SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
อินเทอร์เน็ต (Internet) มาจากคําว่า Inter และ net
1. อินเทอร์ (Inter) คือ ระหว่าง หรือท่ามกลาง
2. เน็ต (Net) คือ เครือข่าย (Network)
อินเทอร์เน็ต คือ เครือข่ายนานาชาติ ที่เกิดจากเครือข่ายขนาดเล็กมากมาย รวมเป็นเครือข่ายเดียว
ทั้งโลก หรือเครือข่ายสื่อสาร ซึ่งเชื่อมโยงระหว่างคอมพิวเตอร์ทั้งหมด ที่ต้องการเข้ามาใน
เครือข่าย
ISP หรือ Internet Service Provider เป็นหน่วยงานที่ให้บริการเชื่อมต่อเข้ากับเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต หรือพูดอีกนัยหนึ่งคือ ทําหน้าที่เสมือนเป็นประตูเปิดการเชื่อมต่อให้บุคคลหรือ
องค์กรสามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตได้สําหรับในประเทศไทยมีหน่วยงานที่ให้บริการด้านนี้อยู่ 2
ประเภทด้วยกัน คือ ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตเชิงพาณิชย์( Commercial ISP) และผู้ให้บริการ
อินเทอร์เน็ตสําหรับสถาบันการศึกษา การวิจัยและหน่วยงานของรัฐ
- อินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นโครงการของ ARPAnet(Advanced Research Projects Agency Network) ซึ่งเป็นหน่วยงาน
ที่สังกัด กระทรวงกลาโหม ของสหรัฐ (U.S.Department of Defense - DoD) ถูกก่อตั้ง เมื่อประมาณ ปีค.ศ.1960(
พ.ศ.2503) และได้ถูกพัฒนาเรื่อยมา
-ในปัจจุบัน เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) หรือที่เรียกกันสั้นๆ ว่า ไอที (IT) กําลังได้รับ
ความสนใจเป็นอย่างมาก เพราะเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)จะเป็นตัวที่ทําให้ เกิดความรู้
วิธีการประมวลผล การจัดเก็บรวบรวมข้อมูล การเรียกใช้ข้อมูล ตลอดจนการเรียกใช้ข้อมูล ด้วยวิธีการทาง
อิเล็คทรอนิคส์ เมื่อเราให้ความสําคัญกับเ ทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) ความจําเป็นที่
จะต้องมีเครื่องมือในการใช้งานไอที เครื่องมือนั้นก็คือเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ สื่อสาร
โทรคมนาคม อินเตอร์เน็ตนับว่าเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information
Technology) หรือไอที เพราะเราสามารถที่จะใช้งาน หาข้อมูลข่าวสาร และเข้าถึงข้อมูล ได้ด้วยเวลาอันรวดเร็ว
อินเตอร์เน็ตเปรียบเสมือนห้องสมุดขนาดใหญ่ที่มีข้อมูลเรื่องราวต่างๆ มากมาย ให้เราค้นหา ข่าวสารที่ทันสมัย
ทันต่อเหตุการณ์ ที่เกิดขึ้นทั่วทุกมุมโลกเราสามารถที่จะทราบได้ทันที จึงนับได้ว่า อินเตอร์เน็ตนั้นเป็นเครื่องมือ
สําคัญอย่างหนึ่งในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) ทั้งในระดับองค์กรและใน
ระดับบุคคล
1. IP Address
2. Domain name
ประกอบด้วย
การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตเป็นการเชื่อมโยงกันของคอมพิวเตอร์บนระบบเครือข่าย ซึ่งต้องอาศัยอุปกรณ์
เครือข่ายประเภทต่างๆ ร่วมทํางานด้วย การติดต่อสื่อสารจะต้องมีการอ้างอิงถึงกันด้วยหมายเลขประจํา
เครื่องที่ไม่ซํ้ากัน อุปกรณ์ที่สําคัญเช่น Router จึงจะสามารถค้นหาที่อยู่ปลายทางการส่งผ่านข้อมูลได้
ถูกต้อง เปรียบเสมือน ที่อยู่ (Address) ประจําตัวเครื่องของแต่ละเครื่อง ที่จะต้องกําหนดมาตรฐาน
เดียวกัน ที่ใช้เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ไปสู่เครือข่ายอินเตอร์เน็ต หรือจะเรียกว่า (IP Address ) ฉะนั้น
เครือข่ายจึงมีสมาชิกที่มีหมายเลข IP Address ไม่ซํ้ากันทั่วโลก จึงทําให้ต้องมีหน่วยงานกลางคอย
จัดแบ่ง IP Address ออกเป็น Class และลําดับชั้นตามประเภทขององค์กร และเพื่อไม่ให้มี IP Address ซํ้า
กัน องค์กรผู้เป็นสมาชิกเหล่านั้น นํา IP Address ไปแจกจ่ายให้กับสมาชิกย่อยของตนเองต่อไป สมาชิก
ย่อยเหล่านั้นคือ “ ISP(Internet sevice Provider)” ดังนั้น บริษัทใดหรือบุคคลใดที่ต้องการเชื่อมต่อ
อินเตอร์เน็ต จะต้องสมัครสมาชิกกับ ISP รายใดรายหนึ่งเสียก่อน จึงจะได้รับสิทธิ์ให้เชื่อมต่อเครื่องของ
ตนเข้ากับเครือข่ายอื่นๆทั่วโลก
Domain name (DNS) เป็นระบบเรียกชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ต โดยใช้อักษร
แทนการอ้างถึงหมายเลข IP Address ซึ่งมีหลายชุดทําให้ยากต่อการจดจํา
ปัจจุบันด้วยบริการที่มาพร้อมกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เช่นWord Wide Web (www) ทําให้เกิดเว็บไซด์
มากมายเพื่อนําเสนอข้อมูลข่าวสาร หรือแม้กระทั่งการซื้อขายสินค้า การใช้ระบบ DNS จึงช่วยให้ผู้ใช้
มีความสะดวกในการระบุเครื่องปลายทางที่เป็นที่อยู่ของเว็บไซด์ต่างๆ ได้ง่ายขึ้นมาก เช่น หากเรา
ต้องการค้นหาข้อมูลใดๆ จากเว็บไซต์ เราสามารถระบุชื่อ WWW.sanook.com ที่ Address Bar ของ
โปรแกรมเว็บบราวเซอร์ได้เลย ระบบจะแปลงชื่อดังกล่าวให้เป็นIP Address 203.107.136.7 ให้
อัตโนมัติ
ในฐานะของผู้ใช้ทั่วไปจะเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้โดยผ่านทางISP ดังที่กล่าวไปแล้ว แต่เครื่อง
คอมพิวเตอร์ของเราจะต้องมีอุปกรณ์ที่เหมาะสมในการแปลงสัญญาณผ่านสื่อที่จะใช้แต่ละประเภท
ถ้าต่อผ่านสายโทรศัพท์ธรรมดา ก็ต้องมีโมเด็ม (Modem) ที่ต่อกับคอมพิวเตอร์แล้วเอาสายโทรศัพท์มาต่อ
เข้าไปอีกทีหนึ่ง หรือถ้าเป็นโทรศัพท์แบบ ISDN (Integrated Services Digital Network) ก็ต้องใช้โมเด็ม
ISDN โดยเฉพาะแทน
ถ้าต่อผ่านสายโทรศัพท์ธรรมดา ก็ต้องมีโมเด็ม (Modem) ที่ต่อกับคอมพิวเตอร์แล้วเอาสายโทรศัพท์มาต่อเข้าไป
อีกทีหนึ่ง เมื่อเชื่อมต่อเข้ากับระบบโทรศัพท์ได้แล้วก็ค่อยหมุนหมายเลขปลายทางไปยังISP อีกทอดหนึ่ง การ
เชื่อมต่อแบบนี้เรียกว่าแบบ Dial-up คือต้องหมุนโทรศัพท์เพื่อจะเชื่อมต่อแต่ละครั้ง พอเลิกใช้ก็วางสาย ต่างกับ
