SlideShare a Scribd company logo
ทฤษฎีความโกลาหล

                                                                           สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย


         แมวาปจจุบันเรื่อง “ทฤษฎีความโกลาหล” (chaos theory) นี้จะไมใชแนวความคิดใหม
อะไรอีกตอไปแลว ก็ยังดูเหมือนวามีผูเขาใจมันนอยเหลือเกิน จากการที่ไดฟงคนพูดหรือเขียนเรื่องนี้
อยางคอนขางคลาดเคลื่อนกันมาก ไปถึงขั้น “เลอะเทอะ” ผมหวังวาบทความนี้จะชวยใหเกิดความ
เขาใจตอทฤษฎีโกลาหลถูกตองมากขึ้น

1. บทนํา

          กอนจะพูดถึง “ทฤษฎีความโกลาหล” เราคงตองอธิบายกันเสียกอนวา “ความโกลาหล”
(chaos) คืออะไร? เพราะจุดนี้คือจุดที่ทําใหเกิดความเขาใจผิดมากที่สุด บางคนเขาใจวา “ความ
โกลาหล คือ หนทางไปสูความพินาศ” บางคนก็คิดวา “สิ่งที่โกลาหลคือสิ่งที่ไมสามารถทํานายได
เพราะแมแตท่จะเขาใจมันก็เปนเรื่องที่เปนไปไมไดเสียแลว” ซึ่งคลายกับความเขาใจของคนอีกไม
               ี
นอยที่วา “ทฤษฎีความโกลาหลตองการบอกวา ธรรมชาติมีแตความไรระเบียบ” บางคนก็อาง
ทฤษฎีความโกลาหลพยากรณเรื่องตางๆ ไปถึงขั้นที่กลาววา “ทฤษฎีความโกลาหลพยากรณวา
โครงการ X ไมมีทางทําไดสําเร็จ” โดยที่โครงการ X เปนอะไรไดสารพัดตั้งแต โครงการจูราสสิค
ปารก ไปจนถึงการปฏิรูปทางการเมืองไทย เปนตน

           แทท่จริงแลว “ความโกลาหล” ในทฤษฎีความโกลาหล ก็คือ ปรากฏการณที่ดูเหมือนวาเกิด
                ี
ขึ้นอยางสะเปะสะปะ (random) แตที่จริงแลวแฝงไปดวยความเปนระเบียบ (order) ตัวอยางของ
ระบบที่แสดงความโกลาหลงาย ๆ ระบบหนึ่งคือ เครื่องสรางเลขสุมเทียม (psuedo-random number
generator) ในเครื่องคอมพิวเตอร นั้นเอง ใครที่เคยใชคอมพิวเตอรในงานจําลองสถานการณจริง
(simulation) หรือเพียงแตใชเครื่องคิดเลขแบบพกติดตัวเลนการพนันคงจะทราบกันดีวาคอมพิวเตอร
นั้นสามารถสรางเลขสุม (random number) ได อยางไรก็ตามเลขสุมที่เกิดขึ้นมานี้ ถึงจะดูเหมือนวา
เกิดขึ้นมาโดยไมมีแบบแผนนั้น ก็เปนเพียงเลขสุมเทียม (psuedo-random number) ซึ่งตางจากเลข
สุมแทท่เกิดจากการทอดลูกเตา เพราะเลขสุมของคอมพิวเตอรเกิดขึ้นจากโปรแกรม งาย ๆ เชน
         ี

        X(n+1) = c X (n) mod m




                                                1
โดยที่ X(n) คือเลขสุมครั้งที่ n สวน c และ m เปนเลขจํานวนเต็ม และ mod หมายถึงการ
หารเลขจํานวนเต็มแลวเอาเฉพาะเศษ เชน 5 mod 3 จะได 2 (5 หาร 3 เหลือเศษ 2)

        การที่เกิดจากโปรแกรมงาย ๆ นี้จึงมีความหมายวา การเกิดของเลขสุมนี้แฝงไปดวยความ
เปนระเบียบโดยระเบียบนั้นก็สามารถบรรยายไดดวยโปรแกรมนั้นนั่นเอง

        เลขสุมที่เกิดจากคอมพิวเตอรนี้มีลักษณะเดนอีกอยางหนึ่งคือ มันจะเกิดขึ้นอยางแตกตางกัน
มากหากเริ่มตนดวยตัวตั้งตน X(0) หรือที่เรียกกันวา “เมล็ด” (seed) คนละตัวกัน นั่นก็คือ ระบบ
สรางเลขสุมเทียมนี้เปนระบบที่ไวตอสภาวะตั้งตน (initial condition) นั้นเอง

         ตัวอยางขางตนนี้ไดสะทอนสมบัตของระบบโกลาหลหลายประการ ถาจะพูดใหเปนระบบมาก
                                           ิ
ขึ้น (แตยังไมคอยรัดกุมนัก) ก็คือ ระบบที่แสดงความโกลาหลจะตองประกอบไปดวยลักษณะดังตอไป
นี1้

         1) มีคุณสมบัติแบบไมเปนเชิงเสน (nonlinearly) คุณสมบัตแบบไมเปนเชิงเสนสามารถ
                                                                  ิ
นิยามไดวาตรงกันขามกับ คุณสมบัติแบบเชิงเสน โดยที่ฟงกชัน f จะมีคุณสมบัติเชิงเสนก็ตอเมื่อ
f(x+y) = f(x)+f(y) นั่นก็คือ ในระบบแบบไมเปนเชิงเสน ผลลัพธของระบบทั้งหมดไมเทากับผลรวม
ของผลลัพธที่เกิดจากสวนยอย ๆ รวมกัน (โดยอาจจะมากหรือนอยกวาก็ได) ความไมเปนเชิงเสนนี่
เองที่ทําใหระบบที่แสดงความโกลาหลไมไดรับการศึกษามากในอดีต เพราะศึกษาไดคอนขางยาก

      ขอพึงระวังก็คือ การที่กลาววาระบบโกลาหลจําตองเปนระบบที่ไมเปนเชิงเสนนั้น        ไมได
หมายความวาระบบที่ไมเปนเชิงเสนทุกระบบจะเปนระบบโกลาหลเสมอไป

