SlideShare a Scribd company logo
ดัชนีชวัดผลประกอบการด้านการเงินขององค์กรการเงิน
       ี
      ชุมชนไทย: ข้อค้นพบเบืองต้นและกรณีศกษา
                                        ึ
                                    สฤณี อาชวานันทกุล
                                    Fringer | คนชายขอบ
                                   http://www.fringer.org/
ข้อค้นพบจากการศึกษาระยะที 1 โครงการศึกษาแนวทางจัดทําเครืองมือเพือประเมินตนเองขององค์กรการเงินฐานราก
                       วันที 18 มิถุนายน 2552 ณ กองทุนส่งเสริมการวิจย (สกว.)
                                                                    ั

                              งานนีเผยแพร่ภายใต้ลขสิทธิ Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by-
                                                     ิ
                              nc-sa) โดยผูสร้างอนุญาตให้ทาซํา แจกจ่าย แสดง และสร้างงานดัดแปลงจากส่วนใดส่วนหนึงของงานนี
                                           ้               ํ
                              ได้โดยเสรี แต่เฉพาะในกรณีทให้เครดิตผูสร้าง ไม่นําไปใช้ในทางการค้า และเผยแพร่งานดัดแปลงภายใต้
                                                         ี         ้
                              ลิขสิทธิเดียวกันนีเท่านัน
หัวข้อนําเสนอ
   ข้อค้นพบเบืองต้นจากภาคสนาม
   ดัชนีชวัดผลประกอบการด้านการเงิน
         ี
   กรณีศกษาจากชัยนาทและนครศรีธรรมราช
           ึ




                                       2
ข้อค้นพบเบืองต้นจากภาคสนาม
  องค์กรการเงินชุมชนไทยยังมีน้อยรายทีมุงทํากําไร ส่วนใหญ่เน้นการรักษาเงิน
                                          ่
  ให้ “เงินไม่หาย” มากกว่า และเน้นเป้าหมายทางสังคม/ชุมชน ดังนัน ความมันคง
  ทางการเงิน จึงยังคงสําคัญกว่าขีดความสามารถในการทํากําไร
  ข้อกังวล/ความเสียงหลายประการเป็ นประเด็นด้านการบริหารจัดการ เช่น หา
  ผูสนใจมาเป็ นกรรมการใหม่ยาก บางกลุมยังไม่มความรูเพียงพอในวิธการทํา
    ้                                  ่      ี      ้           ี
  บัญชีทถูกต้อง ส่งผลให้ตวเลขทางบัญชีไม่สะท้อนผลการดําเนินงานทีแท้จริง
          ี                ั
  สําหรับกองทุนทีเน้นการจัดสวัสดิการ ความเสียงหลักอยูทความเพียงพอของ
                                                       ่ ี
                                                                   ั
  เงินทุนในการจัดสวัสดิการ โดยเฉพาะฌาปนกิจ เช่น เนืองจากจ่ายเงินปนผลมาก
  เกินควร เมือเปรียบเทียบกับแนวโน้มทีผูสงอายุจะมีมากขึน
                                         ู้
  สําหรับกองทุนทีเน้นการปล่อยกู้ ความเสียงหลักอยูทการไม่สามารถใช้เงินกูใน
                                                 ่ ี                   ้
  การยกฐานะตัวเอง ทําให้ภาระหนีไม่ลดลง (ไม่สะท้อนในอัตราหนีเสียตราบใดที
  ยัง ‘ผลัดผ้าขาวม้า’ ได้)
ดัชนีชวัดผลประกอบการด้านการเงิน
      ี
1. ความมันคงทางการเงิน (financial strength)
       กําไรสุทธิ / ยอดเงินค่าหุน เงินฝาก (รวมสัจจะ) และกองทุนสวัสดิการ – ความสามารถ
                                ้
       ในการทํากําไรจากเงินของสมาชิก
       กําไรสุทธิ / สินทรัพย์รวม (return on assets) – ความสามารถในการทํากําไรจาก
       สินทรัพย์รวมขององค์กร
       กําไรสุทธิ / รายได้ (net profit margin) – ความสามารถในการทํากําไรจากรายได้
            ั
       เงินปนผลจ่าย / ยอดเงินค่าหุน – ผลตอบแทนรายปี ของสมาชิก
                                     ้
2. ความสามารถในการบริหารจัดการสินทรัพย์และหนีสิน (asset/liability
   management)
       ยอดสินเชือ / ยอดเงินฝาก+เงินสัจจะ – ระดับการปล่อยกูเทียบกับแหล่งทุน
                                                                ้
       ดอกเบียเงินกู้ / ยอดสินเชือ – ผลตอบแทนจากการปล่อยกู้
       (ยอดสินเชือปี นี - ยอดสินเชือปี ก่อน) / ยอดสินเชือปี ก่อน – อัตราการเติบโตของสินเชือ
ดัชนีชวัดผลประกอบการด้านการเงิน (ต่อ)
      ี
3. คุณภาพของสินทรัพย์ทก่อให้เกิดรายได้ (อาทิ สินเชือ และเงินลงทุน)
                       ี
   (portfolio quality)
       ยอดหนีเสีย / ยอดสินเชือรวม
       ยอดหนีทีผิดนัดติดต่อกันเกินสามงวด / ยอดสินเชือรวม
       มูลค่าสินเชือทีกูซา (กูหมุนเวียน) / ยอดสินเชือรวม
                        ้ ํ ้
       จํานวนสมาชิกทีขาดส่งสัจจะเกิน 3 เดือนในรอบปี / จํานวนสมาชิกทังหมด
4. ประสิทธิภาพในการดําเนินงาน (efficiency)
       ค่าใช้จายดําเนินงาน / รายได้
              ่
       ยอดสินเชือรวม / จํานวนลูกหนีรวม
5. ความพอเพียงของเงินสวัสดิการ
       กําไรก่อนจ่ายสวัสดิการ / เงินจ่ายสวัสดิการ – ความเพียงพอในการจัดสวัสดิการ
       จํานวนสมาชิกทีอายุเกิน 70 ปี / จํานวนสมาชิก – แนวโน้มสวัสดิการฌาปนกิจ
กรณีศกษา: เวทีหารือทีนครศรีธรรมราช วันที 18 มี.ค. 52
       ึ
สถาบันการเงินชุมชน                                        เฉลีย       สถาบัน 1 สถาบัน 2 สถาบัน 3 สถาบัน 4 สถาบัน 5

