SlideShare a Scribd company logo
บทนำเรื่องเคลือบ
(Introduction to Glazes)
ดร.อ่อนลมี กมลอินทร์
(Dr. Onlamee Kamon-in)
โปรแกรมวิชำเทคโนโลยีเซรำมิกส์ คณะเทคโนโลยีอุตสำหกรรม
มหำวิทยำลัยรำชภัฏนครรำชสีมำ
outline
• เคลือบเบื้องต้น (Glazes Basics)
• รูปสำมเหลี่ยมของเคลือบ (Glazes Triangle)
เคลือบเบื้องต้น
(Glaze Basics)
เคลือบเซรำมิกส์ คืออะไร
เคลือบ คือ ชั้นแก้วบำงๆ ที่ผ่ำนกำรหลอมแล้วห่อหุ้มผิวของชั้นดิน
• ลักษณะโดยทั่วไปของเคลือบ คือ การเกิดชั้นแก้วบางๆ ที่ห่อหุ้มผิวของชั้นดินเมื่อผ่าน
กระบวนการเผาให้ความร้อน
• วัตถุประสงค์ของการเคลือบ มีดังนี้
เพื่อตกแต่งให้เกิด สีสัน (colour) ลายลาย (texture) และการทึบแสง (opacity) และอื่นๆ
เพื่อเพิ่มอรรถประโยชน์ในการใช้งาน เช่น การทาความสะอาดผิวได้งาน การเพิ่มความแข็งแรงให้กับเนื้อ
ดิน
แก้ว คืออะไร
แก้วส่วนใหญ่จะมีกำรขึ้นรูปด้วยกำรหลอมของวัสดุที่หลอมได้ เช่น ซิลิกำ
• สาหรับการผลิตแก้วจะต้องใช้การผสมวัตถุดิบที่อยู่ในรูปของออกไซด์
• โดยส่วนใหญ่แก้วจะอยู่ในรูปของออกไซด์ที่เป็นซิลิกา (SiO2)
จุดหลอมของซิลิกำ คือ อะไร
ซิลิกำอย่ำงเดียวจะเกิดกำรหลอมตัวที่อุณหภูมิประมำณ 1,710 องศำเซลเซียส หรือ
มำกกว่ำ
• เตาเผาเครื่องปั้นดินเผาทั่วไปจะไม่สามารถเผาได้อุณภูมิสูงมากพอที่จะหลอมซิลิกา
• สาหรับการหลอมซิลิกาที่อุณหภูมิต่าลงจะต้องผสมวัตถุดิบตัวอื่นกับซิลิกา
จะสำมำรถลดอุณหภูมิในกำรหลอมของซิลิกำให้ต่ำลงได้อย่ำงไร
กำรลดอุณหภูมิในกำรหลอมของซิลิกำให้ต่ำลงสำมำรถใช้ตัวช่วยหลอมหรือฟลักซ์
(Fluxes) ในส่วนผสมได้
• ถ้าวัตถุดิบอื่นที่เป็นฟลักซ์ผสมกับซิลิกาในสัดส่วนที่ถูกต้องเหมาะสมและอยู่ในขอบเขตที่
กาหนด จะทาให้จุดหลอมของส่วนผสมนั้นต่าลงกว่าจุดหลอมตัวของวัตถุดิบเองในส่วนผสม
• อย่างไรก็ตาม เมื่อมีซิลิกาและฟลักซ์ในส่วนผสมจะทาให้ส่วนผสมเกิดการหลอมตัวได้เร็วขึ้น
จนกลายเป็นของเหลวคล้ายกับน้า และจะแผ่ออกไปทุกทิศทางตามแนวนอนของพื้นผิว
• ทุกๆ ช่วงอุณหภูมิในการหลอมของซิลิกากับฟลักซ์ที่มีในส่วนผสม เราจะพบปัญหาเรื่อง
อุณหภูมิในการหลอมที่ไม่เท่ากันสาหรับเตาเผาที่มีลักษณะแตกต่างกันหรือเตาเผาที่อยู่คนละ
ที่กัน
จะสำมำรถเพิ่มควำมเสถียรให้กับกำรหลอมเคลือบได้อย่ำงไร
เติมหรือเพิ่มวัตถุดิบ ซึ่งประกอบด้วยออกไซด์ที่ทำหน้ำให้ควำมเสถียร (stabilising
oxides) เป็ นตัวช่วยเพิ่มควำมหนืด (viscosity) ให้กับเคลือบ
• ถ้าเติมวัตถุดิบตัวที่ 3 ซึ่งเป็นออกไซด์ในส่วนผสม โดยทั่วไปจะเรียกว่าออกไซด์นี้ว่า “ตัวเพิ่ม
ความเหนียวให้เป็นแก้ว (glass stiffeners) หรือตัวเพิ่มความเสถียร
(stabalisers)” มีการเติมลงไปในสูตรเคลือบเพื่อช่วยขยายช่วงของการหลอมของ
ส่วนผสมออกไป โดยมันจะค่อยๆ หลอมผ่านจุดอ่อนตัวซึ่งมีลักษณะคล้ายกับน้าเชื่อมหรืออยู่
ในสภาวะที่มีความหนืดที่สูงขึ้น ก่อนที่จะกลับมาเป็นลักษณะคล้ายกับน้าและกลายเป็น
ของเหลวในที่สุด
• ความหนืด เป็นคาที่ใช้เพื่ออธิบายการไหลตัวของเคลือบหลอมเหลว ความหนืดจะมากขึ้นและ
การหลอมคล้ายกับน้าเชื่อมก็จะมากขึ้น ซึ่งมันจะมีแนวโน้มที่จะเคลื่อนตัวได้ช้ามากๆ บน
พื้นผิวดินที่มีความชั้นหรือพื้นผิวดินในแนวตั้ง
สิ่งที่เป็ นองค์ประกอบสำคัญของเคลือบคืออะไร
กำรผสมเคลือบโดยทั่วไปตำมหลักทำงทฤษฎี เป็ นดังนี้
• ตัวช่วยหลอม (Fluxes) >> ลดช่วงอุณหภูมิในกำรหลอมให้กับส่วนผสม
• ตัวช่วยให้เกิดควำมเสถียร (Stabilisers) >> เพิ่มควำมหนืดและขยำยช่วงอุณหภูมิในกำรหลอม
• ตัวทำให้เกิดแก้ว (Glass Formers) >> สร้ำงให้เกิดรูปแบบแก้ว
• วัตถุดิบตัวที่ 4 อำจจะถูกเพิ่มเข้ำมำได้เพื่อสร้ำงสีให้กับเคลือบ
ตัวช่วยหลอม
Flux (es)
ตัวช่วยให้
เกิดควำม
เสถียร
Stabilise
r(s)
ตัวทำให้เกิดแก้ว
Glass
Former(s)
วัตถุดิบที่ใช้ในกำรทำเคลือบคืออะไร
เคลือบจะทำโดยกำรผสมกันของวัตถุดิบที่มีอยู่ในธรรมชำติหรือมีจำหน่ำยในเชิงพำณิชย์
• สูตรเคลือบ คือ รายการของวัตถุดิบซึ่งได้เลือกใช้ทั้งกลุ่ม fluxes, stabilisers และ
glass formers ซึ่งจาเป็นต้องใช้ในการเคลือบ
• วัตถุดิบที่มีโครงสร้างทางเคมีที่ง่ายหรือซับซ้อนของธาตุ ซึ่งเมื่อให้ความร้อนด้วยการเผา แล้ว
อยู่ในรูปที่ปลดปล่อยออกไซด์ และร่วมกับออกไซด์ตัวอื่นได้ แล้วเกิดเป็นแก้วหรือเคลือบ
ออกไซด์ (oxide) คืออะไร
ออกไซด์ คือ กำรรวมกันทำงเคมีของอะตอมออกซิเจนกับธำตุโลหะหรืออโลหะ
Silicon
+
Oxygen
=
silicon oxide (silica)
Si
+
O2
=
SiO2
metallic element 2 oxygen atoms silicon and oxygen
combine
to form the oxide
chemical symbol
for a silicon atom
chemical symbol
for oxygen
chemical formula
for silica molecule
สำรเคมีที่อยู่ในกลุ่มวัตถุดิบของกำรเผำเคลือบ
กำรเผำเคลือบ (แก้ว) ประกอบโครงสร้ำงที่ซับซ้อน (เมทริกซ์) ของจำนวนออกไซด์
• ออกไซด์แต่ละประเภทในเคลือบสามารถแบ่งตามหน้าที่ในการหลอม เช่น ตัวช่วยหลอม
(Flux) ตัวช่วยให้เกิดความเสถียร (Stabiliser) หรือตัวทาให้เกิดแก้ว (Glass
Former)
• ออกไซด์ที่พบโดยทั่วไปในเคลือบFlux
K2O
Na2O