        2) ไมใชเกิดแบบสุม (คือเปน deterministic ไมใช probabilistic) กลาวอีกแบบหนึ่งก็คอ ใน
                                                                                             ื
ระบบโกลาหล เหตุการณทั้งหลายเกิดขึ้นภายใตกฎเกณฑที่แนนอน เหตุการณที่ไมสามารถทํานาย
ลวงหนาแบบการทอดลูกเตาจึงไมใช ความโกลาหล แตเปนความสุม (randomness) การแปลคํานี้
เปนภาษาไทยโดยใชคําวา “ทฤษฎีความไรระเบียบ” จึงเปนการแปลที่ไมเหมาะสม เพื่อปองกัน
ความเขาใจผิดวาความโกลาหลไมใชความสุมจึงมีคนเรียก chaos วา deterministic chaos

        3) ไวตอสภาวะเริ่มตน (sensitivity to initial conditions) การเริ่มตนที่ตางกันนิดเดียวอาจ
ทําใหผลบั้นปลายตางกันมาก ดังที่มีคนชอบยกตัวอยาง “ผลกระทบผีเสื้อ” (butterfly effect) ซึ่ง
หมายถึงการที่ผีเสื้อกระพือปกในที่แหงหนึ่ง (เชนที่บราซิล) แลวสงผลทําใหฝนตกในที่ที่หางไกลออก
ไป (เชนไทย) ในสัปดาหหนา สาเหตุที่ระบบโกลาหลไวตอสภาวะเริ่มตนก็เพราะวามันจะขยายความ
1
    ผูที่สนใจคําจํากัดความที่รัดกุมมากขึ้น กรุณาดูเอกสารอางอิงหมายเลข 6


                                                                2
แตกตางใหเพิ่มมากขึ้นอยางรวดเร็ว เชน ที่พบบอยก็คือการขยายความแตกตางใหเร็วขึ้นในระดับ
เลขยกกําลัง (exponential) ของเวลา

         4) ไมสามารถทํานายลวงหนาในระยะยาวได (long-term prediction is impossible) ซึ่งเปน
ผลสืบเนื่องจากขอ 3 เพราะการที่ไวตอสภาวะเริ่มตน จะทําใหเราไมรูวา ระบบที่เราสนใจอยูจะเปน
อยางไรในระยะยาว หรือ ถาจะใชตัวอยางผลกระทบผีเสื้อขางตนอีกก็คือ เราไมสามารถพยากรณ
อากาศลวงหนาเปนเดือนไดเพราะไมรวาผีเสื้อตัวไหนจะกระพือปกเมื่อไร
                                       ู                                              ลักษณะของระบบ
โกลาหลขอนี้เองที่สรางผลกระทบใหญหลวงแกวงการวิทยาศาสตร เพราะมันหักลางความเชื่อของ
ลาปลาซ (Laplace) ที่ถูกสถาปนามานานแลววา “หากเรารูสภาพตั้งตนที่ดพอ เราจะสามารถทํานาย
                                                                               ี
อนาคตของเอกภพทั้งเอกภพได” อยางไรก็ตาม คุณสมบัติขอนี้ไมไดแปลวา การทํานายระยะสั้น
(short-term prediction) จะเปนสิ่งที่เปนไปไมได นี่เปนอีกจุดหนึ่งที่มีคนเขาใจผิดกันมาก

         นอกจากที่กลาวขางตนแลว ระบบโกลาหลยังมักมีสมบัติอีกประการหนึ่ง คือ การแสดง
ลักษณะ “คลายกับตัวเอง” (self similarity) หรือที่เรียกวา “แฟรกตัล” (fractal) นั่นเอง ลักษณะนี้
จะ ปรากฎขึ้นเมื่อเราพลอตเสนทางการเคลื่อนที่ของระบบในระบบพิกัดที่บงถึงสภาวะ (phase
space) ลักษณะคลายกับตัวเองนี้ หมายความวา ไมวาเราจะมองเสนทางการเคลื่อนที่นี้จากสเกลเล็ก
หรือใหญแคไหน มันก็ยังมีลักษณะเหมือนเดิม เชน เมื่อเรามองชายหาดจากเครื่องบิน เราก็จะเห็น
มันเปนเสนโคงเหมือนงูเลื้อย และเมื่อเราตัดเฉพาะชายหาดบางสวนมาขยายดู เราก็จะพบลักษณะงู
เลื้อยในงูเลื้อยนี้ลงไปอีกเปนชั้น ๆ แทบไมมีท่สิ้นสุด (การบอกเพียงวาฝงทะเลไทยยาว 1,500 ไมล
                                               ี
ตามเพลงมารชของทหารเรือไทยจึงไมมีความหมายอะไรเพราะไมทราบวาวัดอยางไร                และถาเรา
ขยายสวนของชายฝงนั้นลงไปอีก เราก็วัดรอยงูเลื้อยนี้ตอไปเรื่อย ๆ ไมมีท่ส้นสุดจนไดความยาวชาย
                                                                          ีิ
ฝงเปนอนันต) อยางไรก็ตาม ลักษณะคลายกับตัวเองแบบแฟรกตัลนี้ ไมไดมีสวนเกี่ยวของเปนเงื่อน
                                                                              
ไขที่จําเปนในการเกิดระบบโกลาหลแตอยางใด เพียงแตมักพบรวมกันบอยครั้งเทานั้น

2. การศึกษาทฤษฎีความโกลาหลมีประโยชนอยางไร?

         กอนที่จะตอบคําถามนี้ ผมขอกลาวถึงความสําคัญของการศึกษาทฤษฎีน้กอน สาเหตุที่การ
                                                                           ี
ศึกษาทฤษฎีความโกลาหลมีความสําคัญก็เพราะวา เราเชื่อกันวา ระบบในธรรมชาติ โดยมากมี
ลักษณะโกลาหล แมวาเรายังไมมีวิธีการที่แนนอนในการตัดสินวา ระบบใดระบบหนึ่งเปนระบบ
โกลาหลหรือไมก็ตาม ทั้งนี้ก็เพราะเหลุผลหลาย ๆ ประการเชน มีหลักฐานวาระบบในธรรมชาติที่เปน
ระบบเชิงเสนจริงๆ นอยมาก จนถือไดเลยวาเปนขอยกเวน (แมแตกฎของฮุก ที่อธิบายถึงการยืดของ
สปริงดวยสมการเชิงเสน ก็เปนเพียงการประมาณอยางหยาบๆ ) นอกจากนี้ เรายังพบดวยวาระบบ
ไมนอยแสดงคุณสมบัติไวตอสภาวะตั้งตน เปนตน เมื่อเปนเชนนี้ การศึกษาทฤษฎีความโกลาหล
จึงเปนเรื่องที่หลีกเลี่ยงไมได