เครื่องที่เป็นผู้ให้บริการ ซึ่งจะต้องต่อกับ ISP รายใดรายหนึ่งตลอดเวลา
คือ ระเบียบวิธีการในการติดต่อสื่อสาร เมื่อมาใช้กับเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม จึงหมายถึง
ขั้นตอนการติดต่อสื่อสาร ซึ่งรวมถึง กฎระเบียบ และข้อกําหนดต่างๆ รวมถึงมาตรฐานที่ใช้เพื่อให้ตัวรับ
และส่งสามารถดําเนินกิจกรรมทางด้านการสื่อสารได้สําเร็จ ซึ่งมีมากมายหลายชนิด แต่ในที่นี้จะขอกล่าว
เฉพาะส่วนที่เกี่ยวข้องเพียงบางโปรโตคอลเท่านั้น
ในปัจจุบันนี้ ไม่ว่าคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลของผู้ใช้จะเป็นแบบใดก็ตาม เช่น พีซีหรือแมคอินทอช ก็
สามารถใช้งานโปรโตคอล TCP/IP เพื่อต่อเชื่อมเข้าส ◌ู◌่อินเตอร์เน็ตได้วิธีการก็คือเพียงแต่ติดตั้งใช้งาน
ซอฟต์แวร์โปรโตคอล TCP/IP เท่านั้น ส่วนวิธีการและโปรแกรมที่ติดตั้ง จะแตกต่างกันขึ้นกับระบบที่ใช้ซึ่ง
จะกล่าวต่อไป หมายเลข IP (IP Address) การสื่อสารกันในระบบเครือข่าย อินเตอร์เน็ตที่มีโปรโตคอล
TCP/IP เป็นมาตรฐานนี้ เครื่องอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่ จะต้องมีหมายเลขประจําตัวเอาไว้อ้างอิง
ให้เครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆ ได้ทราบเหมือนกับคนทุกคนต้องมีชื่อให้คนอื่นเรียก หมายเลขอ้างอิงดังกล่าวเรา
เรียกว่า IP Address หรือหมายเลข IP หรือบางทีก็เรียกว่า "แอดเดรส IP" (IP ในที่นี้ก็คือ Internet Protocol
ตัวเดียวกับใน TCP/IP นั่นเอง) ซึ่งถูกจัดเป็นตัวเลขชุดหนึ่งขนาด32 บิต ใน 1 ชุดนี้จะมีตัวเลขถูกแบ่ง
ออกเป็น 4 ส่วน ส่วนละ 8 บิตเท่าๆ กัน เวลาเขียนก็แปลงให้เป็นเลขฐานสิบ ก่อนเพื่อความง่ายแล้วเขียนโดย
คั่นแต่ละส่วนด้วยจุด ดังนั้นในตัวเลขแต่ละส่วนนี้จึงมีค่าได้ตั้งแต่0 จนถึง 28 -1 = 255 เท่านั้น เช่น
192.10.1.101 เป็นต้น ตัวเลข IP Address ชุดนี้จะเป็นสิ่งที่สําคัญคล้ายเบอร์โทรศัพท์ที่เรามีใช้อยู่และไม่ซํ้า
กัน เพราะสามารถกําหนดเป็นตัวเลขได้รวมทั้งสิ้นกว่า4 พันล้านเลขหมาย แต่การกําหนดให้คอมพิวเตอร์มี
เลขหมาย IP Address นี้ไม่ได้เริ่มต้นจากหมายเลข1 และนับขึ้นไปเรื่อยๆ
โปรโตคอล : กติกาของอินเทอร์เน็ต
Tcp/ip กับ ip address
WEB
เป็นคําเรียกสั้น ๆ ของเวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web) ซึ่งหมายถึงสถานที่รวมของกลุ่มคอมพิว เตอร์
ที่มีข้อมูลเตรียมพร้อมไว้ให้ผู้คนอ่านผ่านทางอินเทอร์เน็ต (Internet) โดยใช้ภาษา เอชทีทีพี (HTTP หรือ
Hypertext Tranfer Protocol) ทุกหน้าจะมีทั้งเนื้อหาเรื่องราวต่าง ๆ มีเมนูพร้อมที่จะให้เราสั่งงาน มีคําหลายคํา
ที่มีแถบสีซึ่งเราสามารถกดเมาส์ถามหารายละเอียดต่าง ๆ ในเรื่องนั้นต่อ ซึ่งอาจเป็นการเรียกหาจากแหล่ง
เดียวกัน หรือจากแหล่งคอมพิวเตอร์อื่นได้ทั่วโลก ดู internet, HTML ประกอบ
องค์ประกอบหลักของ WWW
1. เว็บเซิร์ฟเวอร์ ทําหน้าที่ให้บริการเว็บ เครื่องคอมพิวเตอร์ใดที่จะให้บริการเว็บ จะต้องมีการติดตั้งโปรแกรม
เว็บเซิร์ฟเวอร์ก่อน โปรแกรมเว็บเซิร์ฟเวอร์นั้น เรียกว่า HTTP (Hypertext Transfer Protocol)
2. เว็บบราวเซอร์ คือ โปรแกรมที่ใช้สําหรับดูข้อมูลในเว็บ ซึ่งนอกจากดูข้อความ (ไฮเปอร์เท็กซ์) ได้แล้ว ยัง
สามารถดูข้อมูลที่เป็นภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว หรือฟังเสียง (ไฮเปอร์มีเดีย) ได้
3. HTML (Hypertext Markup Language) เนื่องจากเว็บเป็นข้อมูลในรูปของเอกสารที่สามารถเชื่อมโยงถึงกัน
ดังนั้น ข้อมูลหรือเอกสารจะต้องเขียนในรูปแบบที่เรียกว่า HTML เพื่อทําให้โปรแกรมเซิร์ฟเวอร์และบราวเซอร์
สามารถทํางานได้ตามความต้องการ โดยเอกสารที่เขียนในรูปของHTML ประกอบด้วยชุดคําสั่ง HTML และตัว
เนื้อหาของเอกสาร
4. URL (Uniform Resource Locator) ยูอาร์แอล เป็นการระบุตําแหน่งของข้อมูลในอินเทอร์เน็ต ประกอบด้วย
3 ส่วน คือ
1. โปรโตคอล
2. ชื่อเครื่องให้บริการหรือเครื่องแม่ข่าย
3. เส้นทางที่บอกที่อยู่ของเอกสารในเครื่องที่ให้บริการ (หรือชื่อไดเร็กทอรี่/ชื่อแฟ้ ม)
WEBSITE (เว็บไซต์)
เว็บไซต์ (Web Site) คือ แหล่งที่เก็บรวบรวมข้อมูลเอกสารและสื่อประสมต่าง ๆ เช่น ภาพ เสียง
ข้อความ ของแต่ละบริษัทหรือหน่วยงานโดยเรียกเอกสารต่าง ๆ เหล่านี้ว่า เว็บเพจ ( Web Page) และเรียก
เว็บหน้าแรกของแต่ละเว็บไซต์ว่า โฮมเพจ ( Home Page) หรืออาจกล่าวได้ว่า เว็บไซต์ก็คือเว็บเพจอย่าง
น้อยสองหน้าที่มีลิงก์ (Links) ถึงกัน ตามหลักคําว่า เว็บไซต์จะใช้สําหรับผู้ที่มีคอมพิวเตอร์แบบเซิร์ฟเวอร์
หรือจดทะเบียนเป็นของตนเองเรียบร้อยแล้วเช่น www.google.co.th ซึ่งเป็นเว็บไซต์ที่ให้บริการสืบค้น
ข้อมูลเป็นต้น
สรุป เว็บไซต์ คือ ชื่อเรียกหรือที่อยู่ของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการ
เว็บเพจ คือ หน้าแต่ละหน้าที่มีการเชื่อมโยงถึงกัน
โฮมเพจ คือ หน้าแรกที่เข้าสู่เว็บไซต์นั้น ๆ
ส่วนประกอบของเว็บเพจที่สําคัญ มีดังนี้
1. ข้อความ (Text) ได้แก่ ตัวอักษร ตัวเลข ซึ่งอาจเป็นภาษาอังกฤษ ไทย หรือภาษา อื่น ๆ ก็ได้
2. กราฟิก (Graphics) ได้แก่ ภาพวาดและรูปภาพต่าง ๆ
3. มัลติมีเดีย (Multimedia) ได้แก่ ภาพเคลื่อนไหว ภาพวีดิทัศน์ เสียง
4. ลิงก์ (Link) ข้อความหรือรูปภาพที่มีลักษณะพิเศษ ซึ่งสามารถเชื่อมโยงไปยัง เว็บเพจอื่น ๆ ได้ เรา
สามารถตรวจสอบได้ว่าส่วนใดเป็นลิงก์โดยนําเมาส์ไปนี้สัญลักษณ์เมาส์จะเปลี่ยนเป็นมือ? แสดงว่าส่วน
นั้นเป็นลิงก์
HTML ภาษาของเว็บ
HTML คือ ภาษาหลักที่ใช้ในการเขียนเว็บเพจ โดยใช้ Tag ในการกําหนดการแสดงผล HTML ย่อมาจาก
คําว่า Hypertext Markup Language โดย Hypertext หมายถึง ข้อความที่เชื่อมต่อกันผ่านลิ้ง