Li2O
CaO
MgO
BaO
ZnO
PbO
SrO
potassium oxide
sodium oxide
lithium oxide
calcium oxide
magnesium oxide
barium oxide
zinc oxide
lead oxide
strontium oxide
Stabiliser
Al2O
3
aluminium oxide
Glass Former
SiO2 Silicon oxide
สัญลักษณ์ต่ำงๆ ที่ใช้ในกำรแบ่งออกไซด์ของเคลือบ
สัญลักษณ์ต่ำงๆ โดยทั่วไปที่ใช้ในกำรแสดงกำรแบ่งออกไซด์ในเคลือบ
ตัวช่วยหลอม (Flux)
สัญลักษณ์ (RO or R2O)
การรวมกันของออกซิเจนอะตอม
1 ตัว กับโลหะอะตอม 1 หรือ 2
ตัว
กลุ่มด่ำง (Base)
ออกไซด์ที่อยู่ในรูปแบบของ RO
หรือR2O ซึ่งเรียกว่าวัตถุดิบกลุ่ม
ด่าง
ตัวทำให้เกิดควำมเสถียร (Stabilizer)
สัญลักษณ์ (R2O3)
การรวมกันของออกซิเจนอะตอม 3 ตัว กับ
โลหะอะตอม 2 ตัว
กลุ่มกลำง (Amphoterics)
ออกไซด์ที่อยู่ในรูปแบบของ R2O3 ซึ่ง
เรียกว่าวัตถุดิบกลุ่มกลาง
ตัวทำให้เกิดแก้ว (Glass
Former)
สัญลักษณ์ (RO2)
การรวมกันของออกซิเจนอะตอม 2 ตัว
กับโลหะอะตอม 1 ตัว
กลุ่มกรด (Acids)
ออกไซด์ที่อยู่ในรูปแบบของ RO2 ซึ่ง
เรียกว่าวัตถุดิบกลุ่มกรด
วัตถุดิบที่ให้ออกไซด์เฉพำะในเคลือบ
กำรทำเหมื่องแร่หรือกำรสังเครำะห์วัตถุดิบเพื่อให้ได้ออกไซด์ที่จำเป็ นในเคลือบ 1 ตัวหรือ
มำกกว่ำ
• วัตถุดิบบางตัวที่รวมกับออกไซด์ซึ่งใช้สาหรับการหลอมเคลือบ
Raw Material Flux
Base
RO or R2O
Stabiliser
Amphoteric
R2O3
Glass Former
Acid
RO2
หินปูน (Whiting; calcium
carbonate)
ดินขาว (clays)
แมกนีเซียมคาร์บอเนต (magnesium
carbonate)
เฟลด์สปาร์ (feldspars)
โดโลไมท์ (dolomite)
แบเรียมคาร์บอเนต (barium
carbonate)
CaO
---------
MgO
K2O,Na2O,CaO etc
MgO, CaO
BaO
CaO
MgO
---------
Al2O3
---------
Al2O3
---------
---------
---------
---------
---------
SiO2
---------
SiO2
---------
---------
SiO2
SiO2
ผลของควำมร้อนที่มีต่อวัตถุดิบ
วัตถุดิบจำนวนมำกที่ต้องใช้ควำมร้อนในระหว่ำงกระบวนกำรเผำเพื่อแยกออกไซด์
• ตัวอย่างเช่น หินปูน (CaCO3) จะต้องใช้ความร้อนที่อุณหภูมิ 825 องศาเซลเซียส ในการแยกให้เป็น
ออกไซด์ 2 ตัว และจะเกิดการปลดปล่อยฟองแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) จากแคลเซียมไดออกไซด์
ซึ่งเป็นตัวช่วยหลอมแก้ว และช่วยให้อุณหภูมิในการหลอมตัวลดลง
• เมื่อผสมหินปูนกับออกไซด์ตัวอื่นจะทาให้อุณหภูมิในการหลอมของส่วนผสมลดลงต่ากว่าอุณหภูมิ 825
องศาเซลเซียส
• อุณหภูมิการหลอมของกลุ่มออกไซด์ที่เกิดร่วมกัน จะเรียกว่า อุณหภูมิยูเทคติก (eutectic
temperature)
whiting
(calciumcarbo
nate)
heated to
825
deg.C
>>>
calcium
oxide
+
carbon
dioxide
CaCO3 >>>>>>>>>> CaO CO2
Flux oxide
remains in the
glaze.
Bubbles out
of the
glaze as a
gas.
ฟริต (Frit) คืออะไร
ฟริต เป็ นผงของแก้วที่นำไปทำเคลือบเป็ นผลิตภัณฑ์ที่มีจำหน่ำยเชิงพำณิชย์ประกอบด้วย
ออกไซด์เฉพำะที่ไม่สำมำรถใช้ในรูปอื่นๆ ได้
• ออกไซด์บางชนิดที่นามาเป็นวัตถุดิบสาหรับทาเคลือบอาจอยู่ในรูปที่ไม่สะดวกต่อการนาไปใช้งาน วัตถุดิบที่สามารถ
ละลายได้ (ละลายได้ง่ายในน้า) หรืออาจไม่เสถียรในบรรยากาศ หรือมีออกไซด์ที่ไม่ต้องการเพิ่มมาในเคลือบ ออกไซด์ที่
สามารถนามาใช้งานได้สะดวกมักอยู่ในรูปที่รวมกันโดยผ่านกระบวนกการทางอุตสาหกรรม เราเรียกว่า การทาฟริต
• ฟริต คือ การรวมวัตถุดิบ (ที่อยู่ในสูตรเคลือบ) ซึ่งสามารถหลอมตัวอยู่ในรูปของแก้วที่ประกอบด้วยออกไซด์ที่ต้องการ
และเมื่อส่วนผสมที่หลอมเย็นตัวลงอย่างรวดเร็วจะได้แก้ว แล้วนาไปบดจนได้ผงละเอียดที่พร้อมจะนาไปผสมกับวัตถุดิบ
ชนิดอื่นๆ สาหรับกระบวนการเตรียมเคลือบ ฟริตเป็นเคลือบสาเร็จรูปที่ถูกออกแบบมาเพื่อให้ใช้งานเฉพาะ โดยส่วนใหญ่
การรวมตัวของฟริตกับวัตถุดิบชนิดอื่นสามารถสร้างเคลือบชนิดใหม่ได้ โดยเฉพาะการใช้ประโยชน์ของฟริตสาหรับเตรียม
เคลือบที่เผาอุณหภูมิต่าโดยในเชิงพาณิชย์ได้ออกแบบฟริตให้มีปริมาณของ Al2O3 และ SiO2 ในปริมาณไม่มาก
เพื่อลดอุณหภูมิในการเผา
• ตัวอย่างวัตถุดิบ เช่น แร่เฟลด์สปาร์ (feldspars) แร่วอลลาสโทไนท์ (wollastonite) และแร่ทัลค (talc)
เป็นฟริตที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติโดยอาศัยความร้อนและแรงดันของชั้นเปลือกโลก
ออกไซด์ที่อำจพบในเคลือบสโตนแวร์ทั่วไป
สูตรเคลือบสโตนแวร์ทั่วไปจะประกอบด้วยวัตถุดิบต่ำงๆ เมื่อเผำจะปล่อยแก๊สของออกไซด์เฉพำะบำงตัว
ออกมำ และอยู่ในรูปของแก้วที่กำลังหลอมที่อุณหภูมิจำเพำะหนึ่ง
ตารางการวิเคราะห์อย่างง่ายสาหรับออกไซด์ที่ได้จากแร่ ส่วนจานวนโมเลกุลที่อยู่ในเคลือบจะต้องใช้การ
คานวณอย่างละเอียด
Raw Material
Recipe
Flux
Oxides
Stabilise
r Oxides
Glass
Oxides
Feldspar
Whiting
China
Clay
Siica
40
30
20
10
provides
>>
provides
>>
provides
>>
provides
>>
K2O, Na2O,
CaO
CaO
------
------
Al2O3
------
Al2O3
------
SiO2
------
SiO2
SiO2
รูปสำมเหลี่ยมของเคลือบ
(Glaze Triangle)
รูปสำมเหลี่ยมของเคลือบ คืออะไร
รูปสำมเหลี่ยมของเคลือบ คือ แผนภำพต้นแบบอย่ำงง่ำยที่
อธิบำยควำมสัมพันธ์ระหว่ำงโมเลกุลที่ทำให้เกิดโครงสร้ำงของ