ผูกูทงหมด (คน)
  ้ ้ ั                                                      75           57       98        63       84        72
จํานวนสมาชิกทีไม่สงเงินกูตามกําหนด
                  ่      ้                                    3            3         4       -          4        2
จํานวนสมาชิกทีผ่านเกณฑ์แต่ได้รบอนุ มตน้อยกว่าทีขอ
                               ั    ั ิ                       7            7       -         -        -         28
จํานวนสมาชิกทีกูหมุนเวียน
                ้                                             6           10         2       10         3        N/A

จํานวนสมาชิกทีไม่สงเงินกูตามกําหนด/ผูกูทงหมด
                   ่     ้            ้ ้ ั                   3%           5%       4%        0%       5%        3%
จํานวนสมาชิกทีผ่านเกณฑ์แต่ได้รบอนุ มตน้อยกว่าทีขอ/ผูกู้
                                ั    ั ิ            ้         8%          12%       0%        0%       0%       28%
จํานวนสมาชิกทีเข้าร่วมประชุมประจําปี/จํานวนสมาชิก            68%          90%      70%       75%      50%       57%
จํานวนสมาชิกทีกูหมุนเวียน/ผูกู้
                ้           ้                                13%          18%      13%       16%       4%        N/A

คะแนนเฉลีย
ผลประกอบการด้านการเงิน (อัตราเงินกูทไม่สงตามกําหนด)
                                   ้ ี ่                      8%          11%       5%        5%       3%       15%
ผลประกอบการด้านสังคม (อัตราการร่วมประชุมของสมาชิก)           68%          90%      70%       75%      50%       57%

จัดอันดับถ่วงนําหนัก (1=ดีทสุด)
                           ี
ผลประกอบการด้านการเงิน                                            1            1         1        1         1        1
ผลประกอบการด้านสังคม                                              2            1         2        2         3        3
กรณีศกษา: เปรียบเทียบงบดุลปี 2551
      ึ
เปรียบเทียบงบดุล 2551            สถาบัน 1     สถาบัน 2    สถาบัน 3
สินทรัพย์
เงินสดในมือ                            0.1%        2.6%        0.0%
เงินฝากธนาคารและกลุมอืน
                    ่                 14.4%       29.1%       30.8%
เงินลงทุน                             12.8%        0.0%        0.0%
ลูกหนี                                69.2%       68.3%       65.8%
อุปกรณ์และทีดิน                        3.5%        0.0%        3.4%
รวมสินทรัพย์                         100.0%      100.0%      100.0%

หนีสินและทุน
เงินกองทุน                             0.0%       19.1%       52.7%
เงินกูธนาคาร
      ้                                0.0%       17.3%        0.0%
เงินฝากและสัจจะ                       64.6%       54.6%       40.2%
กองทุนสวัสดิการ                       35.4%        0.0%        0.0%
สมทบกองทุน                             0.0%        0.9%        2.7%
รายได้(ค่าใช้จาย)สะสม
              ่                        0.0%        8.1%        4.4%
รวมหนีสินและทุน                      100.0%      100.0%      100.0%
กรณีศกษา: เปรียบเทียบผลประกอบการทางการเงิน
      ึ
อัตราส่วนทางการเงิน 2551                                 กลุ่มสวัสดิการ สถาบัน 1 สถาบัน 2
กําไรสุทธิ / ทรัพย์สน
                    ิ                                           4.0%       0.9%      3.3%
     ั
เงินปนผลจ่าย / ยอดค่าหุน+สัจจะ
                       ้                                        7.0%       0.0%      3.3%
ยอดสินเชือ / ยอดเงินฝาก+สัจจะ                                 107.1%      75.1%     70.9%
ดอกเบียสินเชือรับ / ยอดสินเชือรวม                               4.9%      11.9%      6.3%
ค่าใช้จายดําเนินงาน / รายได้
       ่                                                       32.5%      53.1%     20.0%
ยอดสินเชือรวม / จํานวนลูกหนีรวม (บาท)                          24,586     7,845      5,392
เงินสวัสดิการ / จํานวนสมาชิก (บาท)                                308        23        18
กําไรสุทธิก่อนจ่ายสวัสดิการ / เงินจ่ายสวัสดิการ (เท่า)           0.87     14.60      13.00
เงินจ่ายสวัสดิการ / กองทุนสวัสดิการ+เงินสดและเงินฝาก            8.4%       0.6%      0.7%
ผลการประเมินเบืองต้น: สถาบัน 1
                                                           2548     2549     2550     2551
ความแข็งแกร่งทางการเงิน
กําไรสุทธิ / ยอดสัจจะ เงินฝาก และกองทุนสวัสดิการ          14.0%    8.8%    10.7%     1.6%
กําไรสุทธิ / ทรัพย์สน
                    ิ                                      1.5%    2.5%     5.4%     0.9%
กําไรสุทธิ / รายได้ทงหมด (เงินกู+ลงทุน)
                      ั         ้                         30.0%   52.0%    59.6%    11.1%

ประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบดุล
     ั
เงินปนผลจ่าย / ยอดค่าหุน+สัจจะ
                         ้                                 4.7%     6.2%     8.0%     0.0%
ยอดสินเชือ / ยอดเงินฝาก+สัจจะ                             98.8%    86.4%    94.6%    75.1%
(ยอดสินเชือปี นี - ยอดสินเชือปีก่อน) / ยอดสินเชือปีก่อน            62.2%    31.4%    51.0%
(ยอดเงินฝากปีนี - ยอดเงินฝากปีก่อน) / ยอดเงินฝากปี ก่อน           401.5%   123.4%   102.3%
ดอกเบียสินเชือรับ / ยอดสินเชือรวม                         5.3%      5.9%    10.8%    11.9%

ประสิทธิภาพการดําเนินงาน
ค่าใช้จายดําเนินงาน / รายได้
       ่                                                  60.0%   38.0%    30.4%    53.1%
ค่าใช้จายดําเนินงาน / ยอดสินเชือรวม
         ่                                                 3.2%    2.2%     3.3%     6.3%
ค่าใช้จายดําเนินงาน / จํานวนสมาชิก (บาทต่อคน)
           ่                                                                           495
ยอดสินเชือรวม / จํานวนลูกหนีรวม                                                      7,845
เงินสวัสดิการ / จํานวนสมาชิก                                                            23

ความพอเพียงของเงินสวัสดิการ
กําไรสุทธิก่อนจ่ายสวัสดิการ / เงินจ่ายสวัสดิการ                                      14.60
เงินจ่ายสวัสดิการ / กองทุนสวัสดิการ+เงินสดและเงินฝาก      0.0%     0.0%     0.0%     0.6%
ผลการประเมินเบืองต้น: สถาบัน 2
                                                            2548    2549     2550     2551
ความแข็งแกร่งทางการเงิน
กําไรสุทธิ / ยอดสัจจะ เงินฝาก และกองทุนสวัสดิการ          13.4%    13.6%    10.1%     8.2%
กําไรสุทธิ / ทรัพย์สน
                    ิ                                      4.6%     5.0%     4.1%     3.3%
กําไรสุทธิ / รายได้ทงหมด (เงินกู+ลงทุน)
                      ั         ้                         58.2%    65.2%    75.0%    75.0%

ประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบดุล
     ั
เงินปนผลจ่าย / ยอดค่าหุน+สัจจะ
                         ้                                  5.0%     6.1%    4.0%     3.3%
ยอดสินเชือ / ยอดเงินฝาก+สัจจะ                             100.9%    77.7%   70.8%    70.9%
(ยอดสินเชือปี นี - ยอดสินเชือปีก่อน) / ยอดสินเชือปีก่อน            -19.2%   -4.3%    -0.6%
(ยอดเงินฝากปีนี - ยอดเงินฝากปีก่อน) / ยอดเงินฝากปี ก่อน             13.0%   12.0%    -1.4%
ดอกเบียสินเชือรับ / ยอดสินเชือรวม                          8.6%     10.9%    7.9%     6.3%

ประสิทธิภาพการดําเนินงาน
ค่าใช้จายดําเนินงาน / รายได้
       ่                                                  30.5%    22.2%    20.0%    20.0%
ค่าใช้จายดําเนินงาน / ยอดสินเชือรวม
         ่                                                 2.6%     2.4%     1.7%     1.3%
ค่าใช้จายดําเนินงาน / จํานวนสมาชิก (บาทต่อคน)
           ่                                                 179      149      101       72
ยอดสินเชือรวม / จํานวนลูกหนีรวม                            6,752    6,126    6,068    5,392
เงินสวัสดิการ / จํานวนสมาชิก                                  66       85       25       18