(Hyperlink) Markup language หมายถึงภาษาที่ใช้ Tag ในการกําหนดการแสดงผลสิ่งต่างๆที่แสดงอยู่
บนเว็บเพจ ดังนั้น HTML จึงหมายถึง ภาษาที่ใช้ Tag ในการกําหนดการแสดงผลเว็บเพจที่ต่างก็เชื่อมถึง
กันใน Hyperspace ผ่าน Hyperlink
ความเป็นมาของ HTML เริ่มขึ้นเมื่อปี 1980 เมื่อ Tim Berners Lee เสนอต้นแบบสําหรับนักวิจัยใน
CERN เพื่อแลกเปลี่ยนเอกสาร ข้อมูลด้านการวิจัย โดยใช้ชื่อว่า Enquire ในปี 1990 เค้าได้เขียน
โปรแกรมเบราเซอร์ และทดลองรันบนเซิฟเวอร์ที่เค้าพัฒนาขึ้น HTML ได้รับการรู้จักจาก HTML Tag
ซึ่งมีอยู่ 18 Tag ในปี 1991
HTML ถูกพัฒนาจาก SGML และ Tim ก็คิดเสมือนว่า HTML เป็นโปรแกรมย่อยของ SGML อยู่ใน
ตอนนั้น ต่อมาในปี 1996 เพื่อกําหนดมาตรฐานให้ตรงกัน W3C World Wide Web Consortium จึงเป็น
ผู้กําหนดสเปกทั้งหมดของ HTML และปี 1999 HTML 4.01 ก็ถือกําเนิดขึ้น โดยมี HTML 5 ซึ่งเป็น
Web Hypertext Application ถูกพัฒนาต่อมาในปี 2004 นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาไปเป็น XHTML ซึ่ง
คือ Extended HTML ซึ่งมีความสามารถและมาตรฐานที่รัดกุมกว่าอีกด้วย โดยอยู่ภายใต้การควบคุมของ
W3C (World Wide Web Consortium)
URL
ตัวชี้แหล่งในอินเทอร์เน็ต หรือ โปรแกรมชี้แหล่งทรัพยากรสากล เรียกโดยย่อว่า ยูอาร์แอลคือตัวระบุ
แหล่งทรัพยากรสากล (URI) ประเภทหนึ่ง ซึ่งใช้สําหรับระบุแหล่งที่อยู่ของทรัพยากรที่ต้องการ และมี
กลไกบางอย่างสําหรับดึงข้อมูลทรัพยากรนั้นมา ในการใช้ในเอกสารทางเทคนิคและการอภิปรายทั่วไป
มักจะใช้ยูอาร์แอลแทนความหมายที่คล้ายกับยูอาร์ไอซึ่งไม่ใช่ความหมายที่ถูกต้องและอาจทําให้เกิด
ความสับสน ในภาษาพูดทั่วไป ยูอาร์แอลอาจหมายถึง ที่อยู่บนเว็บ หรือ ที่อยู่อินเทอร์เน็ต ก็ได้ยูอาร์แอ
ลทุกชื่อประกอบขึ้นจาก แผนของตัวระบุแหล่งทรัพยากรสากล (URI scheme) (โดยทั่วไปเรียกว่าโพรโท
คอล), ตามด้วยทวิภาค (:) และอื่น ๆ ขึ้นอยู่กับแผนที่ใช้งาน , ชื่อแม่ข่าย(hostname) หรือที่อยู่ไอพี
, หมายเลขพอร์ต, ชื่อเส้นทางไปยังไฟล์ที่จะดึงข้อมูลมาหรือโปรแกรมที่จะทํางาน, และสุดท้ายคือสาย
อักขระสอบถาม (query string) โดยเฉพาะเมื่อทํางานกับโปรแกรมต่อประสานร่วมสําหรับเกต
เวย์ (CGI)สําหรับการเรียกไฟล์เอชทีเอ็มแอล สามารถใส่จุดตรึง ( anchor) เป็นทางเลือก เพื่อเลื่อนเว็บ
เพจไปยังจุดที่ต้องการได้ด้วย
E-MAIL
E-Mail ย่อมาจาก EIectronic-Mail คือ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ที่ใช้รับส่งกันโดยผ่านเครือข่าย
คอมพิวเตอร์(สําหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกคือ Internet )การใช้งานก็
เหมือนกับเราพิมพ์ข้อความในโปรแกรม word จากนั้นก็คลิกคําสั่ง เพื่อส่งออกไป โดยจะมีชื่อของผู้รับ
ซึ่งเราเรียกว่า E-mail Address เป็นหลักในการรับส่ง แต่ถ้าในกรณีที่เป็นการส่งอีเมล หรือข้อความโดย
ไม่ได้รับอนุญาตจากผู้รับ เราเรียกว่า Spam และเรียกอีเมลนั้นว่าเป็นspammail
ประโยชน์ของE-Mail
1.รวดเร็วเชื่อถือได้
2.ประหยัดค่าใช้จ่ายในการส่งและลดการใช้กระดาษ
3.ลดเวลาในการส่งเอกสารลง เพราะผู้ส่งไม่ต้องเสียเวลาไปส่งเอง หรือรอไปรษณีย์ไปส่งให้
4.ผู้ส่งสามารถส่งเอกสารได้ตลอดไม่จํากัดเวลา หรือระยะทางในการส่ง ในขณะที่ผู้อ่านก็สามารถเปิด
อ่านเอกสารได้ตลอดเวลาเช่นเดียวกัน
5.สามารถส่งต่อกันได้สะดวก และผู้ส่งสามารถส่งให้ผู้รับได้พร้อมๆกันหลายคนในเวลาเดียวกัน
รูปแบบของ E-MAIL
รูปแบบของอินเทอร์เน็ตอีเมล จะใช้ในลักษณะของ RFC 2822 และรูปแบบของชุด RFCs (RFC
2045 ถึง RFC 2049) ซึ่งเรียกรวมว่า MIME อินเทอร์เน็ตอีเมล ประกอบไปด้วย 2 ส่วนหลักแยกจากกัน
คือ
ส่วนหัว
Header E-mail ส่วนหัวของอีเมล กําหนดตามมาตรฐาน RFC 2822 โดยทั่วไปส่วนหัวประกอบด้วย
ข้อความและตามด้วยเครื่องหมาย ":" และตามด้วยข้อมูล ในแต่ละข้อมูลจะประกอบไปด้วยอย่างน้อย 4
หัวข้อ ได้แก่
• จาก: ที่อยู่อีเมลผู้ส่ง และอาจจะประกอบด้วย ชื่อและนามสกุล
• ถึง: ที่อยู่อีเมลผู้รับ และอาจจะประกอบด้วย ชื่อและนามสกุล สามารถมีได้มากกว่า 1 คน แยกกัน
ด้วย เครื่องหมาย ","
• หัวข้อเรื่อง:สรุปเนื้อความของข้อมูลเพื่อให้ผู้รับสามารถเข้าใจเนื้อหาของข้อความคร่าวๆ
• วันที่: วันและเวลาจากเครื่องผู้ส่ง
ส่วนเนื้อความ
ส่วนเนื้อความของอีเมลเป็นเนื้อหาที่ต้องการสื่อสาร ลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์ และอาจแนบไฟล์ไปกับเนื้อหา
ได้ด้วยการแบ่ง MIME แบบ multipart
การรับส่งE-MAIL
ชนิดของการรับส่ง E-mail
1. รับส่งโดยใช้โปรแกรม Email โดยเฉพาะ เช่น Outlook Express, Eudora
2. รับส่งโดยผ่าน Web site เช่น www.yahoo.com, www.hotmail.com
3. รับส่งโดยผ่าน Web Browser เช่น Netscape, IE เป็นต้น
การรับส่ง Email โดยปกติจะต้องมีการกําหนด Configuration เพื่อกําหนด Incoming Mail และ
Outgoing Mail Server ซึ่งทําให้เกิดความยุ่งยากในการ check mail เนื่องจากบางคนไม่ได้มีเครื่อง
คอมพิวเตอร์เป็นของตนเอง หรือบางคนอาจจะต้องเดินทางบ่อย ๆ ทําให้ไม่ค่อยสะดวก ดังนั้น แบบที่2
คือ check email ผ่าน Web site จึงมีผู้นิยมมากที่สุดในโลก เนื่องจากไม่จําเป็นต้องกําหนด Configuration
อะไรทั้งสิ้น แค่เพียงคุณสมัครเป็นสมาชิกกับ Web site ที่ให้บริการ แค่จําชื่อ User และ Password เท่านั้น
คุณก็สามารถจะตรวจสอบ Email ได้จากที่ต่าง ๆ ทั่วโลก... (การลงทะเบียนเพื่อขอ E-mail แบบที่ 2 นี้จะ
เป็นการให้บริการฟรี!)
Web site ที่ให้บริการ Email ฟรี ได้แก่
1. http://www.yahoo.com/
2. http://www.hotmail.com/
3. http://www.thaimail.com/
4. http://www.mweb.co.th/