แก้ว
• ในระหว่างกระบวนการเผาวัตถุดิบจะเกิดการสลายตัวของโมเลกุลที่เป็น
ออกไซด์ต่างๆ แล้วเชื่อมต่อกันเกิดเป็นโครงสร้างของแก้ว โครงสร้างนี้จะ
สามารถเชื่อมต่อกันตามรูปสามเหลี่ยมซึ่งที่มุมของแต่ละมุมของ
สามเหลี่ยมจะแสดงถึงองค์ประกอบหลักเพียงอย่างเดียว (flux,
stabiliser, glass-former).
• บางครั้งในการหลอมออกไซด์บางตัวอาจจะไม่หลอมละลายและอาจะถูก
ปล่อยออกไปจากโครงสร้าง
• รูปสามเหลี่ยมของแก้วอาจจะเป็นการพิจารณาสาหรับหนึ่งหน่วยของ
แก้ว
กำรทำแก้วที่ใส (transparent), แก้วโปร่งแสง
กำรเลือก flux, stabilisers และ glass-
formers ให้เหมำะสมสำหรับเตรียมเคลือบใส
• ถ้าเลือกอัตราส่วนผสมที่ถูกต้องของวัตถุดิบหลักทั้ง 3
กลุ่ม ของแก้วที่แสดง (อุณหภูมิการเผาที่เหมาะสม) แล้ว
ทาให้โมเลกุลของ alkalai, amphoteric และ
acid รวมตัวกันอยู่ในรูปโครงสร้างของแก้วได้
• ตัวอย่าง สามเหลี่ยมของเคลือบใส
ตัวอย่ำงต้นแบบของเคลือบซึ่งมี
fluxes (K2O, Na2O, CaO)
รวมตัวกับ amphoteric oxides
(Al2O3) และ acid oxides
(SiO2)
จะเกิดอะไรขึ้นถ้ำส่วนประกอบในกำรหลอมเคลือบไม่สมดุล
โครงสร้ำงของแก้วจะทึบแสง (opaque) และเกิดลวดลำย
(textured) เนื่องจำกมี flux หรือ stabiliser หรือ
glass-former oxides มำกเกินไป
• ในระหว่างกระบวนการหลอมโมเลกุลของ flux,
stabiliser และ glass-former oxides จะ
รวมตัวกันกลายเป็นโครงสร้างของแก้ว
• ถ้าเกิดมีโมเลกุลของออกไซด์ตัวใดตัวหนึ่งมากเกินไปจะทาให้
เกิดโมเลกุลของออกไซด์นั้นคงเหลือค้างอยู่ จึงเป็นสาเหตุให้
เกิดเคลือบทึบแสงและลวดลายขึ้น เพราะว่าเกิดการตกผลึก
ของเคลือบ (crystalisation)
แผนภำพแสดงกำรหลอมของเคลือบที่มี
ปริมำณของ alumina และ silica
โมเลกุลมำกเกินไป
ผลของกำรมีปริมำณ flux oxides ในเคลือบมำกเกินไป
ปริมำณ flux ที่มีมำกเกินไป เป็ นสำเหตุให้เกิดเคลือบ
ไหลตัวและมีแนวโน้มที่จะทำให้เกิดลวดลำยขึ้นบนผิว
เคลือบ
• ลวดลายอาจจะมีความมันวาวมากๆ เมื่อแก้วมีความสมดุล และ
อาจจะมีผิวด้านเมื่อมีปริมาณของ flux oxides มากเกินไป
และอาจจะในรูปที่มองเห็นได้ชัดเจน ผิวไม่เรียบ หรือเกิดเป็นผลึก
ได้
• เคลือบในตัวอย่างแผนภาพที่แสดง อาจจะเกิดการไหลตัวได้ที่บาง
อุณหภูมิ และอาจจะเกิดเป็นหย่อมๆ กับบริเวณพื้นที่ของเคลือบใส
ที่กระจายไปด้วยบริเวณพื้นที่ผิวทึบ หรือเกิดการพัฒนาเป็นผลึกขึ้น
บริเวณรอบโมเลกุล CaO ที่เป็นอิสระ และไม่ยึดกับ Al2O3
และ SiO2 ในโครงสร้างของแก้ว
แผนภำพแสดงปริมำณโมเลกุลของ
calcium oxide (CaO) ที่มีมำก
เกินไปในเคลือบ
ผลของกำรมีปริมำณ amphoteric oxides ในเคลือบมำก
เกินไป
ปริมำณของ amphoteric ที่มำกเกินไป เป็ น
สำเหตุทำให้เคลือบหนืด และมีแนวโน้มที่จะทึบแสง
และทำให้เกิดลวดลำยที่ผิวของเคลือบ
• โดยทั่วไป alumina ในเคลือบมีออกไซด์ซึ่งเรียกว่า Al2O3
เป็นออกไซด์ที่อยู่ในกลุ่ม amphoteric และมีในเคลือบทุก
ชนิด เคลือบที่มีการเติม Al2O3 มากเกินไปจะทาให้เคลือบมี
ความหนืดมากๆ และมีความเสถียร บางครั้งอาจทาให้เกิดตาหนิรู
เข็ม (pinhole defects) alumina ที่คงค้างในรูปของ
ผลึกจะทาให้เกิดพื้นผิวที่แห้งหยาบขึ้นกับปริมาณที่เกินมา
• alumina ปริมาณมากสามารถยับหยั้งการหลอมตัวของ
เคลือบได้ ในระดับหนึ่งอาจเกิดเป็นเคลือบทึบ และมีแนวโน้มที่จะ
ทาให้สีซีด
แผนภำพแสดงปริมำณโมเลกุลของ
alumina oxide (Al2O3) ที่มีมำก
เกินไปในเคลือบ
ผลของกำรมีปริมำณ RO2 glass-former oxides ในเคลือบ
มำกเกินไป
ปริมำณโมเลกุล acid ที่มีมำกเกินไปในเคลือบจะทำให้เคลือบ
หนืด มีสีขำวมำกๆ ทึบแสง และเกิดลวดลำยที่ผิวมันวำว
• โดยทั่วไป silica ในเคลือบมีออกไซด์ซึ่งเรียกว่า SiO2 เป็นออกไซด์ที่
อยู่ในกลุ่ม glass-former (acid) และมีในเคลือบทุกชนิด
เคลือบที่มีการเติม SiO2 จะทาให้เคลือบมีความหนืดสูงและมีความ
เสถียร silica ที่คงค้างในรูปของผลึกจะทาให้เกิดพื้นผิวที่แห้งหยาบ
ขึ้นกับปริมาณที่เกินมา
• silica ปริมาณมากสามารถยับหยั้งการหลอมตัวของเคลือบได้ ซึ่งจะได้
เคลือบสีขาว และลวดลายขรุขระคล้ายกับกระดาษทราย
ปริมำณของโมเลกุล silica (SiO2) ที่มีมำก
เกินไปในเคลือบจะมีแนวโน้มทำให้เคลือบขำว
หนืด และเกิดลวดลำย
ผลจำกกำรเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิในกำรเผำ
ถ้ำรักษำปริมำณของ flux ในสูตรเคลือบให้คงที่ อุณหภูมิกำรเผำจะสำมำรถหำได้จำก
ปริมำณของamphoteric (Al2O3) และ acid (SiO2) ที่สำมำรถเกิดกำรละลำย
ได้ในกำรหลอมเคลือบ
• เมื่อเคลือบถูกเผาและมันจะไม่หลอมเพียงพอที่จะไปอยู่ในรูปของแก้วที่ดีหากมีปริมาณของ
amphoteric และ/หรือ acid oxides มากเกินไป (i.e. Al2O3 และ/หรือ SiO2) จึงเป็น
สาเหตุที่ทาให้เกิดความแข็ง (Stiffness) และความทึบ (opacity)
• ในแนวความคิดอีกทางหนึ่งหากปริมาณของ flux oxides ในเคลือบมีไม่เพียงพออาจต้องใช้
alumina และsilica
• มันจึงเกิดคาถามที่ว่า จะทาอย่างไรให้ได้ปริมาณ fluxes ที่ถูกต้องเหมาะสม ซึ่งมีคุณสมบัติตรงข้ามกับ
alumina และ silica
คำถำม
(Question?)