ความพอเพียงของเงินสวัสดิการ
กําไรสุทธิก่อนจ่ายสวัสดิการ / เงินจ่ายสวัสดิการ             4.77     4.38   13.00    13.00
เงินจ่ายสวัสดิการ / กองทุนสวัสดิการ+เงินสดและเงินฝาก      14.1%     3.4%    0.8%     0.7%
ผลการประเมินเบืองต้น: กลุมสวัสดิการ (ตัวเลขปี 2551)
                          ่
ดัชนีชวัดผลประกอบการ
      ี                                                         งบกําไรขาดทุนรวม กองทุน+กลุ่มสัจจะ
ความแข็งแกร่งทางการเงิน                                         ค่าบํารุงสัจจะ                            791,798
กําไรสุทธิ / ยอดสัจจะ เงินฝาก และกองทุนสวัสดิการ        4.0%    รายได้อนๆื                                295,936
กําไรสุทธิ / รายได้ทงหมด (เงินกู+ลงทุน)
                    ั           ้                      32.2%    รวมรายได้                               1,087,734
                                                                ค่าเอกสาร                                  11,458
ประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบดุล                                 ค่าตอบแทนกรรมการ                           80,000
รายได้จากการลงทุน / ยอดเงินลงทุน                         1.4%   ค่าใช้จายอืนๆ ของกองทุน
                                                                       ่                                  261,963
     ั
เงินปนผลจ่าย / ยอดค่าหุน+สัจจะ
                       ้                                 7.0%   รวมค่าใช้จาย่                             353,421
ยอดสินเชือ / ยอดเงินฝาก+สัจจะ                          107.1%
ดอกเบียสินเชือรับ / ยอดสินเชือรวม                        4.9%   เงินเหลือสําหรับจัดสวัสดิการ              734,313
                                                                สวัสดิการจ่าย                             384,192
ประสิทธิภาพการดําเนินงาน                                        กําไรสุทธิ ทีแท้จริ ง                     350,121
ค่าใช้จายดําเนินงาน / รายได้
       ่                                               32.5%
ค่าใช้จายดําเนินงาน / ยอดสินเชือรวม
         ่                                              5.8%    เงินเหลือ/สวัสดิการ                          1.91
ค่าใช้จายดําเนินงาน / จํานวนสมาชิก (บาทต่อคน)
           ่                                              283         ั
                                                                เงินปนผลสมาชิก                            398,510
ยอดสินเชือรวม / จํานวนลูกหนีรวม                        24,586                  ั
                                                                เงินเหลือหลังปนผล/สวัสดิการ                  0.87
เงินสวัสดิการ / จํานวนสมาชิก                              308

ความพอเพียงของเงินสวัสดิการ                                            เงินจ่ายสวัสดิการต้องจ่ายตามพันธะผูกพัน
กําไรสุทธิก่อนจ่ายสวัสดิการ / เงินจ่ายสวัสดิการ          0.87                         ั
                                                                      ทีประกาศ เงินปนผลควร “เหลือ” จากส่วนนี
เงินจ่ายสวัสดิการ / กองทุนสวัสดิการ+เงินสดและเงินฝาก    8.4%                                         ั
                                                                      ไม่ใช่จายก่อน (ตัวเลขชีว่าจ่ายปนผลมากไป)
                                                                              ่

More Related Content

Similar to Community Banking in Thailand: Financial Performance Indicators and Preliminary Case Studies

ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56nachol_fsct
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
nachol_fsct
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
nachol_fsct
 
Read financial-statement-in-3-hours
Read financial-statement-in-3-hoursRead financial-statement-in-3-hours
Read financial-statement-in-3-hours
ASpyda Ch
 
Financial literacy university_slide
Financial literacy university_slideFinancial literacy university_slide
Financial literacy university_slidebuddykung
 
B T C1 M S Y.
B T C1  M S Y.B T C1  M S Y.
B T C1 M S Y.patmsy
 
คู่มือสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ครูแม่ฮ่องสอน1
คู่มือสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ครูแม่ฮ่องสอน1คู่มือสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ครูแม่ฮ่องสอน1
คู่มือสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ครูแม่ฮ่องสอน1
Somchart Phaeumnart
 
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจการเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจsmile-girl
 
EIC Consumer Survey 2023 : ผ่าปัญหาหนี้ครัวเรือน โจทย์ข้อใหญ่ที่ต้องแก้ไขอย่า...
EIC Consumer Survey 2023 : ผ่าปัญหาหนี้ครัวเรือน โจทย์ข้อใหญ่ที่ต้องแก้ไขอย่า...EIC Consumer Survey 2023 : ผ่าปัญหาหนี้ครัวเรือน โจทย์ข้อใหญ่ที่ต้องแก้ไขอย่า...
EIC Consumer Survey 2023 : ผ่าปัญหาหนี้ครัวเรือน โจทย์ข้อใหญ่ที่ต้องแก้ไขอย่า...
SCBEICSCB
 
รูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจรูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจNetsai Tnz
 
Ebooksint accsimple
Ebooksint accsimpleEbooksint accsimple
Ebooksint accsimpleRose Banioki
 
Ru Fm Chapter01 Updated
Ru Fm Chapter01 UpdatedRu Fm Chapter01 Updated
Ru Fm Chapter01 Updatedtltutortutor
 
Sustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case StudiesSustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case Studies
Sarinee Achavanuntakul
 
Online smart investor courses
Online smart  investor coursesOnline smart  investor courses
Online smart investor courses
phillipcapitalth
 
Bank of Thailand Payment Report 08
Bank of Thailand Payment Report 08Bank of Thailand Payment Report 08
Bank of Thailand Payment Report 08
Pawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสmaysupaporn
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสmaysupaporn
 

Similar to Community Banking in Thailand: Financial Performance Indicators and Preliminary Case Studies (20)

ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
 
ฉลาดใช้ฉลาดออม
ฉลาดใช้ฉลาดออมฉลาดใช้ฉลาดออม
ฉลาดใช้ฉลาดออม
 
Read financial-statement-in-3-hours
Read financial-statement-in-3-hoursRead financial-statement-in-3-hours
Read financial-statement-in-3-hours
 
Financial literacy university_slide
Financial literacy university_slideFinancial literacy university_slide
Financial literacy university_slide
 
B T C1 M S Y.
B T C1  M S Y.B T C1  M S Y.
B T C1 M S Y.
 