                                                3
สวนคําถามที่วา ศึกษาทฤษฎีนี้ไปแลวจะไดประโยชนอะไรบางนั้น สามารถตอบไดวา ทฤษฎี
ความโกลาหลมีประโยชนอยางนอยใน 3 ทางดวยกัน คือ ใชในการวิเคราะหระบบและทํานายอนาคต
ใชในการสรางระบบโกลาหล และใชในการควบคุม-สรางความเสถียรใหกับระบบ ดังสามารถอธิบาย
ไดดังตอไปนี้
         1) ใชในการวิเคราะหระบบและทํานายอนาคต
             อยางที่กลาวขางตนวา แมวาเราจะไมสามารถทํานายอนาคตของระบบโกลาหลในระยะ
ยาวได เราก็ยังมีโอกาสทํานายอนาคตของมันในระยะสั้นได หากเราสามารถหาโมเดลที่อธิบายพฤติ
กรรมของระบบนั้น และทราบสภาวะตั้งตนอยางแมนยําพอสมควร ในปจจุบัน การวิจัยเพื่อทํานาย
อนุกรมตามลําดับเวลา (time-series data) ดวยแนวคิดของทฤษฎีความโกลาหลกําลังดําเนินไปอยาง
เข็งขัน และมีการจัดการแขงขันทุกป ที่สถาบันวิจัยแหง ซานตาเฟ (santafe Research Institute) ใน
สหรัฐอเมริกา ตัวอยางของการประยุกตในแนวนี้ไดแก การทํานายความตองการใชไฟฟาสูงสุด
(peak load) ในแตละวันของบริษัทไฟฟา (ซึ่งประยุกตใชจริงที่ บริษทไฟฟาคันไซในญี่ปุน) หรือ
                                                                    ั
ปริมาณความตองการใชน้ําในแตละวัน (ซึ่งประยุกตใชจริงที่บริษัทเมเดนฉะในญี่ปุน) ตลอดจนการ
พยากรณอากาศซึ่งเปนการประยุกตใชหนึ่งที่ทาใหเกิดศาสตรแหงความโกลาหลเองดวย
                                              ํ                                       เปนตน
สวนการทํานายที่เราจะไมไดยินขาวความสําเร็จเลยก็คือ การทํานายทางการเงินเชนราคาหลักทรัพย
หรือ อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศเพราะถึงสําเร็จมันก็จะเปนความลับตลอดกาล

          2) ใชในการสรางระบบโกลาหล
                ผูอานอาจรูสึกแปลกใจวา อยูดี ๆ ทําไมเราตองสรางระบบโกลาหลขึ้นมาดวย คําตอบก็
คือ มีผูเชื่อวา “ในธรรมชาติ ความโกลาหลเปนสิ่งสากลมากกวาและดีกวาระเบียบแบบงาย ๆ” เชน
สมัยหนึ่งเราเคยเชื่อวาอุณหภูมิที่เหมาะสมสําหรับมนุษยคืออุณหภูมิคงที่ อยางไรก็ตาม ผลการ
ทดลองบางชิ้นทําใหทราบวาอุณหภูมิท่มนุษยรูสึกสบายตัวกวา คือ อุณหภูมิท่เปลี่ยนไปมาอยาง
                                          ี                                       ี
โกลาหลรอบจุด ๆ หนึ่ง (แบบที่เรียกกันวาสั่นแกวางแบบ 1/f) แนวคิดนี้ไดนํามาสูการสรางเครื่องทํา
ความรอนของบริษัท ซันโย ในประเทศญี่ปุน ซึ่งเปนเครื่องใชไฟฟาในบานชนิดแรกที่ใชทฤษฎีความ
โกลาหล (หลังจากที่ “ทฤษฎีความกํากวม” – fuzzy theory เคยถูกประยุกตใชมาแลวในเครื่องใช
ไฟฟาหลายชนิด) นอกจากนี้ บริษัท มัทสึชิตะยังใชทฤษฎีโกลาหลควบคุมหัวฉีดของเครื่องลางจาน
ซึ่งพบวาสามารถลางจานไดสะอาดโดยประหยัดน้ําไดกวาเครื่องลางจานแบบอื่นๆ ทั้งนี้เพราะเสน
ทางการเคลื่อนที่ของหัวฉีดที่ดเหมือนไรระเบียบทําใหครอบคลุมพื้นที่ไดดีกวาการเคลื่อนที่ตามแบบ
                                  ู
แผนปรกติ

        3) ใชในการควบคุม-สรางความเสถียรใหกับระบบ
           การที่ระบบแบบโกลาหลนั้นไวตอสภาวะตั้งตนมาก การรบกวนเพียงเล็กนอยจึงอาจกอ
ใหเกิดผลขยายไดมาก ในงานดานวิศวกรรมควบคุม (control engineering) การเติมสัญญาณรบกวน


                                               4
เพียงเล็กนอยที่เหมาะสมสูระบบที่เปนระบบโกลาหล จึงสามารถใชควบคุมใหระบบนั้นอยูในสภาวะ
เสถียรหรือขับเคลื่อนใหระบบนั้นไปสูสภาวะที่ตองการไดอยางมีประสิทธิภาพ      ตัวอยางของการ
ประยุกตใชตามแนวความคิดนี้ไดแก การที่องคการนาสา (NASA) สามารถควบคุมยานอวกาศ
ISEE-3 ใหลอยไปสูดาวหางที่ตองการสํารวจไดโดยใชเชื้อเพลิงเพียงเล็กนอย หรือการใชสญญาณไฟ
                                                                                    ั
ฟาชวยรักษาโรคหัวใจในกระตายที่ชวยทําใหหัวใจของมันเตนตามจังหวะปรกติได เปนตน
                                    

         นอกจากการประยุกตใชหลักๆ ดังกลาวขางตนแลว ทฤษฎีความโกลาหลยังสามารถประยุกต
ใชไดอีกในหลายสาขา เชน ในดานการสื่อสาร เราสามารถใชสัญญาณแบบโกลาหลในการเขารหัสขอ
มูล (encryption) เพื่อปองกันคนแอบดูขอมูล หรือใชหลักการของทฤษฎีนี้ชวยใหการหาคาที่ดีที่สุด
(optimization) ของฟงกชั่นหนึ่ง ไดคาที่ดีที่สุดที่แทจริง (global optimum) ไดงายขึ้น เพราะความ
                                                                                