More Related Content

Viewers also liked

Korail App Tutorial
Korail App TutorialKorail App Tutorial
Korail App TutorialDavid Lee
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
Gawewat Dechaapinun
 
TimeSight Video Lifecycle
TimeSight Video LifecycleTimeSight Video Lifecycle
TimeSight Video LifecycleSteve Macdonald
 
CV -Sachin Madhukar Chitnis -( Civil Roads, Utility,infra,metro rail ,)
CV  -Sachin Madhukar Chitnis  -( Civil Roads, Utility,infra,metro rail ,)CV  -Sachin Madhukar Chitnis  -( Civil Roads, Utility,infra,metro rail ,)
CV -Sachin Madhukar Chitnis -( Civil Roads, Utility,infra,metro rail ,)Sachin Chitnis
 
Prácticas Sociales del Lenguaje
Prácticas Sociales del LenguajePrácticas Sociales del Lenguaje
Prácticas Sociales del Lenguaje
YanciCota
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
Gawewat Dechaapinun
 
Excerpts from NELA 2016
Excerpts from NELA 2016Excerpts from NELA 2016
Excerpts from NELA 2016
Elizabeth Reilly, MLS
 
Symposium Presentation
Symposium PresentationSymposium Presentation
Symposium PresentationSteve Gao
 
Diapositivas google
Diapositivas googleDiapositivas google
Diapositivas google
leidy juliana rativa parada
 
Future of Food Manufacturing Report
Future of Food Manufacturing ReportFuture of Food Manufacturing Report
Future of Food Manufacturing ReportStephanie Causey
 
Sanctus script
Sanctus scriptSanctus script
Sanctus script
jordan davis
 
EXPLORACION DE GOOGLE DIAPOSITIVAS
EXPLORACION DE GOOGLE DIAPOSITIVAS EXPLORACION DE GOOGLE DIAPOSITIVAS
EXPLORACION DE GOOGLE DIAPOSITIVAS
Heidy Catherin Rodriguez Almanza
 
Work Samples
Work SamplesWork Samples
Work Samples
Michael Beardsley
 

Viewers also liked (14)