คู่มือสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ครูแม่ฮ่องสอน1
คู่มือสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ครูแม่ฮ่องสอน1คู่มือสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ครูแม่ฮ่องสอน1
คู่มือสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ครูแม่ฮ่องสอน1
 
หน่วยที่๕
หน่วยที่๕หน่วยที่๕
หน่วยที่๕
 
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจการเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
 
EIC Consumer Survey 2023 : ผ่าปัญหาหนี้ครัวเรือน โจทย์ข้อใหญ่ที่ต้องแก้ไขอย่า...
EIC Consumer Survey 2023 : ผ่าปัญหาหนี้ครัวเรือน โจทย์ข้อใหญ่ที่ต้องแก้ไขอย่า...EIC Consumer Survey 2023 : ผ่าปัญหาหนี้ครัวเรือน โจทย์ข้อใหญ่ที่ต้องแก้ไขอย่า...
EIC Consumer Survey 2023 : ผ่าปัญหาหนี้ครัวเรือน โจทย์ข้อใหญ่ที่ต้องแก้ไขอย่า...
 
รูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจรูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจ
 
Ebooksint accsimple
Ebooksint accsimpleEbooksint accsimple
Ebooksint accsimple
 
Ru Fm Chapter01 Updated
Ru Fm Chapter01 UpdatedRu Fm Chapter01 Updated
Ru Fm Chapter01 Updated
 
Sustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case StudiesSustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case Studies
 
Online smart investor courses
Online smart  investor coursesOnline smart  investor courses
Online smart investor courses
 
Bank of Thailand Payment Report 08
Bank of Thailand Payment Report 08Bank of Thailand Payment Report 08
Bank of Thailand Payment Report 08
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัส
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัส
 
1
11
1
 

More from Sarinee Achavanuntakul

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Sarinee Achavanuntakul
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?
Sarinee Achavanuntakul
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
Sarinee Achavanuntakul
 
2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View
Sarinee Achavanuntakul
 
Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19
Sarinee Achavanuntakul
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in Thailand
Sarinee Achavanuntakul
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable Business
Sarinee Achavanuntakul
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
Sarinee Achavanuntakul
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Sarinee Achavanuntakul
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Sarinee Achavanuntakul
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibility
Sarinee Achavanuntakul
 
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
Sarinee Achavanuntakul
 
Game & Social Problems
Game & Social ProblemsGame & Social Problems
Game & Social Problems
Sarinee Achavanuntakul
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
Sarinee Achavanuntakul
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
Sarinee Achavanuntakul
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
Sarinee Achavanuntakul
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital Age
Sarinee Achavanuntakul
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Sarinee Achavanuntakul
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Sarinee Achavanuntakul
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sector
Sarinee Achavanuntakul
 

More from Sarinee Achavanuntakul (20)

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
 
2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View
 
Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in Thailand
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable Business
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibility
 
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
 
Game & Social Problems
Game & Social ProblemsGame & Social Problems
Game & Social Problems
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital Age
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sector
 

Community Banking in Thailand: Financial Performance Indicators and Preliminary Case Studies