โกลาหลสามารถชวยใหหลบการไดคาดีที่สุดเฉพาะบริเวณ (local optimum) ได
                                    

3. การประยุกตใชทฤษฎีความโกลาหลในสังคมศาสตร

         ในดานเศรษฐศาสตร การประยุกตใชทฤษฎีความโกลาหลมีมานานแลว และการประยุกตใช
ในปจจุบันมักเปนไปอยางรัดกุมคลายกับดานวิทยาศาสตรธรรมชาติ ที่กลาววา การประยุกตใชใน
ดานนี้มีมานานแลวนั้นสามารถดูไดจาก ผลงานของแมนเดลบรอท (Mandelbrot) ซึ่งเปนผูหนึ่งที่ชวย
สถาปนาศาสตรแหงความโกลาหลขึ้นในทศวรรษ 1960 แมนเดลบรอทนําเศรษฐศาสตรมาผูกกับ
ทฤษฎีความโกลาหล ดวยการวิเคราะหอนุกรมตามลําดับเวลาของราคาฝาย แลวพบลักษณะความ
คลายกับตัวเองแบบแฟรกตัล           นั้นก็คือลักษณะการเปลี่ยนแปลงราคาฝายเมื่อมองในสเกลรายวัน
คลายกับเมื่อมองในสเกลรายเดือน ในปจจุบันการวิจัยระบบเศรษฐกิจโดยอาศัยทฤษฎีความโกลาหล
นี้อยางเปนวิทยาศาสตรกําลังดําเนินไปอยางแข็งขันโดยผลงานวิจัยที่รวมเลมเปนหนังสือก็กําลัง
ทยอยพิมพออกมา (โดยเฉพาะที่พิมพจาก MIT Press)

         ในดานการเงิน วิวาทะเรื่องทฤษฎีความโกลาหลกําลังดําเนินไปอยางดุเดือดอยางยิ่ง ทั้งนี้
เพราะแนวความคิดตามทฤษฎีความโกลาหลไดเพิ่มมุมมองใหมอันทาทายใหกบการวิวาทะวาสมมติ
                                                                          ั
ฐานเรื่อง “ตลาดมีประสิทธิภาพ” (efficient market) กลาวโดยยอ ตลาดการเงินที่มีประสิทธิภาพ
หมายถึง ตลาดที่ผลของสารสนเทศตาง ๆ ไดสะทอนออกมาในราคาของหลักทรัพยในตลาดอยาง
หมดสิ้นและทันที จุดที่กอใหเกิดการวิวาทะก็คือ หากสมมติฐานนี้เปนจริง ราคาหลักทรัพยในตลาดจะ
แกวงขึ้นลงแบบสุม (Random Walk) จึงปวยการที่บรรดานักวิเคราะหหลักทรัพยทั้งนักวิเคราะห
ปจจัยพื้นฐานและนักวิเคราะหปจจัยเชิงเทคนิคจะพยายามทํานายราคาหลักทรัพย หรือแนะนําลูกคา
วาควรซื้อหลักทรัพยใด เพราะผลที่ไดจะไมมีอะไรดีกวาใหลิงจับฉลากเลือก เมื่อเราดูกราฟการขึ้นลง
ของราคาหลักทรัพยที่แสนจะดูเหมือนไรแบบแผน สมมติฐานนี้ก็ดเปนเรื่องนาเชื่อขึ้นมา
                                                               ู



                                               5
การกําเนิดขึ้นของทฤษฎีความโกลาหลไดสรางความหวังแกผูท่ไมเชื่อวา ตลาดมีประสิทธิ
                                                                     ี
ภาพ ทั้งนี้เพราะหากราคาฝายมีลักษณะความคลายกับตัวเองแบบแฟรกตัลล (ซึ่งหมายถึงวามัน
เคลื่อนไหวภายใตกฎเกณฑท่ตายตัว) ไดแลว ทําไมราคาหลักทรัพยหรืออัตราการแลกเปลี่ยนเงิน
                           ี
ตราจึงจะมีลักษณะเชนเดียวกันไมได และหากตลาดหลักทรัพยเปนระบบโกลาหลแลว แมเราจะ
ทํานายอนาคตระยะไกลของมันไมได เราก็ยังมีความหวังที่จะทํานายอนาคตระยะใกลของมันอยางไม
คลาดเคลื่อนนัก อยางไรก็ตาม ดูเหมือนวา ทั้งฝายที่เชื่อและไมเชื่อวาตลาดหลักทรัพยเปนเหรือไม
เปนระบบโกลาหลนั้น คงตองสนุกกันตอไปอีกนาน เพราะจนถึงปจจุบันนี้ ยังไมมีผลการวิจัยที่ตัดสิน
อะไรเด็ดขาดออกมาเลย แมวาจะมีหลักฐานมากมายวามันเปนระบบแบบไมเปนเชิงเสนก็ตาม2

4. การประยุกตใชทฤษฎีความโกลาหลในสังคมไทย

        การประยุกตทฤษฎีความโกลาหลในสังคมไทย เปนการประยุกตที่แตกตางกับวงการวิชาการ
โลกโดยสิ้นเชิง คือ ไมพบการประยุกตในดานวิทยาศาสตร หรือเศรษฐศาสตรเลย แตพบในดานการ
อธิบายสังคม อนึ่ง การประยุกตใชทฤษฎีดังกลาวในประเทศไทยมักเปนไปอยางหละหลวม กลาวคือ
มักเปนการหยิบยืมเอาเฉพาะแนวความคิดบางอยางในทฤษฎีนี้ ไปจับกับสิ่งที่ตองการศึกษา เชน
ระบบการเมือง หรือระบบสังคมเพื่อหามุมมองใหม หรือเพียงใชภาษาของทฤษฎีนี้เพื่อสื่อสารที่ตน
ตองการจะสื่ออยูแลวออกมาในรูปใหมท่ทําใหคนฟงฉงนฉงายเทานั้น การอานงานเหลานี้จึงตองอาน
                                       ี
อยางยอมรับเงื่อนไขนี้กอน (มิฉะนั้นจะเกิดอาการหงุดหงิดอยางที่เคยเกิดขึ้นกับผม)

       ตัวอยางของ การประยุกตทฤษฎีความโกลาหล ในการอธิบายสังคมไทยที่ผมพบในภาษา
ไทยไดแกงานเขียนของ ชัยวัฒน ถิระพันธ และของยุค ศรีอาริยะ