Korail App Tutorial
Korail App TutorialKorail App Tutorial
Korail App Tutorial
 
BRANCAS pro
BRANCAS proBRANCAS pro
BRANCAS pro
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
TimeSight Video Lifecycle
TimeSight Video LifecycleTimeSight Video Lifecycle
TimeSight Video Lifecycle
 
CV -Sachin Madhukar Chitnis -( Civil Roads, Utility,infra,metro rail ,)
CV  -Sachin Madhukar Chitnis  -( Civil Roads, Utility,infra,metro rail ,)CV  -Sachin Madhukar Chitnis  -( Civil Roads, Utility,infra,metro rail ,)
CV -Sachin Madhukar Chitnis -( Civil Roads, Utility,infra,metro rail ,)
 
Prácticas Sociales del Lenguaje
Prácticas Sociales del LenguajePrácticas Sociales del Lenguaje
Prácticas Sociales del Lenguaje
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
Excerpts from NELA 2016
Excerpts from NELA 2016Excerpts from NELA 2016
Excerpts from NELA 2016
 
Symposium Presentation
Symposium PresentationSymposium Presentation
Symposium Presentation
 
Diapositivas google
Diapositivas googleDiapositivas google
Diapositivas google
 
Future of Food Manufacturing Report
Future of Food Manufacturing ReportFuture of Food Manufacturing Report
Future of Food Manufacturing Report
 
Sanctus script
Sanctus scriptSanctus script
Sanctus script
 
EXPLORACION DE GOOGLE DIAPOSITIVAS
EXPLORACION DE GOOGLE DIAPOSITIVAS EXPLORACION DE GOOGLE DIAPOSITIVAS
EXPLORACION DE GOOGLE DIAPOSITIVAS
 
Work Samples
Work SamplesWork Samples
Work Samples
 

More from Gawewat Dechaapinun

เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
Gawewat Dechaapinun
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculationsChapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculations
Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 1.2 properties of glass
Chapter 1.2 properties of glassChapter 1.2 properties of glass
Chapter 1.2 properties of glass
Gawewat Dechaapinun
 
งานนำเสนอเทววิทยา3
งานนำเสนอเทววิทยา3งานนำเสนอเทววิทยา3
งานนำเสนอเทววิทยา3
Gawewat Dechaapinun
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2 งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นบทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
Gawewat Dechaapinun
 

More from Gawewat Dechaapinun (20)

Chapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defectsChapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defects
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7
 
งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5
 
งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculationsChapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculations
 
Chapter 1.2 properties of glass
Chapter 1.2 properties of glassChapter 1.2 properties of glass
Chapter 1.2 properties of glass
 
งานนำเสนอเทววิทยา3
งานนำเสนอเทววิทยา3งานนำเสนอเทววิทยา3
งานนำเสนอเทววิทยา3
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2 งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นบทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
 