  • 1. ดัชนีชวัดผลประกอบการด้านการเงินขององค์กรการเงิน ี ชุมชนไทย: ข้อค้นพบเบืองต้นและกรณีศกษา ึ สฤณี อาชวานันทกุล Fringer | คนชายขอบ http://www.fringer.org/ ข้อค้นพบจากการศึกษาระยะที 1 โครงการศึกษาแนวทางจัดทําเครืองมือเพือประเมินตนเองขององค์กรการเงินฐานราก วันที 18 มิถุนายน 2552 ณ กองทุนส่งเสริมการวิจย (สกว.) ั งานนีเผยแพร่ภายใต้ลขสิทธิ Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by- ิ nc-sa) โดยผูสร้างอนุญาตให้ทาซํา แจกจ่าย แสดง และสร้างงานดัดแปลงจากส่วนใดส่วนหนึงของงานนี ้ ํ ได้โดยเสรี แต่เฉพาะในกรณีทให้เครดิตผูสร้าง ไม่นําไปใช้ในทางการค้า และเผยแพร่งานดัดแปลงภายใต้ ี ้ ลิขสิทธิเดียวกันนีเท่านัน
  • 2. หัวข้อนําเสนอ ข้อค้นพบเบืองต้นจากภาคสนาม ดัชนีชวัดผลประกอบการด้านการเงิน ี กรณีศกษาจากชัยนาทและนครศรีธรรมราช ึ 2
  • 3. ข้อค้นพบเบืองต้นจากภาคสนาม องค์กรการเงินชุมชนไทยยังมีน้อยรายทีมุงทํากําไร ส่วนใหญ่เน้นการรักษาเงิน ่ ให้ “เงินไม่หาย” มากกว่า และเน้นเป้าหมายทางสังคม/ชุมชน ดังนัน ความมันคง ทางการเงิน จึงยังคงสําคัญกว่าขีดความสามารถในการทํากําไร ข้อกังวล/ความเสียงหลายประการเป็ นประเด็นด้านการบริหารจัดการ เช่น หา ผูสนใจมาเป็ นกรรมการใหม่ยาก บางกลุมยังไม่มความรูเพียงพอในวิธการทํา ้ ่ ี ้ ี บัญชีทถูกต้อง ส่งผลให้ตวเลขทางบัญชีไม่สะท้อนผลการดําเนินงานทีแท้จริง ี ั สําหรับกองทุนทีเน้นการจัดสวัสดิการ ความเสียงหลักอยูทความเพียงพอของ ่ ี ั เงินทุนในการจัดสวัสดิการ โดยเฉพาะฌาปนกิจ เช่น เนืองจากจ่ายเงินปนผลมาก เกินควร เมือเปรียบเทียบกับแนวโน้มทีผูสงอายุจะมีมากขึน ู้ สําหรับกองทุนทีเน้นการปล่อยกู้ ความเสียงหลักอยูทการไม่สามารถใช้เงินกูใน ่ ี ้ การยกฐานะตัวเอง ทําให้ภาระหนีไม่ลดลง (ไม่สะท้อนในอัตราหนีเสียตราบใดที ยัง ‘ผลัดผ้าขาวม้า’ ได้)
  • 4. ดัชนีชวัดผลประกอบการด้านการเงิน ี 1. ความมันคงทางการเงิน (financial strength) กําไรสุทธิ / ยอดเงินค่าหุน เงินฝาก (รวมสัจจะ) และกองทุนสวัสดิการ – ความสามารถ ้ ในการทํากําไรจากเงินของสมาชิก กําไรสุทธิ / สินทรัพย์รวม (return on assets) – ความสามารถในการทํากําไรจาก สินทรัพย์รวมขององค์กร กําไรสุทธิ / รายได้ (net profit margin) – ความสามารถในการทํากําไรจากรายได้ ั เงินปนผลจ่าย / ยอดเงินค่าหุน – ผลตอบแทนรายปี ของสมาชิก ้ 2. ความสามารถในการบริหารจัดการสินทรัพย์และหนีสิน (asset/liability management) ยอดสินเชือ / ยอดเงินฝาก+เงินสัจจะ – ระดับการปล่อยกูเทียบกับแหล่งทุน ้ ดอกเบียเงินกู้ / ยอดสินเชือ – ผลตอบแทนจากการปล่อยกู้ (ยอดสินเชือปี นี - ยอดสินเชือปี ก่อน) / ยอดสินเชือปี ก่อน – อัตราการเติบโตของสินเชือ
  • 5. ดัชนีชวัดผลประกอบการด้านการเงิน (ต่อ) ี 3. คุณภาพของสินทรัพย์ทก่อให้เกิดรายได้ (อาทิ สินเชือ และเงินลงทุน) ี (portfolio quality) ยอดหนีเสีย / ยอดสินเชือรวม ยอดหนีทีผิดนัดติดต่อกันเกินสามงวด / ยอดสินเชือรวม มูลค่าสินเชือทีกูซา (กูหมุนเวียน) / ยอดสินเชือรวม ้ ํ ้ จํานวนสมาชิกทีขาดส่งสัจจะเกิน 3 เดือนในรอบปี / จํานวนสมาชิกทังหมด 4. ประสิทธิภาพในการดําเนินงาน (efficiency) ค่าใช้จายดําเนินงาน / รายได้ ่ ยอดสินเชือรวม / จํานวนลูกหนีรวม 5. ความพอเพียงของเงินสวัสดิการ กําไรก่อนจ่ายสวัสดิการ / เงินจ่ายสวัสดิการ – ความเพียงพอในการจัดสวัสดิการ จํานวนสมาชิกทีอายุเกิน 70 ปี / จํานวนสมาชิก – แนวโน้มสวัสดิการฌาปนกิจ