        ในหนังสือ “ทฤษฎีความไรระเบียบ กับทางแพรงของสังคมสยาม” ชัยวัฒน ถิระพันธ ไดยืม
แนวความคิดจากทฤษฎีความโกลาหลมาวิเคราะหสังคมไทย โดยถือตามแนวคิดของ Ervin Laszlo
วา สังคมใด ๆ ลวนเปนระบบพลวัตรแบบหางไกลความสมดุล ซึ่งนาจะมีความหมายเหมือนกับระบบ
แบบโกลาหลที่เรากลาวถึงขางตน อยางที่กลาวไวแลวขางตนวา เรายังไมมีเครื่องมือทั่วไปใด ๆ ที่
ชวยตัดสินวาระบบใดระบบหนึ่งเปนระบบโกลาหลหรือไม การทึกทักวาสังคมใด ๆ รวมทั้งสังคมไทย
เปนระบบแบบโกลาหล จึงเปนการกาวกระโดดทางความคิดที่ไมมีหลักฐานสนับสนุน แตในเบื้องตน
เราอาจยอมรับมันไวกอนเพื่อดูวามันจะนําไปสูขอสรุปใด

        ขอสรุปหลักของชัยวัฒนก็คือ การชี้เตือนใหเห็นวา ประเทศไทยกําลังอยูภายใตการโจมตีของ
คลื่นแหงการเปลี่ยนแปลงลูกตาง ๆ ทั้งในระดับโลกและภายในสังคมไทยเอง ซึ่งทําใหสังคมไทยเขาสู
สภาพโกลาหลและกําลังอยูในทางแพรง (bifurcation) (ทางแพรงเปนอีกแนวความคิดหนึ่งในทฤษฎี

2
    ผูที่สนใจวิวาทะนี้ กรุณาดูเอกสารอางอิงหมายเลข 5


                                                        6
ความโกลาหล) การตัดสินใจในอนาคตอันใกลนี้จึงมีความสําคัญ อยางไรก็ตามขอสรุปนี้ไมไดมีเนื้อ
หาใหมแตอยางใด และสามารถสื่อออกมาไดโดยภาษาทั่วไปโดยไมตองอางอิงกับทฤษฎีโกลาหลเลย

         ผมมีความเห็นวาบทความดังกลาวก็ยังมีประโยชนที่ชี้ใหเห็นจุดออนของทัศนะแมบทของ
การคิดตามแบบเชิงเสนและแบบกลไก เพราะทฤษฎีความโกลาหลทําใหเราตระหนักวาธรรมชาติน้น         ั
ซับซอนเกินกวาการคิดแบบเชิงเสนจะสามารถทําความเขาใจได แตปญหาก็คือ ทฤษฎีความโกลาหล
                                                                   
ไมไดใหลายแทงแกเราถึงวิธีการจัดการกับสังคมที่เปนรูปธรรมเลย นอกจากย้ําถึงความสําคัญของ
การมองแบบไมเปนเชิงเสน ไมเปนกลไก หรือที่เรียกวามองแบบองครวม เทานั้น

       สิ่งที่ผมรูสึกชอบมากที่สุดในผลงานดังกลาวก็คือ แนวความคิดเรื่อง “จุดคานงัดของสังคม”
ซึ่งทฤษฎีความโกลาหลชวยชี้ใหเห็นวา ในระบบที่ไวตอสภาวะตั้งตนนั้น การกระทําเพียงเล็กนอย
อาจเกิดสะเทือนมากได เหมือนกับผลกระทบผีเสื้อ หรือเหมือนกับการงัดเบาๆ คานก็อาจเคลื่อนไหว
ได หากเราสามารถรูวา “จุดคานงัด” ดังกลาวนั้นอยูที่ใด แนวความคิดนี้จึงเปนการประกาศถึง
ศักยภาพของปจเจกชน ในการเปลี่ยนแปลงสังคมไปในทางที่ดีขึ้น เพราะผลการกระทําของปจเจกชน
คนเดียว แมเปนเหมือนการกระพือปกของผีเสื้อตัวเล็ก ๆ ก็ยังมีโอกาสทําใหฝนตกได

        สวนในบทความ “โลกาภิวัตน 2000 วาดวยประวัติยอทางเวลาสังคมศาสตร” ของ ดร.เทียน
ชัย วงศชัยสุวรรณ ซึ่งใชในนามปากกาวา “ยุค ศรีอาริยะ” การใชคําวา “ความโกลาหล” ในทฤษฎี
ความโกลาหลถูกแปรความหมายใหเหมือนกับคําวา ความวุนวาย หรือมิกสัญญี ดังที่กลาววา “ผม
คิดวาการเปลี่ยนจากยุคอุตสาหกรรมสูยุคหลังอุตสาหกรรมนั้นมีความเปนไปไดที่จะนําไปสูสภาวะ
แหงการไรระเบียบ (chaos) อยางรุนแรง หรือที่คนไทยเรียกกันวา กลียุค” หรือในประโยคที่วา
“ปจจุบันไดเกิดทฤษฎี chaos ขึ้นมาทฤษฎีนี้คาดเดาวา โลกกําลังเคลื่อนตัวสูวิกฤติท่รุนแรง” ซึ่ง
                                                                                  ี
อานถึงตรงนี้ ผูอานทุกทานคงไดเห็นวา เปนความเขาใจที่คลาดเคลื่อนมาก จึงไมจําเปนที่จะตอง
ขยายความเพิ่มแตอยางใด

     ไดโปรดเถอะ อยานํา “มิคสัญญี” มาสูทฤษฎีความโกลาหลอันงดงาม ดวยการประยุกตใช
แบบนสะเพราอีกตอไปเลย!