More Related Content

What's hot

ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1Toey_Wanatsanan
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตขาว
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตขาวความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตขาว
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตขาวMilkSick
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)runjaun
 
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตAssumption College Rayong
 
07เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
07เครือข่ายอินเตอร์เน็ต07เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
07เครือข่ายอินเตอร์เน็ตteaw-sirinapa
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10Jaohjaaee
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตWirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตWirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1Wirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดาความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดาWirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดาความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดาWirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1Wirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..Wirot Chantharoek
 

What's hot (14)

ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตขาว
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตขาวความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตขาว
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตขาว
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)
 
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
 
07เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
07เครือข่ายอินเตอร์เน็ต07เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
07เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
Communication Concept
Communication ConceptCommunication Concept
Communication Concept
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดาความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดาความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
 

Similar to บทที่ 10

การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตguest31bfdc
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตguest31bfdc
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตSutin Yotyavilai
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทPDF
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทPDFลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทPDF
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทPDFมติพร อัมพรรัตน์
 
ระบบเครือข่าย (network computer)
ระบบเครือข่าย  (network computer)ระบบเครือข่าย  (network computer)
ระบบเครือข่าย (network computer)Theruangsit
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการSiriwan Udomtragulwong
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานPiyanoot Ch
 
งานนำเสนอ1(ติ่ง)
งานนำเสนอ1(ติ่ง)งานนำเสนอ1(ติ่ง)
งานนำเสนอ1(ติ่ง)Paveenut
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1Wirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1Wirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1Wirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตWirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1Wirot Chantharoek
 
เทอม 2 คาบ 7 internet และ domain
เทอม 2 คาบ 7 internet และ domainเทอม 2 คาบ 7 internet และ domain
เทอม 2 คาบ 7 internet และ domainMrpopovic Popovic
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Suphattra
 

Similar to บทที่ 10 (19)