  • 6. กรณีศกษา: เวทีหารือทีนครศรีธรรมราช วันที 18 มี.ค. 52 ึ สถาบันการเงินชุมชน เฉลีย สถาบัน 1 สถาบัน 2 สถาบัน 3 สถาบัน 4 สถาบัน 5 ผูกูทงหมด (คน) ้ ้ ั 75 57 98 63 84 72 จํานวนสมาชิกทีไม่สงเงินกูตามกําหนด ่ ้ 3 3 4 - 4 2 จํานวนสมาชิกทีผ่านเกณฑ์แต่ได้รบอนุ มตน้อยกว่าทีขอ ั ั ิ 7 7 - - - 28 จํานวนสมาชิกทีกูหมุนเวียน ้ 6 10 2 10 3 N/A จํานวนสมาชิกทีไม่สงเงินกูตามกําหนด/ผูกูทงหมด ่ ้ ้ ้ ั 3% 5% 4% 0% 5% 3% จํานวนสมาชิกทีผ่านเกณฑ์แต่ได้รบอนุ มตน้อยกว่าทีขอ/ผูกู้ ั ั ิ ้ 8% 12% 0% 0% 0% 28% จํานวนสมาชิกทีเข้าร่วมประชุมประจําปี/จํานวนสมาชิก 68% 90% 70% 75% 50% 57% จํานวนสมาชิกทีกูหมุนเวียน/ผูกู้ ้ ้ 13% 18% 13% 16% 4% N/A คะแนนเฉลีย ผลประกอบการด้านการเงิน (อัตราเงินกูทไม่สงตามกําหนด) ้ ี ่ 8% 11% 5% 5% 3% 15% ผลประกอบการด้านสังคม (อัตราการร่วมประชุมของสมาชิก) 68% 90% 70% 75% 50% 57% จัดอันดับถ่วงนําหนัก (1=ดีทสุด) ี ผลประกอบการด้านการเงิน 1 1 1 1 1 1 ผลประกอบการด้านสังคม 2 1 2 2 3 3
  • 7. กรณีศกษา: เปรียบเทียบงบดุลปี 2551 ึ เปรียบเทียบงบดุล 2551 สถาบัน 1 สถาบัน 2 สถาบัน 3 สินทรัพย์ เงินสดในมือ 0.1% 2.6% 0.0% เงินฝากธนาคารและกลุมอืน ่ 14.4% 29.1% 30.8% เงินลงทุน 12.8% 0.0% 0.0% ลูกหนี 69.2% 68.3% 65.8% อุปกรณ์และทีดิน 3.5% 0.0% 3.4% รวมสินทรัพย์ 100.0% 100.0% 100.0% หนีสินและทุน เงินกองทุน 0.0% 19.1% 52.7% เงินกูธนาคาร ้ 0.0% 17.3% 0.0% เงินฝากและสัจจะ 64.6% 54.6% 40.2% กองทุนสวัสดิการ 35.4% 0.0% 0.0% สมทบกองทุน 0.0% 0.9% 2.7% รายได้(ค่าใช้จาย)สะสม ่ 0.0% 8.1% 4.4% รวมหนีสินและทุน 100.0% 100.0% 100.0%
  • 8. กรณีศกษา: เปรียบเทียบผลประกอบการทางการเงิน ึ อัตราส่วนทางการเงิน 2551 กลุ่มสวัสดิการ สถาบัน 1 สถาบัน 2 กําไรสุทธิ / ทรัพย์สน ิ 4.0% 0.9% 3.3% ั เงินปนผลจ่าย / ยอดค่าหุน+สัจจะ ้ 7.0% 0.0% 3.3% ยอดสินเชือ / ยอดเงินฝาก+สัจจะ 107.1% 75.1% 70.9% ดอกเบียสินเชือรับ / ยอดสินเชือรวม 4.9% 11.9% 6.3% ค่าใช้จายดําเนินงาน / รายได้ ่ 32.5% 53.1% 20.0% ยอดสินเชือรวม / จํานวนลูกหนีรวม (บาท) 24,586 7,845 5,392 เงินสวัสดิการ / จํานวนสมาชิก (บาท) 308 23 18 กําไรสุทธิก่อนจ่ายสวัสดิการ / เงินจ่ายสวัสดิการ (เท่า) 0.87 14.60 13.00 เงินจ่ายสวัสดิการ / กองทุนสวัสดิการ+เงินสดและเงินฝาก 8.4% 0.6% 0.7%
  • 9. ผลการประเมินเบืองต้น: สถาบัน 1 2548 2549 2550 2551 ความแข็งแกร่งทางการเงิน กําไรสุทธิ / ยอดสัจจะ เงินฝาก และกองทุนสวัสดิการ 14.0% 8.8% 10.7% 1.6% กําไรสุทธิ / ทรัพย์สน ิ 1.5% 2.5% 5.4% 0.9% กําไรสุทธิ / รายได้ทงหมด (เงินกู+ลงทุน) ั ้ 30.0% 52.0% 59.6% 11.1% ประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบดุล ั เงินปนผลจ่าย / ยอดค่าหุน+สัจจะ ้ 4.7% 6.2% 8.0% 0.0% ยอดสินเชือ / ยอดเงินฝาก+สัจจะ 98.8% 86.4% 94.6% 75.1% (ยอดสินเชือปี นี - ยอดสินเชือปีก่อน) / ยอดสินเชือปีก่อน 62.2% 31.4% 51.0% (ยอดเงินฝากปีนี - ยอดเงินฝากปีก่อน) / ยอดเงินฝากปี ก่อน 401.5% 123.4% 102.3% ดอกเบียสินเชือรับ / ยอดสินเชือรวม 5.3% 5.9% 10.8% 11.9% ประสิทธิภาพการดําเนินงาน ค่าใช้จายดําเนินงาน / รายได้ ่ 60.0% 38.0% 30.4% 53.1% ค่าใช้จายดําเนินงาน / ยอดสินเชือรวม ่ 3.2% 2.2% 3.3% 6.3% ค่าใช้จายดําเนินงาน / จํานวนสมาชิก (บาทต่อคน) ่ 495 ยอดสินเชือรวม / จํานวนลูกหนีรวม 7,845 เงินสวัสดิการ / จํานวนสมาชิก 23 ความพอเพียงของเงินสวัสดิการ กําไรสุทธิก่อนจ่ายสวัสดิการ / เงินจ่ายสวัสดิการ 14.60 เงินจ่ายสวัสดิการ / กองทุนสวัสดิการ+เงินสดและเงินฝาก 0.0% 0.0% 0.0% 0.6%