                                              7
5. เอกสารอางอิง และหนังสืออานประกอบ

         1) Kl Aihara and R. Katayama, “Chaos Engineering in Japan”, Communications of
the ACM, Vol 38 No 1, November 1995 (กลาวถึงการประยุกตทฤษฎีความโกลาหลในดาน
วิศวกรรม โดยเนนผลงานในญี่ปุน จากที่มีความเขาใจเรื่องนี้ดีที่สุดคนหนึ่งในญี่ปุน)
         2) W. Ditto and T. Munakata, “Principles and Applications of Chaotic Systems,
Communications of the ACM, Vol 38 No 1, November 1995 (กลาวถึงทฤษฎีความโกลาหลและ
การประยุกตใชอยางกวาง ๆ และคอนขางเขาใจงาย)
         3) J. Gleick, “Chaos: Making a New Science”, Penguin, 1987 (กลาวถึงการกอกําเนิด
ของทฤษฎีความโกลาหลไดอยางมีชีวิตชีวา ดวยภาษาอานงายชวนติดตาม เปนงาน popular
science ที่ดีมาก)
         4) D. Gulick, “Encouter with chaos”, McGraw-Hill, 1992 (ปูพื้นฐานทางคณิตศาสตรของ
ทฤษฎีความโกลาหลไดอยางเขาใจงายและกะทัดรัด เปนตําราเรียนขั้นตนที่ดี
         5) B. LeBaron, “Chaos and Nonlinear Forcastability in Economics and Finance”,
Proc. Of the Royal Society, forthcoming, (สํารวจงายวิจัยดานการประยุกตใชทฤษฎีความโกลาหล
ในเศรษฐศาสตรมหาภาค และ การเงินไดกะทัดรัด และคอนขางครอบคลุม)
         6) Nonlinear Science FAQ, (สรุปคําถามวาดวย ทฤษฎีความโกลาหล ทฤษฎีแบบไมเปน
เชิงเสน และทฤษฎีระบบซับซอนไดกะทัดรัด ดวยภาษาที่รัดกุมและเขาใจงาย)
         7) Fractal FAQ, (สรุปคําถามวาดวย ทฤษฎีแฟรกตัลไดกะทัดรัด ดวยภาษาที่รัดกุมและ
เขาใจงาย)
         8) ชัยวัฒน ถิระพันธ, “ทฤษฎีความไรระเบียบ กับทางแพรงของสังคมสยาม”, สํานักพิมพ
ภูมิปญญา, 2537 (กลาวถึงทฤษฎีความโกลาหลไดอยางคอนขางถูกตอง มีจุดเดนที่สรุปการประยุกต
ใชทฤษฎีนี้ในดานสังคมศาสตรในยุโรป โดยเฉพาะเยอรมัน ซึ่งหาอานจากที่อื่นยากไวไดอยางเขาใจ
งาย)
         9) ยุค ศรีอาริยะ, “โลกาภิวัตน 2000 วาดวยประวัติยอทางเวลาทางสังคมศาสตร”, ใน
“โลกาภิวัตน 2000”, บริษัทไอโอนิค อินเตอรเทรด รีซอสเซส, 2537 (กลาวถึงทฤษฎีความโกลาหล
อยางคอนขางไขวเขว        แตมีมุมมองดานสังคมศาสตรที่นาสนใจหลายอยางแมจะเขียนดวยภาษา
เทศนาก็เต็มไปดวยอารมณ)




                                             8

More Related Content

Viewers also liked

Akcija davini no sirds
Akcija  davini no sirds Akcija  davini no sirds
Akcija davini no sirds
baldonesbiblioteka
 
ELD12: Badge Design
ELD12: Badge DesignELD12: Badge Design
ELD12: Badge Designhalavais
 
Present continuous or present progressive tense
Present continuous or present progressive tensePresent continuous or present progressive tense
Present continuous or present progressive tense
Claudia Alvaran
 
Flexible Transport of 3D Videos over Networks
Flexible Transport of 3D Videos over NetworksFlexible Transport of 3D Videos over Networks
Flexible Transport of 3D Videos over NetworksAhmed Hamza
 
FOTOS INDEPENDENCIA
FOTOS INDEPENDENCIAFOTOS INDEPENDENCIA
FOTOS INDEPENDENCIAlizethe
 
Bai 1
Bai 1Bai 1
Bai 1
hai
 
Beleidsadvies
BeleidsadviesBeleidsadvies
Beleidsadvies
NielsHinse
 
Livre blanc performance_design_np6
Livre blanc performance_design_np6Livre blanc performance_design_np6
Livre blanc performance_design_np6
Pierre Boissy
 
CBNews SNPTV
CBNews SNPTV CBNews SNPTV
CBNews SNPTV
SNPTV Pub TV
 
SRM70 Présentation
SRM70 PrésentationSRM70 Présentation
SRM70 Présentationguest96f0df
 

Viewers also liked (12)

Akcija davini no sirds
Akcija  davini no sirds Akcija  davini no sirds
Akcija davini no sirds
 
Scjp6.0
Scjp6.0Scjp6.0
Scjp6.0
 
ELD12: Badge Design
ELD12: Badge DesignELD12: Badge Design
ELD12: Badge Design
 
Present continuous or present progressive tense
Present continuous or present progressive tensePresent continuous or present progressive tense
Present continuous or present progressive tense
 
Flexible Transport of 3D Videos over Networks
Flexible Transport of 3D Videos over NetworksFlexible Transport of 3D Videos over Networks
Flexible Transport of 3D Videos over Networks
 
FOTOS INDEPENDENCIA
FOTOS INDEPENDENCIAFOTOS INDEPENDENCIA
FOTOS INDEPENDENCIA
 
78910
7891078910
78910
 
Bai 1
Bai 1Bai 1
Bai 1
 
Beleidsadvies
BeleidsadviesBeleidsadvies
Beleidsadvies
 
Livre blanc performance_design_np6
Livre blanc performance_design_np6Livre blanc performance_design_np6
Livre blanc performance_design_np6
 
CBNews SNPTV
CBNews SNPTV CBNews SNPTV
CBNews SNPTV
 
SRM70 Présentation
SRM70 PrésentationSRM70 Présentation
SRM70 Présentation
 

Similar to Chaos theory

Chaos theory
Chaos theoryChaos theory
Chaos theoryJiraporn
 
งานช่อ
งานช่องานช่อ
งานช่อnantalak42
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
kulwadee
 
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddhaTongsamut vorasan
 
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนาสสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
Punya Benja
 
ลอยได้ไงอ่ะ(โลก)
ลอยได้ไงอ่ะ(โลก)ลอยได้ไงอ่ะ(โลก)
ลอยได้ไงอ่ะ(โลก)
natdanaitong
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดpentanino
 
ทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบwiraja
 
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปดสำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปดTongsamut vorasan
 
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์)
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์) มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์)
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์)
Heritagecivil Kasetsart
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
Social onet a
Social onet aSocial onet a
Social onet apeemai12
 
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
freelance
 
การให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัยการให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัยLaongphan Phan
 

Similar to Chaos theory (20)

Chaos Theory
Chaos TheoryChaos Theory
Chaos Theory
 
Chaos theory
Chaos theoryChaos theory
Chaos theory
 
งานช่อ
งานช่องานช่อ
งานช่อ
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
 
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนาสสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
 
ลอยได้ไงอ่ะ(โลก)
ลอยได้ไงอ่ะ(โลก)ลอยได้ไงอ่ะ(โลก)
ลอยได้ไงอ่ะ(โลก)
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
 
ทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบ
 
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปดสำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
 
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์)
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์) มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์)
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์)
 
งานแคท
งานแคทงานแคท
งานแคท
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
Social onet a
Social onet aSocial onet a
Social onet a
 