Chapter 1.1 glaze basics

  • 1. บทนำเรื่องเคลือบ (Introduction to Glazes) ดร.อ่อนลมี กมลอินทร์ (Dr. Onlamee Kamon-in) โปรแกรมวิชำเทคโนโลยีเซรำมิกส์ คณะเทคโนโลยีอุตสำหกรรม มหำวิทยำลัยรำชภัฏนครรำชสีมำ
  • 2. outline • เคลือบเบื้องต้น (Glazes Basics) • รูปสำมเหลี่ยมของเคลือบ (Glazes Triangle)
  • 4. เคลือบเซรำมิกส์ คืออะไร เคลือบ คือ ชั้นแก้วบำงๆ ที่ผ่ำนกำรหลอมแล้วห่อหุ้มผิวของชั้นดิน • ลักษณะโดยทั่วไปของเคลือบ คือ การเกิดชั้นแก้วบางๆ ที่ห่อหุ้มผิวของชั้นดินเมื่อผ่าน กระบวนการเผาให้ความร้อน • วัตถุประสงค์ของการเคลือบ มีดังนี้ เพื่อตกแต่งให้เกิด สีสัน (colour) ลายลาย (texture) และการทึบแสง (opacity) และอื่นๆ เพื่อเพิ่มอรรถประโยชน์ในการใช้งาน เช่น การทาความสะอาดผิวได้งาน การเพิ่มความแข็งแรงให้กับเนื้อ ดิน
  • 5. แก้ว คืออะไร แก้วส่วนใหญ่จะมีกำรขึ้นรูปด้วยกำรหลอมของวัสดุที่หลอมได้ เช่น ซิลิกำ • สาหรับการผลิตแก้วจะต้องใช้การผสมวัตถุดิบที่อยู่ในรูปของออกไซด์ • โดยส่วนใหญ่แก้วจะอยู่ในรูปของออกไซด์ที่เป็นซิลิกา (SiO2)
  • 6. จุดหลอมของซิลิกำ คือ อะไร ซิลิกำอย่ำงเดียวจะเกิดกำรหลอมตัวที่อุณหภูมิประมำณ 1,710 องศำเซลเซียส หรือ มำกกว่ำ • เตาเผาเครื่องปั้นดินเผาทั่วไปจะไม่สามารถเผาได้อุณภูมิสูงมากพอที่จะหลอมซิลิกา • สาหรับการหลอมซิลิกาที่อุณหภูมิต่าลงจะต้องผสมวัตถุดิบตัวอื่นกับซิลิกา
  • 7. จะสำมำรถลดอุณหภูมิในกำรหลอมของซิลิกำให้ต่ำลงได้อย่ำงไร กำรลดอุณหภูมิในกำรหลอมของซิลิกำให้ต่ำลงสำมำรถใช้ตัวช่วยหลอมหรือฟลักซ์ (Fluxes) ในส่วนผสมได้ • ถ้าวัตถุดิบอื่นที่เป็นฟลักซ์ผสมกับซิลิกาในสัดส่วนที่ถูกต้องเหมาะสมและอยู่ในขอบเขตที่ กาหนด จะทาให้จุดหลอมของส่วนผสมนั้นต่าลงกว่าจุดหลอมตัวของวัตถุดิบเองในส่วนผสม • อย่างไรก็ตาม เมื่อมีซิลิกาและฟลักซ์ในส่วนผสมจะทาให้ส่วนผสมเกิดการหลอมตัวได้เร็วขึ้น จนกลายเป็นของเหลวคล้ายกับน้า และจะแผ่ออกไปทุกทิศทางตามแนวนอนของพื้นผิว • ทุกๆ ช่วงอุณหภูมิในการหลอมของซิลิกากับฟลักซ์ที่มีในส่วนผสม เราจะพบปัญหาเรื่อง อุณหภูมิในการหลอมที่ไม่เท่ากันสาหรับเตาเผาที่มีลักษณะแตกต่างกันหรือเตาเผาที่อยู่คนละ ที่กัน
  • 8. จะสำมำรถเพิ่มควำมเสถียรให้กับกำรหลอมเคลือบได้อย่ำงไร เติมหรือเพิ่มวัตถุดิบ ซึ่งประกอบด้วยออกไซด์ที่ทำหน้ำให้ควำมเสถียร (stabilising oxides) เป็ นตัวช่วยเพิ่มควำมหนืด (viscosity) ให้กับเคลือบ • ถ้าเติมวัตถุดิบตัวที่ 3 ซึ่งเป็นออกไซด์ในส่วนผสม โดยทั่วไปจะเรียกว่าออกไซด์นี้ว่า “ตัวเพิ่ม ความเหนียวให้เป็นแก้ว (glass stiffeners) หรือตัวเพิ่มความเสถียร (stabalisers)” มีการเติมลงไปในสูตรเคลือบเพื่อช่วยขยายช่วงของการหลอมของ ส่วนผสมออกไป โดยมันจะค่อยๆ หลอมผ่านจุดอ่อนตัวซึ่งมีลักษณะคล้ายกับน้าเชื่อมหรืออยู่ ในสภาวะที่มีความหนืดที่สูงขึ้น ก่อนที่จะกลับมาเป็นลักษณะคล้ายกับน้าและกลายเป็น ของเหลวในที่สุด • ความหนืด เป็นคาที่ใช้เพื่ออธิบายการไหลตัวของเคลือบหลอมเหลว ความหนืดจะมากขึ้นและ การหลอมคล้ายกับน้าเชื่อมก็จะมากขึ้น ซึ่งมันจะมีแนวโน้มที่จะเคลื่อนตัวได้ช้ามากๆ บน พื้นผิวดินที่มีความชั้นหรือพื้นผิวดินในแนวตั้ง
  • 9. สิ่งที่เป็ นองค์ประกอบสำคัญของเคลือบคืออะไร กำรผสมเคลือบโดยทั่วไปตำมหลักทำงทฤษฎี เป็ นดังนี้ • ตัวช่วยหลอม (Fluxes) >> ลดช่วงอุณหภูมิในกำรหลอมให้กับส่วนผสม • ตัวช่วยให้เกิดควำมเสถียร (Stabilisers) >> เพิ่มควำมหนืดและขยำยช่วงอุณหภูมิในกำรหลอม • ตัวทำให้เกิดแก้ว (Glass Formers) >> สร้ำงให้เกิดรูปแบบแก้ว • วัตถุดิบตัวที่ 4 อำจจะถูกเพิ่มเข้ำมำได้เพื่อสร้ำงสีให้กับเคลือบ ตัวช่วยหลอม Flux (es) ตัวช่วยให้ เกิดควำม เสถียร Stabilise r(s) ตัวทำให้เกิดแก้ว Glass Former(s)
  • 10. วัตถุดิบที่ใช้ในกำรทำเคลือบคืออะไร เคลือบจะทำโดยกำรผสมกันของวัตถุดิบที่มีอยู่ในธรรมชำติหรือมีจำหน่ำยในเชิงพำณิชย์ • สูตรเคลือบ คือ รายการของวัตถุดิบซึ่งได้เลือกใช้ทั้งกลุ่ม fluxes, stabilisers และ glass formers ซึ่งจาเป็นต้องใช้ในการเคลือบ • วัตถุดิบที่มีโครงสร้างทางเคมีที่ง่ายหรือซับซ้อนของธาตุ ซึ่งเมื่อให้ความร้อนด้วยการเผา แล้ว อยู่ในรูปที่ปลดปล่อยออกไซด์ และร่วมกับออกไซด์ตัวอื่นได้ แล้วเกิดเป็นแก้วหรือเคลือบ
  • 11. ออกไซด์ (oxide) คืออะไร ออกไซด์ คือ กำรรวมกันทำงเคมีของอะตอมออกซิเจนกับธำตุโลหะหรืออโลหะ Silicon + Oxygen = silicon oxide (silica) Si + O2 = SiO2 metallic element 2 oxygen atoms silicon and oxygen combine to form the oxide chemical symbol for a silicon atom chemical symbol for oxygen chemical formula for silica molecule
  • 12. สำรเคมีที่อยู่ในกลุ่มวัตถุดิบของกำรเผำเคลือบ กำรเผำเคลือบ (แก้ว) ประกอบโครงสร้ำงที่ซับซ้อน (เมทริกซ์) ของจำนวนออกไซด์ • ออกไซด์แต่ละประเภทในเคลือบสามารถแบ่งตามหน้าที่ในการหลอม เช่น ตัวช่วยหลอม (Flux) ตัวช่วยให้เกิดความเสถียร (Stabiliser) หรือตัวทาให้เกิดแก้ว (Glass Former) • ออกไซด์ที่พบโดยทั่วไปในเคลือบFlux K2O Na2O Li2O CaO MgO BaO ZnO PbO SrO potassium oxide sodium oxide lithium oxide calcium oxide magnesium oxide barium oxide zinc oxide lead oxide strontium oxide Stabiliser Al2O 3 aluminium oxide Glass Former SiO2 Silicon oxide