  • 10. ผลการประเมินเบืองต้น: สถาบัน 2 2548 2549 2550 2551 ความแข็งแกร่งทางการเงิน กําไรสุทธิ / ยอดสัจจะ เงินฝาก และกองทุนสวัสดิการ 13.4% 13.6% 10.1% 8.2% กําไรสุทธิ / ทรัพย์สน ิ 4.6% 5.0% 4.1% 3.3% กําไรสุทธิ / รายได้ทงหมด (เงินกู+ลงทุน) ั ้ 58.2% 65.2% 75.0% 75.0% ประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบดุล ั เงินปนผลจ่าย / ยอดค่าหุน+สัจจะ ้ 5.0% 6.1% 4.0% 3.3% ยอดสินเชือ / ยอดเงินฝาก+สัจจะ 100.9% 77.7% 70.8% 70.9% (ยอดสินเชือปี นี - ยอดสินเชือปีก่อน) / ยอดสินเชือปีก่อน -19.2% -4.3% -0.6% (ยอดเงินฝากปีนี - ยอดเงินฝากปีก่อน) / ยอดเงินฝากปี ก่อน 13.0% 12.0% -1.4% ดอกเบียสินเชือรับ / ยอดสินเชือรวม 8.6% 10.9% 7.9% 6.3% ประสิทธิภาพการดําเนินงาน ค่าใช้จายดําเนินงาน / รายได้ ่ 30.5% 22.2% 20.0% 20.0% ค่าใช้จายดําเนินงาน / ยอดสินเชือรวม ่ 2.6% 2.4% 1.7% 1.3% ค่าใช้จายดําเนินงาน / จํานวนสมาชิก (บาทต่อคน) ่ 179 149 101 72 ยอดสินเชือรวม / จํานวนลูกหนีรวม 6,752 6,126 6,068 5,392 เงินสวัสดิการ / จํานวนสมาชิก 66 85 25 18 ความพอเพียงของเงินสวัสดิการ กําไรสุทธิก่อนจ่ายสวัสดิการ / เงินจ่ายสวัสดิการ 4.77 4.38 13.00 13.00 เงินจ่ายสวัสดิการ / กองทุนสวัสดิการ+เงินสดและเงินฝาก 14.1% 3.4% 0.8% 0.7%
  • 11. ผลการประเมินเบืองต้น: กลุมสวัสดิการ (ตัวเลขปี 2551) ่ ดัชนีชวัดผลประกอบการ ี งบกําไรขาดทุนรวม กองทุน+กลุ่มสัจจะ ความแข็งแกร่งทางการเงิน ค่าบํารุงสัจจะ 791,798 กําไรสุทธิ / ยอดสัจจะ เงินฝาก และกองทุนสวัสดิการ 4.0% รายได้อนๆื 295,936 กําไรสุทธิ / รายได้ทงหมด (เงินกู+ลงทุน) ั ้ 32.2% รวมรายได้ 1,087,734 ค่าเอกสาร 11,458 ประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบดุล ค่าตอบแทนกรรมการ 80,000 รายได้จากการลงทุน / ยอดเงินลงทุน 1.4% ค่าใช้จายอืนๆ ของกองทุน ่ 261,963 ั เงินปนผลจ่าย / ยอดค่าหุน+สัจจะ ้ 7.0% รวมค่าใช้จาย่ 353,421 ยอดสินเชือ / ยอดเงินฝาก+สัจจะ 107.1% ดอกเบียสินเชือรับ / ยอดสินเชือรวม 4.9% เงินเหลือสําหรับจัดสวัสดิการ 734,313 สวัสดิการจ่าย 384,192 ประสิทธิภาพการดําเนินงาน กําไรสุทธิ ทีแท้จริ ง 350,121 ค่าใช้จายดําเนินงาน / รายได้ ่ 32.5% ค่าใช้จายดําเนินงาน / ยอดสินเชือรวม ่ 5.8% เงินเหลือ/สวัสดิการ 1.91 ค่าใช้จายดําเนินงาน / จํานวนสมาชิก (บาทต่อคน) ่ 283 ั เงินปนผลสมาชิก 398,510 ยอดสินเชือรวม / จํานวนลูกหนีรวม 24,586 ั เงินเหลือหลังปนผล/สวัสดิการ 0.87 เงินสวัสดิการ / จํานวนสมาชิก 308 ความพอเพียงของเงินสวัสดิการ เงินจ่ายสวัสดิการต้องจ่ายตามพันธะผูกพัน กําไรสุทธิก่อนจ่ายสวัสดิการ / เงินจ่ายสวัสดิการ 0.87 ั ทีประกาศ เงินปนผลควร “เหลือ” จากส่วนนี เงินจ่ายสวัสดิการ / กองทุนสวัสดิการ+เงินสดและเงินฝาก 8.4% ั ไม่ใช่จายก่อน (ตัวเลขชีว่าจ่ายปนผลมากไป) ่