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
 
73
7373
73
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
 
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
 
การให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัยการให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัย
 

Recently uploaded

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 

Chaos theory

  • 1. ทฤษฎีความโกลาหล สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย แมวาปจจุบันเรื่อง “ทฤษฎีความโกลาหล” (chaos theory) นี้จะไมใชแนวความคิดใหม อะไรอีกตอไปแลว ก็ยังดูเหมือนวามีผูเขาใจมันนอยเหลือเกิน จากการที่ไดฟงคนพูดหรือเขียนเรื่องนี้ อยางคอนขางคลาดเคลื่อนกันมาก ไปถึงขั้น “เลอะเทอะ” ผมหวังวาบทความนี้จะชวยใหเกิดความ เขาใจตอทฤษฎีโกลาหลถูกตองมากขึ้น 1. บทนํา กอนจะพูดถึง “ทฤษฎีความโกลาหล” เราคงตองอธิบายกันเสียกอนวา “ความโกลาหล” (chaos) คืออะไร? เพราะจุดนี้คือจุดที่ทําใหเกิดความเขาใจผิดมากที่สุด บางคนเขาใจวา “ความ โกลาหล คือ หนทางไปสูความพินาศ” บางคนก็คิดวา “สิ่งที่โกลาหลคือสิ่งที่ไมสามารถทํานายได เพราะแมแตท่จะเขาใจมันก็เปนเรื่องที่เปนไปไมไดเสียแลว” ซึ่งคลายกับความเขาใจของคนอีกไม ี นอยที่วา “ทฤษฎีความโกลาหลตองการบอกวา ธรรมชาติมีแตความไรระเบียบ” บางคนก็อาง ทฤษฎีความโกลาหลพยากรณเรื่องตางๆ ไปถึงขั้นที่กลาววา “ทฤษฎีความโกลาหลพยากรณวา โครงการ X ไมมีทางทําไดสําเร็จ” โดยที่โครงการ X เปนอะไรไดสารพัดตั้งแต โครงการจูราสสิค ปารก ไปจนถึงการปฏิรูปทางการเมืองไทย เปนตน แทท่จริงแลว “ความโกลาหล” ในทฤษฎีความโกลาหล ก็คือ ปรากฏการณที่ดูเหมือนวาเกิด ี ขึ้นอยางสะเปะสะปะ (random) แตที่จริงแลวแฝงไปดวยความเปนระเบียบ (order) ตัวอยางของ ระบบที่แสดงความโกลาหลงาย ๆ ระบบหนึ่งคือ เครื่องสรางเลขสุมเทียม (psuedo-random number generator) ในเครื่องคอมพิวเตอร นั้นเอง ใครที่เคยใชคอมพิวเตอรในงานจําลองสถานการณจริง (simulation) หรือเพียงแตใชเครื่องคิดเลขแบบพกติดตัวเลนการพนันคงจะทราบกันดีวาคอมพิวเตอร นั้นสามารถสรางเลขสุม (random number) ได อยางไรก็ตามเลขสุมที่เกิดขึ้นมานี้ ถึงจะดูเหมือนวา เกิดขึ้นมาโดยไมมีแบบแผนนั้น ก็เปนเพียงเลขสุมเทียม (psuedo-random number) ซึ่งตางจากเลข สุมแทท่เกิดจากการทอดลูกเตา เพราะเลขสุมของคอมพิวเตอรเกิดขึ้นจากโปรแกรม งาย ๆ เชน ี X(n+1) = c X (n) mod m 1
  • 2. โดยที่ X(n) คือเลขสุมครั้งที่ n สวน c และ m เปนเลขจํานวนเต็ม และ mod หมายถึงการ หารเลขจํานวนเต็มแลวเอาเฉพาะเศษ เชน 5 mod 3 จะได 2 (5 หาร 3 เหลือเศษ 2) การที่เกิดจากโปรแกรมงาย ๆ นี้จึงมีความหมายวา การเกิดของเลขสุมนี้แฝงไปดวยความ เปนระเบียบโดยระเบียบนั้นก็สามารถบรรยายไดดวยโปรแกรมนั้นนั่นเอง เลขสุมที่เกิดจากคอมพิวเตอรนี้มีลักษณะเดนอีกอยางหนึ่งคือ มันจะเกิดขึ้นอยางแตกตางกัน มากหากเริ่มตนดวยตัวตั้งตน X(0) หรือที่เรียกกันวา “เมล็ด” (seed) คนละตัวกัน นั่นก็คือ ระบบ สรางเลขสุมเทียมนี้เปนระบบที่ไวตอสภาวะตั้งตน (initial condition) นั้นเอง ตัวอยางขางตนนี้ไดสะทอนสมบัตของระบบโกลาหลหลายประการ ถาจะพูดใหเปนระบบมาก ิ ขึ้น (แตยังไมคอยรัดกุมนัก) ก็คือ ระบบที่แสดงความโกลาหลจะตองประกอบไปดวยลักษณะดังตอไป นี1้ 1) มีคุณสมบัติแบบไมเปนเชิงเสน (nonlinearly) คุณสมบัตแบบไมเปนเชิงเสนสามารถ ิ นิยามไดวาตรงกันขามกับ คุณสมบัติแบบเชิงเสน โดยที่ฟงกชัน f จะมีคุณสมบัติเชิงเสนก็ตอเมื่อ f(x+y) = f(x)+f(y) นั่นก็คือ ในระบบแบบไมเปนเชิงเสน ผลลัพธของระบบทั้งหมดไมเทากับผลรวม ของผลลัพธที่เกิดจากสวนยอย ๆ รวมกัน (โดยอาจจะมากหรือนอยกวาก็ได) ความไมเปนเชิงเสนนี่ เองที่ทําใหระบบที่แสดงความโกลาหลไมไดรับการศึกษามากในอดีต เพราะศึกษาไดคอนขางยาก ขอพึงระวังก็คือ การที่กลาววาระบบโกลาหลจําตองเปนระบบที่ไมเปนเชิงเสนนั้น ไมได หมายความวาระบบที่ไมเปนเชิงเสนทุกระบบจะเปนระบบโกลาหลเสมอไป 