  • 13. สัญลักษณ์ต่ำงๆ ที่ใช้ในกำรแบ่งออกไซด์ของเคลือบ สัญลักษณ์ต่ำงๆ โดยทั่วไปที่ใช้ในกำรแสดงกำรแบ่งออกไซด์ในเคลือบ ตัวช่วยหลอม (Flux) สัญลักษณ์ (RO or R2O) การรวมกันของออกซิเจนอะตอม 1 ตัว กับโลหะอะตอม 1 หรือ 2 ตัว กลุ่มด่ำง (Base) ออกไซด์ที่อยู่ในรูปแบบของ RO หรือR2O ซึ่งเรียกว่าวัตถุดิบกลุ่ม ด่าง ตัวทำให้เกิดควำมเสถียร (Stabilizer) สัญลักษณ์ (R2O3) การรวมกันของออกซิเจนอะตอม 3 ตัว กับ โลหะอะตอม 2 ตัว กลุ่มกลำง (Amphoterics) ออกไซด์ที่อยู่ในรูปแบบของ R2O3 ซึ่ง เรียกว่าวัตถุดิบกลุ่มกลาง ตัวทำให้เกิดแก้ว (Glass Former) สัญลักษณ์ (RO2) การรวมกันของออกซิเจนอะตอม 2 ตัว กับโลหะอะตอม 1 ตัว กลุ่มกรด (Acids) ออกไซด์ที่อยู่ในรูปแบบของ RO2 ซึ่ง เรียกว่าวัตถุดิบกลุ่มกรด
  • 14. วัตถุดิบที่ให้ออกไซด์เฉพำะในเคลือบ กำรทำเหมื่องแร่หรือกำรสังเครำะห์วัตถุดิบเพื่อให้ได้ออกไซด์ที่จำเป็ นในเคลือบ 1 ตัวหรือ มำกกว่ำ • วัตถุดิบบางตัวที่รวมกับออกไซด์ซึ่งใช้สาหรับการหลอมเคลือบ Raw Material Flux Base RO or R2O Stabiliser Amphoteric R2O3 Glass Former Acid RO2 หินปูน (Whiting; calcium carbonate) ดินขาว (clays) แมกนีเซียมคาร์บอเนต (magnesium carbonate) เฟลด์สปาร์ (feldspars) โดโลไมท์ (dolomite) แบเรียมคาร์บอเนต (barium carbonate) CaO --------- MgO K2O,Na2O,CaO etc MgO, CaO BaO CaO MgO --------- Al2O3 --------- Al2O3 --------- --------- --------- --------- --------- SiO2 --------- SiO2 --------- --------- SiO2 SiO2
  • 15. ผลของควำมร้อนที่มีต่อวัตถุดิบ วัตถุดิบจำนวนมำกที่ต้องใช้ควำมร้อนในระหว่ำงกระบวนกำรเผำเพื่อแยกออกไซด์ • ตัวอย่างเช่น หินปูน (CaCO3) จะต้องใช้ความร้อนที่อุณหภูมิ 825 องศาเซลเซียส ในการแยกให้เป็น ออกไซด์ 2 ตัว และจะเกิดการปลดปล่อยฟองแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) จากแคลเซียมไดออกไซด์ ซึ่งเป็นตัวช่วยหลอมแก้ว และช่วยให้อุณหภูมิในการหลอมตัวลดลง • เมื่อผสมหินปูนกับออกไซด์ตัวอื่นจะทาให้อุณหภูมิในการหลอมของส่วนผสมลดลงต่ากว่าอุณหภูมิ 825 องศาเซลเซียส • อุณหภูมิการหลอมของกลุ่มออกไซด์ที่เกิดร่วมกัน จะเรียกว่า อุณหภูมิยูเทคติก (eutectic temperature) whiting (calciumcarbo nate) heated to 825 deg.C >>> calcium oxide + carbon dioxide CaCO3 >>>>>>>>>> CaO CO2 Flux oxide remains in the glaze. Bubbles out of the glaze as a gas.
  • 16. ฟริต (Frit) คืออะไร ฟริต เป็ นผงของแก้วที่นำไปทำเคลือบเป็ นผลิตภัณฑ์ที่มีจำหน่ำยเชิงพำณิชย์ประกอบด้วย ออกไซด์เฉพำะที่ไม่สำมำรถใช้ในรูปอื่นๆ ได้ • ออกไซด์บางชนิดที่นามาเป็นวัตถุดิบสาหรับทาเคลือบอาจอยู่ในรูปที่ไม่สะดวกต่อการนาไปใช้งาน วัตถุดิบที่สามารถ ละลายได้ (ละลายได้ง่ายในน้า) หรืออาจไม่เสถียรในบรรยากาศ หรือมีออกไซด์ที่ไม่ต้องการเพิ่มมาในเคลือบ ออกไซด์ที่ สามารถนามาใช้งานได้สะดวกมักอยู่ในรูปที่รวมกันโดยผ่านกระบวนกการทางอุตสาหกรรม เราเรียกว่า การทาฟริต • ฟริต คือ การรวมวัตถุดิบ (ที่อยู่ในสูตรเคลือบ) ซึ่งสามารถหลอมตัวอยู่ในรูปของแก้วที่ประกอบด้วยออกไซด์ที่ต้องการ และเมื่อส่วนผสมที่หลอมเย็นตัวลงอย่างรวดเร็วจะได้แก้ว แล้วนาไปบดจนได้ผงละเอียดที่พร้อมจะนาไปผสมกับวัตถุดิบ ชนิดอื่นๆ สาหรับกระบวนการเตรียมเคลือบ ฟริตเป็นเคลือบสาเร็จรูปที่ถูกออกแบบมาเพื่อให้ใช้งานเฉพาะ โดยส่วนใหญ่ การรวมตัวของฟริตกับวัตถุดิบชนิดอื่นสามารถสร้างเคลือบชนิดใหม่ได้ โดยเฉพาะการใช้ประโยชน์ของฟริตสาหรับเตรียม เคลือบที่เผาอุณหภูมิต่าโดยในเชิงพาณิชย์ได้ออกแบบฟริตให้มีปริมาณของ Al2O3 และ SiO2 ในปริมาณไม่มาก เพื่อลดอุณหภูมิในการเผา • ตัวอย่างวัตถุดิบ เช่น แร่เฟลด์สปาร์ (feldspars) แร่วอลลาสโทไนท์ (wollastonite) และแร่ทัลค (talc) เป็นฟริตที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติโดยอาศัยความร้อนและแรงดันของชั้นเปลือกโลก
  • 17. ออกไซด์ที่อำจพบในเคลือบสโตนแวร์ทั่วไป สูตรเคลือบสโตนแวร์ทั่วไปจะประกอบด้วยวัตถุดิบต่ำงๆ เมื่อเผำจะปล่อยแก๊สของออกไซด์เฉพำะบำงตัว ออกมำ และอยู่ในรูปของแก้วที่กำลังหลอมที่อุณหภูมิจำเพำะหนึ่ง ตารางการวิเคราะห์อย่างง่ายสาหรับออกไซด์ที่ได้จากแร่ ส่วนจานวนโมเลกุลที่อยู่ในเคลือบจะต้องใช้การ คานวณอย่างละเอียด Raw Material Recipe Flux Oxides Stabilise r Oxides Glass Oxides Feldspar Whiting China Clay Siica 40 30 20 10 provides >> provides >> provides >> provides >> K2O, Na2O, CaO CaO ------ ------ Al2O3 ------ Al2O3 ------ SiO2 ------ SiO2 SiO2