ประวัติความเป็นมาของ Internet
ประวัติความเป็นมาของ Internetประวัติความเป็นมาของ Internet
ประวัติความเป็นมาของ Internet
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทPDF
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทPDFลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทPDF
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทPDF
 
Lernning 05
Lernning 05Lernning 05
Lernning 05
 
ระบบเครือข่าย (network computer)
ระบบเครือข่าย  (network computer)ระบบเครือข่าย  (network computer)
ระบบเครือข่าย (network computer)
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
Internet7.1
Internet7.1Internet7.1
Internet7.1
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
งานนำเสนอ1(ติ่ง)
งานนำเสนอ1(ติ่ง)งานนำเสนอ1(ติ่ง)
งานนำเสนอ1(ติ่ง)
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
 
เทอม 2 คาบ 7 internet และ domain
เทอม 2 คาบ 7 internet และ domainเทอม 2 คาบ 7 internet และ domain
เทอม 2 คาบ 7 internet และ domain
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 

More from Min Jidapa

บทที่12
บทที่12บทที่12
บทที่12Min Jidapa
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์Min Jidapa
 
บทที่ 32
บทที่ 32บทที่ 32
บทที่ 32Min Jidapa
 
"บทที่6 1 17_36_ห้อง62
"บทที่6 1 17_36_ห้อง62"บทที่6 1 17_36_ห้อง62
"บทที่6 1 17_36_ห้อง62Min Jidapa
 
โบทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ
โบทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศโบทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ
โบทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศMin Jidapa
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1Min Jidapa
 
ไรไม่รู้
ไรไม่รู้ไรไม่รู้
ไรไม่รู้Min Jidapa
 

More from Min Jidapa (9)

คอม
คอมคอม
คอม
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
บทที่12
บทที่12บทที่12
บทที่12
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
 
บทที่ 32
บทที่ 32บทที่ 32
บทที่ 32
 
"บทที่6 1 17_36_ห้อง62
"บทที่6 1 17_36_ห้อง62"บทที่6 1 17_36_ห้อง62
"บทที่6 1 17_36_ห้อง62
 
โบทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ
โบทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศโบทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ
โบทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
ไรไม่รู้
ไรไม่รู้ไรไม่รู้
ไรไม่รู้
 

