บไซท์/วีดีโอจากเว็บไซท์ยูทูป 1. เมื่อพบเว็บไซท์ที่มีเรื่องราวต้องการน้ามาแบ่งปันบนเพจของเรา ให้คัดลอก URL ของเว็บ ไซท์นั้น โดยลากเมาส์คลุม URL คลิกขวา แล้วคลิกค้าสั่ง Copy ดังรูป 2. การโพสต์ให้ไปที่หน้าเพจของเรา ที่ช่องสถานะพิมพ์ข้อความน้าดังตัวอย่าง จากนั้นคลิกขวา แล้วคลิกค้าสั่ง Past เพื่อวาง URL ที่คัดลอกไว้ ดังรูป 3. จะได้ดังรูป ให้คลิกปุ่ม โพสต์ *** การโพสต์วีดีโอจากเว็บไซท์ยูทูปก็ด้าเนินการในลักษณะเดียวกันนี้
  • 32. . ...32 การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์) ขั้นที่ 7 การลบเพจ 1. ที่เมนู คลิกค้าสั่งแก้ไขเพจ แล้วคลิกค้าสั่งการตั้งค่า 2. จะปรากฏค้าสั่งชุดการตั้งค่าทั้งหมด ให้คลิกเลือกค้าสั่ง ลบหน้าของคุณ ซึ่งเป็นค้าสั่งสุดท้าย 3. จะปรากฏดังรูป คลิกที่ ลบ 4. จะปรากฏดังรูป ให้คลิกปุ่ม Delete Page หรือถ้าเปลี่ยนใจไม่ลบเพจ ให้คลิกปุ่ม ยกเลิก
  • 33. . ...33 การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊กเพื่อการเรียนการสอน โดยครูจีรา ศรีไทย โรงเรียนนาดีวิทยา สพม.33 (สุรินทร์) แหล่งอ้างอิง http://www.dmaonline.in.th/index.php?modules=article&f=view&cat_id=3&id=58 สืบค้น 28 กรกฏาคม 2556. https://www.facebook.com/krujeera. สืบค้น 26-31 กรกฏาคม 2556. https://www.facebook.com/groups/krujeera/?bookmark_t=group. สืบค้น 26-31 กรกฏาคม 2556. https://www.facebook.com/pages/การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้วย-Desktop-Author/ 404206066366325?bookmark_t=page. สืบค้น 31 กรกฏาคม 2556. https://www.facebook.com/padcharida.tamsud?fref=ts. สืบค้น 29 กรกฏาคม 2556 https://www.facebook.com/groups/socialmedia33/?bookmark_t=group. สืบค้น 30 กรกฏาคม 2556ใ ขอขอบคุณ เจ้าของเว็บไซท์ต่างๆ เจ้าของรูปภาพทุกๆ ท่านที่ปรากฏในเอกสารเล่มนี้ เป็นอย่างสูง