  • 19. รูปสำมเหลี่ยมของเคลือบ คืออะไร รูปสำมเหลี่ยมของเคลือบ คือ แผนภำพต้นแบบอย่ำงง่ำยที่ อธิบำยควำมสัมพันธ์ระหว่ำงโมเลกุลที่ทำให้เกิดโครงสร้ำงของ แก้ว • ในระหว่างกระบวนการเผาวัตถุดิบจะเกิดการสลายตัวของโมเลกุลที่เป็น ออกไซด์ต่างๆ แล้วเชื่อมต่อกันเกิดเป็นโครงสร้างของแก้ว โครงสร้างนี้จะ สามารถเชื่อมต่อกันตามรูปสามเหลี่ยมซึ่งที่มุมของแต่ละมุมของ สามเหลี่ยมจะแสดงถึงองค์ประกอบหลักเพียงอย่างเดียว (flux, stabiliser, glass-former). • บางครั้งในการหลอมออกไซด์บางตัวอาจจะไม่หลอมละลายและอาจะถูก ปล่อยออกไปจากโครงสร้าง • รูปสามเหลี่ยมของแก้วอาจจะเป็นการพิจารณาสาหรับหนึ่งหน่วยของ แก้ว
  • 20. กำรทำแก้วที่ใส (transparent), แก้วโปร่งแสง กำรเลือก flux, stabilisers และ glass- formers ให้เหมำะสมสำหรับเตรียมเคลือบใส • ถ้าเลือกอัตราส่วนผสมที่ถูกต้องของวัตถุดิบหลักทั้ง 3 กลุ่ม ของแก้วที่แสดง (อุณหภูมิการเผาที่เหมาะสม) แล้ว ทาให้โมเลกุลของ alkalai, amphoteric และ acid รวมตัวกันอยู่ในรูปโครงสร้างของแก้วได้ • ตัวอย่าง สามเหลี่ยมของเคลือบใส ตัวอย่ำงต้นแบบของเคลือบซึ่งมี fluxes (K2O, Na2O, CaO) รวมตัวกับ amphoteric oxides (Al2O3) และ acid oxides (SiO2)
  • 21. จะเกิดอะไรขึ้นถ้ำส่วนประกอบในกำรหลอมเคลือบไม่สมดุล โครงสร้ำงของแก้วจะทึบแสง (opaque) และเกิดลวดลำย (textured) เนื่องจำกมี flux หรือ stabiliser หรือ glass-former oxides มำกเกินไป • ในระหว่างกระบวนการหลอมโมเลกุลของ flux, stabiliser และ glass-former oxides จะ รวมตัวกันกลายเป็นโครงสร้างของแก้ว • ถ้าเกิดมีโมเลกุลของออกไซด์ตัวใดตัวหนึ่งมากเกินไปจะทาให้ เกิดโมเลกุลของออกไซด์นั้นคงเหลือค้างอยู่ จึงเป็นสาเหตุให้ เกิดเคลือบทึบแสงและลวดลายขึ้น เพราะว่าเกิดการตกผลึก ของเคลือบ (crystalisation) แผนภำพแสดงกำรหลอมของเคลือบที่มี ปริมำณของ alumina และ silica โมเลกุลมำกเกินไป
  • 22. ผลของกำรมีปริมำณ flux oxides ในเคลือบมำกเกินไป ปริมำณ flux ที่มีมำกเกินไป เป็ นสำเหตุให้เกิดเคลือบ ไหลตัวและมีแนวโน้มที่จะทำให้เกิดลวดลำยขึ้นบนผิว เคลือบ • ลวดลายอาจจะมีความมันวาวมากๆ เมื่อแก้วมีความสมดุล และ อาจจะมีผิวด้านเมื่อมีปริมาณของ flux oxides มากเกินไป และอาจจะในรูปที่มองเห็นได้ชัดเจน ผิวไม่เรียบ หรือเกิดเป็นผลึก ได้ • เคลือบในตัวอย่างแผนภาพที่แสดง อาจจะเกิดการไหลตัวได้ที่บาง อุณหภูมิ และอาจจะเกิดเป็นหย่อมๆ กับบริเวณพื้นที่ของเคลือบใส ที่กระจายไปด้วยบริเวณพื้นที่ผิวทึบ หรือเกิดการพัฒนาเป็นผลึกขึ้น บริเวณรอบโมเลกุล CaO ที่เป็นอิสระ และไม่ยึดกับ Al2O3 และ SiO2 ในโครงสร้างของแก้ว แผนภำพแสดงปริมำณโมเลกุลของ calcium oxide (CaO) ที่มีมำก เกินไปในเคลือบ
  • 23. ผลของกำรมีปริมำณ amphoteric oxides ในเคลือบมำก เกินไป ปริมำณของ amphoteric ที่มำกเกินไป เป็ น สำเหตุทำให้เคลือบหนืด และมีแนวโน้มที่จะทึบแสง และทำให้เกิดลวดลำยที่ผิวของเคลือบ • โดยทั่วไป alumina ในเคลือบมีออกไซด์ซึ่งเรียกว่า Al2O3 เป็นออกไซด์ที่อยู่ในกลุ่ม amphoteric และมีในเคลือบทุก ชนิด เคลือบที่มีการเติม Al2O3 มากเกินไปจะทาให้เคลือบมี ความหนืดมากๆ และมีความเสถียร บางครั้งอาจทาให้เกิดตาหนิรู เข็ม (pinhole defects) alumina ที่คงค้างในรูปของ ผลึกจะทาให้เกิดพื้นผิวที่แห้งหยาบขึ้นกับปริมาณที่เกินมา • alumina ปริมาณมากสามารถยับหยั้งการหลอมตัวของ เคลือบได้ ในระดับหนึ่งอาจเกิดเป็นเคลือบทึบ และมีแนวโน้มที่จะ ทาให้สีซีด แผนภำพแสดงปริมำณโมเลกุลของ alumina oxide (Al2O3) ที่มีมำก เกินไปในเคลือบ
  • 24. ผลของกำรมีปริมำณ RO2 glass-former oxides ในเคลือบ มำกเกินไป ปริมำณโมเลกุล acid ที่มีมำกเกินไปในเคลือบจะทำให้เคลือบ หนืด มีสีขำวมำกๆ ทึบแสง และเกิดลวดลำยที่ผิวมันวำว • โดยทั่วไป silica ในเคลือบมีออกไซด์ซึ่งเรียกว่า SiO2 เป็นออกไซด์ที่ อยู่ในกลุ่ม glass-former (acid) และมีในเคลือบทุกชนิด เคลือบที่มีการเติม SiO2 จะทาให้เคลือบมีความหนืดสูงและมีความ เสถียร silica ที่คงค้างในรูปของผลึกจะทาให้เกิดพื้นผิวที่แห้งหยาบ ขึ้นกับปริมาณที่เกินมา • silica ปริมาณมากสามารถยับหยั้งการหลอมตัวของเคลือบได้ ซึ่งจะได้ เคลือบสีขาว และลวดลายขรุขระคล้ายกับกระดาษทราย ปริมำณของโมเลกุล silica (SiO2) ที่มีมำก เกินไปในเคลือบจะมีแนวโน้มทำให้เคลือบขำว หนืด และเกิดลวดลำย
  • 25. ผลจำกกำรเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิในกำรเผำ ถ้ำรักษำปริมำณของ flux ในสูตรเคลือบให้คงที่ อุณหภูมิกำรเผำจะสำมำรถหำได้จำก ปริมำณของamphoteric (Al2O3) และ acid (SiO2) ที่สำมำรถเกิดกำรละลำย ได้ในกำรหลอมเคลือบ • เมื่อเคลือบถูกเผาและมันจะไม่หลอมเพียงพอที่จะไปอยู่ในรูปของแก้วที่ดีหากมีปริมาณของ amphoteric และ/หรือ acid oxides มากเกินไป (i.e. Al2O3 และ/หรือ SiO2) จึงเป็น สาเหตุที่ทาให้เกิดความแข็ง (Stiffness) และความทึบ (opacity) • ในแนวความคิดอีกทางหนึ่งหากปริมาณของ flux oxides ในเคลือบมีไม่เพียงพออาจต้องใช้ alumina และsilica • มันจึงเกิดคาถามที่ว่า จะทาอย่างไรให้ได้ปริมาณ fluxes ที่ถูกต้องเหมาะสม ซึ่งมีคุณสมบัติตรงข้ามกับ alumina และ silica