บทที่ 10

  • 1.
  • 2. อินเทอร์เน็ต (Internet) มาจากคําว่า Inter และ net 1. อินเทอร์ (Inter) คือ ระหว่าง หรือท่ามกลาง 2. เน็ต (Net) คือ เครือข่าย (Network) อินเทอร์เน็ต คือ เครือข่ายนานาชาติ ที่เกิดจากเครือข่ายขนาดเล็กมากมาย รวมเป็นเครือข่ายเดียว ทั้งโลก หรือเครือข่ายสื่อสาร ซึ่งเชื่อมโยงระหว่างคอมพิวเตอร์ทั้งหมด ที่ต้องการเข้ามาใน เครือข่าย ISP หรือ Internet Service Provider เป็นหน่วยงานที่ให้บริการเชื่อมต่อเข้ากับเครือข่าย อินเทอร์เน็ต หรือพูดอีกนัยหนึ่งคือ ทําหน้าที่เสมือนเป็นประตูเปิดการเชื่อมต่อให้บุคคลหรือ องค์กรสามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตได้สําหรับในประเทศไทยมีหน่วยงานที่ให้บริการด้านนี้อยู่ 2 ประเภทด้วยกัน คือ ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตเชิงพาณิชย์( Commercial ISP) และผู้ให้บริการ อินเทอร์เน็ตสําหรับสถาบันการศึกษา การวิจัยและหน่วยงานของรัฐ
  • 3. - อินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นโครงการของ ARPAnet(Advanced Research Projects Agency Network) ซึ่งเป็นหน่วยงาน ที่สังกัด กระทรวงกลาโหม ของสหรัฐ (U.S.Department of Defense - DoD) ถูกก่อตั้ง เมื่อประมาณ ปีค.ศ.1960( พ.ศ.2503) และได้ถูกพัฒนาเรื่อยมา -ในปัจจุบัน เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) หรือที่เรียกกันสั้นๆ ว่า ไอที (IT) กําลังได้รับ ความสนใจเป็นอย่างมาก เพราะเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)จะเป็นตัวที่ทําให้ เกิดความรู้ วิธีการประมวลผล การจัดเก็บรวบรวมข้อมูล การเรียกใช้ข้อมูล ตลอดจนการเรียกใช้ข้อมูล ด้วยวิธีการทาง อิเล็คทรอนิคส์ เมื่อเราให้ความสําคัญกับเ ทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) ความจําเป็นที่ จะต้องมีเครื่องมือในการใช้งานไอที เครื่องมือนั้นก็คือเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ สื่อสาร โทรคมนาคม อินเตอร์เน็ตนับว่าเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) หรือไอที เพราะเราสามารถที่จะใช้งาน หาข้อมูลข่าวสาร และเข้าถึงข้อมูล ได้ด้วยเวลาอันรวดเร็ว อินเตอร์เน็ตเปรียบเสมือนห้องสมุดขนาดใหญ่ที่มีข้อมูลเรื่องราวต่างๆ มากมาย ให้เราค้นหา ข่าวสารที่ทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ ที่เกิดขึ้นทั่วทุกมุมโลกเราสามารถที่จะทราบได้ทันที จึงนับได้ว่า อินเตอร์เน็ตนั้นเป็นเครื่องมือ สําคัญอย่างหนึ่งในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) ทั้งในระดับองค์กรและใน ระดับบุคคล
  • 4. 1. IP Address 2. Domain name ประกอบด้วย การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตเป็นการเชื่อมโยงกันของคอมพิวเตอร์บนระบบเครือข่าย ซึ่งต้องอาศัยอุปกรณ์ เครือข่ายประเภทต่างๆ ร่วมทํางานด้วย การติดต่อสื่อสารจะต้องมีการอ้างอิงถึงกันด้วยหมายเลขประจํา เครื่องที่ไม่ซํ้ากัน อุปกรณ์ที่สําคัญเช่น Router จึงจะสามารถค้นหาที่อยู่ปลายทางการส่งผ่านข้อมูลได้ ถูกต้อง เปรียบเสมือน ที่อยู่ (Address) ประจําตัวเครื่องของแต่ละเครื่อง ที่จะต้องกําหนดมาตรฐาน เดียวกัน ที่ใช้เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ไปสู่เครือข่ายอินเตอร์เน็ต หรือจะเรียกว่า (IP Address ) ฉะนั้น เครือข่ายจึงมีสมาชิกที่มีหมายเลข IP Address ไม่ซํ้ากันทั่วโลก จึงทําให้ต้องมีหน่วยงานกลางคอย จัดแบ่ง IP Address ออกเป็น Class และลําดับชั้นตามประเภทขององค์กร และเพื่อไม่ให้มี IP Address ซํ้า กัน องค์กรผู้เป็นสมาชิกเหล่านั้น นํา IP Address ไปแจกจ่ายให้กับสมาชิกย่อยของตนเองต่อไป สมาชิก ย่อยเหล่านั้นคือ “ ISP(Internet sevice Provider)” ดังนั้น บริษัทใดหรือบุคคลใดที่ต้องการเชื่อมต่อ อินเตอร์เน็ต จะต้องสมัครสมาชิกกับ ISP รายใดรายหนึ่งเสียก่อน จึงจะได้รับสิทธิ์ให้เชื่อมต่อเครื่องของ ตนเข้ากับเครือข่ายอื่นๆทั่วโลก Domain name (DNS) เป็นระบบเรียกชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ต โดยใช้อักษร แทนการอ้างถึงหมายเลข IP Address ซึ่งมีหลายชุดทําให้ยากต่อการจดจํา ปัจจุบันด้วยบริการที่มาพร้อมกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เช่นWord Wide Web (www) ทําให้เกิดเว็บไซด์ มากมายเพื่อนําเสนอข้อมูลข่าวสาร หรือแม้กระทั่งการซื้อขายสินค้า การใช้ระบบ DNS จึงช่วยให้ผู้ใช้ มีความสะดวกในการระบุเครื่องปลายทางที่เป็นที่อยู่ของเว็บไซด์ต่างๆ ได้ง่ายขึ้นมาก เช่น หากเรา ต้องการค้นหาข้อมูลใดๆ จากเว็บไซต์ เราสามารถระบุชื่อ WWW.sanook.com ที่ Address Bar ของ โปรแกรมเว็บบราวเซอร์ได้เลย ระบบจะแปลงชื่อดังกล่าวให้เป็นIP Address 203.107.136.7 ให้ อัตโนมัติ
  • 5. ในฐานะของผู้ใช้ทั่วไปจะเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้โดยผ่านทางISP ดังที่กล่าวไปแล้ว แต่เครื่อง คอมพิวเตอร์ของเราจะต้องมีอุปกรณ์ที่เหมาะสมในการแปลงสัญญาณผ่านสื่อที่จะใช้แต่ละประเภท ถ้าต่อผ่านสายโทรศัพท์ธรรมดา ก็ต้องมีโมเด็ม (Modem) ที่ต่อกับคอมพิวเตอร์แล้วเอาสายโทรศัพท์มาต่อ เข้าไปอีกทีหนึ่ง หรือถ้าเป็นโทรศัพท์แบบ ISDN (Integrated Services Digital Network) ก็ต้องใช้โมเด็ม ISDN โดยเฉพาะแทน ถ้าต่อผ่านสายโทรศัพท์ธรรมดา ก็ต้องมีโมเด็ม (Modem) ที่ต่อกับคอมพิวเตอร์แล้วเอาสายโทรศัพท์มาต่อเข้าไป อีกทีหนึ่ง เมื่อเชื่อมต่อเข้ากับระบบโทรศัพท์ได้แล้วก็ค่อยหมุนหมายเลขปลายทางไปยังISP อีกทอดหนึ่ง การ เชื่อมต่อแบบนี้เรียกว่าแบบ Dial-up คือต้องหมุนโทรศัพท์เพื่อจะเชื่อมต่อแต่ละครั้ง พอเลิกใช้ก็วางสาย ต่างกับ เครื่องที่เป็นผู้ให้บริการ ซึ่งจะต้องต่อกับ ISP รายใดรายหนึ่งตลอดเวลา
  • 6. คือ ระเบียบวิธีการในการติดต่อสื่อสาร เมื่อมาใช้กับเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม จึงหมายถึง ขั้นตอนการติดต่อสื่อสาร ซึ่งรวมถึง กฎระเบียบ และข้อกําหนดต่างๆ รวมถึงมาตรฐานที่ใช้เพื่อให้ตัวรับ และส่งสามารถดําเนินกิจกรรมทางด้านการสื่อสารได้สําเร็จ ซึ่งมีมากมายหลายชนิด แต่ในที่นี้จะขอกล่าว เฉพาะส่วนที่เกี่ยวข้องเพียงบางโปรโตคอลเท่านั้น ในปัจจุบันนี้ ไม่ว่าคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลของผู้ใช้จะเป็นแบบใดก็ตาม เช่น พีซีหรือแมคอินทอช ก็ สามารถใช้งานโปรโตคอล TCP/IP เพื่อต่อเชื่อมเข้าส ◌ู◌่อินเตอร์เน็ตได้วิธีการก็คือเพียงแต่ติดตั้งใช้งาน ซอฟต์แวร์โปรโตคอล TCP/IP เท่านั้น ส่วนวิธีการและโปรแกรมที่ติดตั้ง จะแตกต่างกันขึ้นกับระบบที่ใช้ซึ่ง จะกล่าวต่อไป หมายเลข IP (IP Address) การสื่อสารกันในระบบเครือข่าย อินเตอร์เน็ตที่มีโปรโตคอล TCP/IP เป็นมาตรฐานนี้ เครื่องอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่ จะต้องมีหมายเลขประจําตัวเอาไว้อ้างอิง ให้เครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆ ได้ทราบเหมือนกับคนทุกคนต้องมีชื่อให้คนอื่นเรียก หมายเลขอ้างอิงดังกล่าวเรา เรียกว่า IP Address หรือหมายเลข IP หรือบางทีก็เรียกว่า "แอดเดรส IP" (IP ในที่นี้ก็คือ Internet Protocol ตัวเดียวกับใน TCP/IP นั่นเอง) ซึ่งถูกจัดเป็นตัวเลขชุดหนึ่งขนาด32 บิต ใน 1 ชุดนี้จะมีตัวเลขถูกแบ่ง ออกเป็น 4 ส่วน ส่วนละ 8 บิตเท่าๆ กัน เวลาเขียนก็แปลงให้เป็นเลขฐานสิบ ก่อนเพื่อความง่ายแล้วเขียนโดย คั่นแต่ละส่วนด้วยจุด ดังนั้นในตัวเลขแต่ละส่วนนี้จึงมีค่าได้ตั้งแต่0 จนถึง 28 -1 = 255 เท่านั้น เช่น 192.10.1.101 เป็นต้น ตัวเลข IP Address ชุดนี้จะเป็นสิ่งที่สําคัญคล้ายเบอร์โทรศัพท์ที่เรามีใช้อยู่และไม่ซํ้า กัน เพราะสามารถกําหนดเป็นตัวเลขได้รวมทั้งสิ้นกว่า4 พันล้านเลขหมาย แต่การกําหนดให้คอมพิวเตอร์มี เลขหมาย IP Address นี้ไม่ได้เริ่มต้นจากหมายเลข1 และนับขึ้นไปเรื่อยๆ โปรโตคอล : กติกาของอินเทอร์เน็ต Tcp/ip กับ ip address
  • 7. WEB เป็นคําเรียกสั้น ๆ ของเวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web) ซึ่งหมายถึงสถานที่รวมของกลุ่มคอมพิว เตอร์ ที่มีข้อมูลเตรียมพร้อมไว้ให้ผู้คนอ่านผ่านทางอินเทอร์เน็ต (Internet) โดยใช้ภาษา เอชทีทีพี (HTTP หรือ Hypertext Tranfer Protocol) ทุกหน้าจะมีทั้งเนื้อหาเรื่องราวต่าง ๆ มีเมนูพร้อมที่จะให้เราสั่งงาน มีคําหลายคํา ที่มีแถบสีซึ่งเราสามารถกดเมาส์ถามหารายละเอียดต่าง ๆ ในเรื่องนั้นต่อ ซึ่งอาจเป็นการเรียกหาจากแหล่ง เดียวกัน หรือจากแหล่งคอมพิวเตอร์อื่นได้ทั่วโลก ดู internet, HTML ประกอบ องค์ประกอบหลักของ WWW 1. เว็บเซิร์ฟเวอร์ ทําหน้าที่ให้บริการเว็บ เครื่องคอมพิวเตอร์ใดที่จะให้บริการเว็บ จะต้องมีการติดตั้งโปรแกรม เว็บเซิร์ฟเวอร์ก่อน โปรแกรมเว็บเซิร์ฟเวอร์นั้น เรียกว่า HTTP (Hypertext Transfer Protocol) 2. เว็บบราวเซอร์ คือ โปรแกรมที่ใช้สําหรับดูข้อมูลในเว็บ ซึ่งนอกจากดูข้อความ (ไฮเปอร์เท็กซ์) ได้แล้ว ยัง สามารถดูข้อมูลที่เป็นภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว หรือฟังเสียง (ไฮเปอร์มีเดีย) ได้ 3. HTML (Hypertext Markup Language) เนื่องจากเว็บเป็นข้อมูลในรูปของเอกสารที่สามารถเชื่อมโยงถึงกัน ดังนั้น ข้อมูลหรือเอกสารจะต้องเขียนในรูปแบบที่เรียกว่า HTML เพื่อทําให้โปรแกรมเซิร์ฟเวอร์และบราวเซอร์ สามารถทํางานได้ตามความต้องการ โดยเอกสารที่เขียนในรูปของHTML ประกอบด้วยชุดคําสั่ง HTML และตัว เนื้อหาของเอกสาร 4. URL (Uniform Resource Locator) ยูอาร์แอล เป็นการระบุตําแหน่งของข้อมูลในอินเทอร์เน็ต ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ 1. โปรโตคอล 2. ชื่อเครื่องให้บริการหรือเครื่องแม่ข่าย 3. เส้นทางที่บอกที่อยู่ของเอกสารในเครื่องที่ให้บริการ (หรือชื่อไดเร็กทอรี่/ชื่อแฟ้ ม)
  • 8. WEBSITE (เว็บไซต์) เว็บไซต์ (Web Site) คือ แหล่งที่เก็บรวบรวมข้อมูลเอกสารและสื่อประสมต่าง ๆ เช่น ภาพ เสียง ข้อความ ของแต่ละบริษัทหรือหน่วยงานโดยเรียกเอกสารต่าง ๆ เหล่านี้ว่า เว็บเพจ ( Web Page) และเรียก เว็บหน้าแรกของแต่ละเว็บไซต์ว่า โฮมเพจ ( Home Page) หรืออาจกล่าวได้ว่า เว็บไซต์ก็คือเว็บเพจอย่าง น้อยสองหน้าที่มีลิงก์ (Links) ถึงกัน ตามหลักคําว่า เว็บไซต์จะใช้สําหรับผู้ที่มีคอมพิวเตอร์แบบเซิร์ฟเวอร์ หรือจดทะเบียนเป็นของตนเองเรียบร้อยแล้วเช่น www.google.co.th ซึ่งเป็นเว็บไซต์ที่ให้บริการสืบค้น ข้อมูลเป็นต้น สรุป เว็บไซต์ คือ ชื่อเรียกหรือที่อยู่ของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการ เว็บเพจ คือ หน้าแต่ละหน้าที่มีการเชื่อมโยงถึงกัน โฮมเพจ คือ หน้าแรกที่เข้าสู่เว็บไซต์นั้น ๆ ส่วนประกอบของเว็บเพจที่สําคัญ มีดังนี้ 1. ข้อความ (Text) ได้แก่ ตัวอักษร ตัวเลข ซึ่งอาจเป็นภาษาอังกฤษ ไทย หรือภาษา อื่น ๆ ก็ได้ 2. กราฟิก (Graphics) ได้แก่ ภาพวาดและรูปภาพต่าง ๆ 3. มัลติมีเดีย (Multimedia) ได้แก่ ภาพเคลื่อนไหว ภาพวีดิทัศน์ เสียง 4. ลิงก์ (Link) ข้อความหรือรูปภาพที่มีลักษณะพิเศษ ซึ่งสามารถเชื่อมโยงไปยัง เว็บเพจอื่น ๆ ได้ เรา สามารถตรวจสอบได้ว่าส่วนใดเป็นลิงก์โดยนําเมาส์ไปนี้สัญลักษณ์เมาส์จะเปลี่ยนเป็นมือ? แสดงว่าส่วน นั้นเป็นลิงก์
  • 9. HTML ภาษาของเว็บ HTML คือ ภาษาหลักที่ใช้ในการเขียนเว็บเพจ โดยใช้ Tag ในการกําหนดการแสดงผล HTML ย่อมาจาก คําว่า Hypertext Markup Language โดย Hypertext หมายถึง ข้อความที่เชื่อมต่อกันผ่านลิ้ง (Hyperlink) Markup language หมายถึงภาษาที่ใช้ Tag ในการกําหนดการแสดงผลสิ่งต่างๆที่แสดงอยู่ บนเว็บเพจ ดังนั้น HTML จึงหมายถึง ภาษาที่ใช้ Tag ในการกําหนดการแสดงผลเว็บเพจที่ต่างก็เชื่อมถึง กันใน Hyperspace ผ่าน Hyperlink ความเป็นมาของ HTML เริ่มขึ้นเมื่อปี 1980 เมื่อ Tim Berners Lee เสนอต้นแบบสําหรับนักวิจัยใน CERN เพื่อแลกเปลี่ยนเอกสาร ข้อมูลด้านการวิจัย โดยใช้ชื่อว่า Enquire ในปี 1990 เค้าได้เขียน โปรแกรมเบราเซอร์ และทดลองรันบนเซิฟเวอร์ที่เค้าพัฒนาขึ้น HTML ได้รับการรู้จักจาก HTML Tag ซึ่งมีอยู่ 18 Tag ในปี 1991 HTML ถูกพัฒนาจาก SGML และ Tim ก็คิดเสมือนว่า HTML เป็นโปรแกรมย่อยของ SGML อยู่ใน ตอนนั้น ต่อมาในปี 1996 เพื่อกําหนดมาตรฐานให้ตรงกัน W3C World Wide Web Consortium จึงเป็น ผู้กําหนดสเปกทั้งหมดของ HTML และปี 1999 HTML 4.01 ก็ถือกําเนิดขึ้น โดยมี HTML 5 ซึ่งเป็น Web Hypertext Application ถูกพัฒนาต่อมาในปี 2004 นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาไปเป็น XHTML ซึ่ง คือ Extended HTML ซึ่งมีความสามารถและมาตรฐานที่รัดกุมกว่าอีกด้วย โดยอยู่ภายใต้การควบคุมของ W3C (World Wide Web Consortium)
  • 10. URL ตัวชี้แหล่งในอินเทอร์เน็ต หรือ โปรแกรมชี้แหล่งทรัพยากรสากล เรียกโดยย่อว่า ยูอาร์แอลคือตัวระบุ แหล่งทรัพยากรสากล (URI) ประเภทหนึ่ง ซึ่งใช้สําหรับระบุแหล่งที่อยู่ของทรัพยากรที่ต้องการ และมี กลไกบางอย่างสําหรับดึงข้อมูลทรัพยากรนั้นมา ในการใช้ในเอกสารทางเทคนิคและการอภิปรายทั่วไป มักจะใช้ยูอาร์แอลแทนความหมายที่คล้ายกับยูอาร์ไอซึ่งไม่ใช่ความหมายที่ถูกต้องและอาจทําให้เกิด ความสับสน ในภาษาพูดทั่วไป ยูอาร์แอลอาจหมายถึง ที่อยู่บนเว็บ หรือ ที่อยู่อินเทอร์เน็ต ก็ได้ยูอาร์แอ ลทุกชื่อประกอบขึ้นจาก แผนของตัวระบุแหล่งทรัพยากรสากล (URI scheme) (โดยทั่วไปเรียกว่าโพรโท คอล), ตามด้วยทวิภาค (:) และอื่น ๆ ขึ้นอยู่กับแผนที่ใช้งาน , ชื่อแม่ข่าย(hostname) หรือที่อยู่ไอพี , หมายเลขพอร์ต, ชื่อเส้นทางไปยังไฟล์ที่จะดึงข้อมูลมาหรือโปรแกรมที่จะทํางาน, และสุดท้ายคือสาย อักขระสอบถาม (query string) โดยเฉพาะเมื่อทํางานกับโปรแกรมต่อประสานร่วมสําหรับเกต เวย์ (CGI)สําหรับการเรียกไฟล์เอชทีเอ็มแอล สามารถใส่จุดตรึง ( anchor) เป็นทางเลือก เพื่อเลื่อนเว็บ เพจไปยังจุดที่ต้องการได้ด้วย
  • 11. E-MAIL E-Mail ย่อมาจาก EIectronic-Mail คือ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ที่ใช้รับส่งกันโดยผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์(สําหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกคือ Internet )การใช้งานก็ เหมือนกับเราพิมพ์ข้อความในโปรแกรม word จากนั้นก็คลิกคําสั่ง เพื่อส่งออกไป โดยจะมีชื่อของผู้รับ ซึ่งเราเรียกว่า E-mail Address เป็นหลักในการรับส่ง แต่ถ้าในกรณีที่เป็นการส่งอีเมล หรือข้อความโดย ไม่ได้รับอนุญาตจากผู้รับ เราเรียกว่า Spam และเรียกอีเมลนั้นว่าเป็นspammail ประโยชน์ของE-Mail 1.รวดเร็วเชื่อถือได้ 2.ประหยัดค่าใช้จ่ายในการส่งและลดการใช้กระดาษ 3.ลดเวลาในการส่งเอกสารลง เพราะผู้ส่งไม่ต้องเสียเวลาไปส่งเอง หรือรอไปรษณีย์ไปส่งให้ 4.ผู้ส่งสามารถส่งเอกสารได้ตลอดไม่จํากัดเวลา หรือระยะทางในการส่ง ในขณะที่ผู้อ่านก็สามารถเปิด อ่านเอกสารได้ตลอดเวลาเช่นเดียวกัน 5.สามารถส่งต่อกันได้สะดวก และผู้ส่งสามารถส่งให้ผู้รับได้พร้อมๆกันหลายคนในเวลาเดียวกัน
  • 12. รูปแบบของ E-MAIL รูปแบบของอินเทอร์เน็ตอีเมล จะใช้ในลักษณะของ RFC 2822 และรูปแบบของชุด RFCs (RFC 2045 ถึง RFC 2049) ซึ่งเรียกรวมว่า MIME อินเทอร์เน็ตอีเมล ประกอบไปด้วย 2 ส่วนหลักแยกจากกัน คือ ส่วนหัว Header E-mail ส่วนหัวของอีเมล กําหนดตามมาตรฐาน RFC 2822 โดยทั่วไปส่วนหัวประกอบด้วย ข้อความและตามด้วยเครื่องหมาย ":" และตามด้วยข้อมูล ในแต่ละข้อมูลจะประกอบไปด้วยอย่างน้อย 4 หัวข้อ ได้แก่ • จาก: ที่อยู่อีเมลผู้ส่ง และอาจจะประกอบด้วย ชื่อและนามสกุล • ถึง: ที่อยู่อีเมลผู้รับ และอาจจะประกอบด้วย ชื่อและนามสกุล สามารถมีได้มากกว่า 1 คน แยกกัน ด้วย เครื่องหมาย "," • หัวข้อเรื่อง:สรุปเนื้อความของข้อมูลเพื่อให้ผู้รับสามารถเข้าใจเนื้อหาของข้อความคร่าวๆ • วันที่: วันและเวลาจากเครื่องผู้ส่ง ส่วนเนื้อความ ส่วนเนื้อความของอีเมลเป็นเนื้อหาที่ต้องการสื่อสาร ลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์ และอาจแนบไฟล์ไปกับเนื้อหา ได้ด้วยการแบ่ง MIME แบบ multipart
  • 13. การรับส่งE-MAIL ชนิดของการรับส่ง E-mail 1. รับส่งโดยใช้โปรแกรม Email โดยเฉพาะ เช่น Outlook Express, Eudora 2. รับส่งโดยผ่าน Web site เช่น www.yahoo.com, www.hotmail.com 3. รับส่งโดยผ่าน Web Browser เช่น Netscape, IE เป็นต้น การรับส่ง Email โดยปกติจะต้องมีการกําหนด Configuration เพื่อกําหนด Incoming Mail และ Outgoing Mail Server ซึ่งทําให้เกิดความยุ่งยากในการ check mail เนื่องจากบางคนไม่ได้มีเครื่อง คอมพิวเตอร์เป็นของตนเอง หรือบางคนอาจจะต้องเดินทางบ่อย ๆ ทําให้ไม่ค่อยสะดวก ดังนั้น แบบที่2 คือ check email ผ่าน Web site จึงมีผู้นิยมมากที่สุดในโลก เนื่องจากไม่จําเป็นต้องกําหนด Configuration อะไรทั้งสิ้น แค่เพียงคุณสมัครเป็นสมาชิกกับ Web site ที่ให้บริการ แค่จําชื่อ User และ Password เท่านั้น คุณก็สามารถจะตรวจสอบ Email ได้จากที่ต่าง ๆ ทั่วโลก... (การลงทะเบียนเพื่อขอ E-mail แบบที่ 2 นี้จะ เป็นการให้บริการฟรี!) Web site ที่ให้บริการ Email ฟรี ได้แก่ 1. http://www.yahoo.com/ 2. http://www.hotmail.com/ 3. http://www.thaimail.com/ 4. http://www.mweb.co.th/