2) ไมใชเกิดแบบสุม (คือเปน deterministic ไมใช probabilistic) กลาวอีกแบบหนึ่งก็คอ ใน ื ระบบโกลาหล เหตุการณทั้งหลายเกิดขึ้นภายใตกฎเกณฑที่แนนอน เหตุการณที่ไมสามารถทํานาย ลวงหนาแบบการทอดลูกเตาจึงไมใช ความโกลาหล แตเปนความสุม (randomness) การแปลคํานี้ เปนภาษาไทยโดยใชคําวา “ทฤษฎีความไรระเบียบ” จึงเปนการแปลที่ไมเหมาะสม เพื่อปองกัน ความเขาใจผิดวาความโกลาหลไมใชความสุมจึงมีคนเรียก chaos วา deterministic chaos 3) ไวตอสภาวะเริ่มตน (sensitivity to initial conditions) การเริ่มตนที่ตางกันนิดเดียวอาจ ทําใหผลบั้นปลายตางกันมาก ดังที่มีคนชอบยกตัวอยาง “ผลกระทบผีเสื้อ” (butterfly effect) ซึ่ง หมายถึงการที่ผีเสื้อกระพือปกในที่แหงหนึ่ง (เชนที่บราซิล) แลวสงผลทําใหฝนตกในที่ที่หางไกลออก ไป (เชนไทย) ในสัปดาหหนา สาเหตุที่ระบบโกลาหลไวตอสภาวะเริ่มตนก็เพราะวามันจะขยายความ 1 ผูที่สนใจคําจํากัดความที่รัดกุมมากขึ้น กรุณาดูเอกสารอางอิงหมายเลข 6 2
  • 3. แตกตางใหเพิ่มมากขึ้นอยางรวดเร็ว เชน ที่พบบอยก็คือการขยายความแตกตางใหเร็วขึ้นในระดับ เลขยกกําลัง (exponential) ของเวลา 4) ไมสามารถทํานายลวงหนาในระยะยาวได (long-term prediction is impossible) ซึ่งเปน ผลสืบเนื่องจากขอ 3 เพราะการที่ไวตอสภาวะเริ่มตน จะทําใหเราไมรูวา ระบบที่เราสนใจอยูจะเปน อยางไรในระยะยาว หรือ ถาจะใชตัวอยางผลกระทบผีเสื้อขางตนอีกก็คือ เราไมสามารถพยากรณ อากาศลวงหนาเปนเดือนไดเพราะไมรวาผีเสื้อตัวไหนจะกระพือปกเมื่อไร ู ลักษณะของระบบ โกลาหลขอนี้เองที่สรางผลกระทบใหญหลวงแกวงการวิทยาศาสตร เพราะมันหักลางความเชื่อของ ลาปลาซ (Laplace) ที่ถูกสถาปนามานานแลววา “หากเรารูสภาพตั้งตนที่ดพอ เราจะสามารถทํานาย ี อนาคตของเอกภพทั้งเอกภพได” อยางไรก็ตาม คุณสมบัติขอนี้ไมไดแปลวา การทํานายระยะสั้น (short-term prediction) จะเปนสิ่งที่เปนไปไมได นี่เปนอีกจุดหนึ่งที่มีคนเขาใจผิดกันมาก นอกจากที่กลาวขางตนแลว ระบบโกลาหลยังมักมีสมบัติอีกประการหนึ่ง คือ การแสดง ลักษณะ “คลายกับตัวเอง” (self similarity) หรือที่เรียกวา “แฟรกตัล” (fractal) นั่นเอง ลักษณะนี้ จะ ปรากฎขึ้นเมื่อเราพลอตเสนทางการเคลื่อนที่ของระบบในระบบพิกัดที่บงถึงสภาวะ (phase space) ลักษณะคลายกับตัวเองนี้ หมายความวา ไมวาเราจะมองเสนทางการเคลื่อนที่นี้จากสเกลเล็ก หรือใหญแคไหน มันก็ยังมีลักษณะเหมือนเดิม เชน เมื่อเรามองชายหาดจากเครื่องบิน เราก็จะเห็น มันเปนเสนโคงเหมือนงูเลื้อย และเมื่อเราตัดเฉพาะชายหาดบางสวนมาขยายดู เราก็จะพบลักษณะงู เลื้อยในงูเลื้อยนี้ลงไปอีกเปนชั้น ๆ แทบไมมีท่สิ้นสุด (การบอกเพียงวาฝงทะเลไทยยาว 1,500 ไมล ี ตามเพลงมารชของทหารเรือไทยจึงไมมีความหมายอะไรเพราะไมทราบวาวัดอยางไร และถาเรา ขยายสวนของชายฝงนั้นลงไปอีก เราก็วัดรอยงูเลื้อยนี้ตอไปเรื่อย ๆ ไมมีท่ส้นสุดจนไดความยาวชาย ีิ ฝงเปนอนันต) อยางไรก็ตาม ลักษณะคลายกับตัวเองแบบแฟรกตัลนี้ ไมไดมีสวนเกี่ยวของเปนเงื่อน  ไขที่จําเปนในการเกิดระบบโกลาหลแตอยางใด เพียงแตมักพบรวมกันบอยครั้งเทานั้น 2. การศึกษาทฤษฎีความโกลาหลมีประโยชนอยางไร? กอนที่จะตอบคําถามนี้ ผมขอกลาวถึงความสําคัญของการศึกษาทฤษฎีน้กอน สาเหตุที่การ ี ศึกษาทฤษฎีความโกลาหลมีความสําคัญก็เพราะวา เราเชื่อกันวา ระบบในธรรมชาติ โดยมากมี ลักษณะโกลาหล แมวาเรายังไมมีวิธีการที่แนนอนในการตัดสินวา ระบบใดระบบหนึ่งเปนระบบ โกลาหลหรือไมก็ตาม ทั้งนี้ก็เพราะเหลุผลหลาย ๆ ประการเชน มีหลักฐานวาระบบในธรรมชาติที่เปน ระบบเชิงเสนจริงๆ นอยมาก จนถือไดเลยวาเปนขอยกเวน (แมแตกฎของฮุก ที่อธิบายถึงการยืดของ สปริงดวยสมการเชิงเสน ก็เปนเพียงการประมาณอยางหยาบๆ ) นอกจากนี้ เรายังพบดวยวาระบบ ไมนอยแสดงคุณสมบัติไวตอสภาวะตั้งตน เปนตน เมื่อเปนเชนนี้ การศึกษาทฤษฎีความโกลาหล จึงเปนเรื่องที่หลีกเลี่ยงไมได 3
  • 4. สวนคําถามที่วา ศึกษาทฤษฎีนี้ไปแลวจะไดประโยชนอะไรบางนั้น สามารถตอบไดวา ทฤษฎี ความโกลาหลมีประโยชนอยางนอยใน 3 ทางดวยกัน คือ ใชในการวิเคราะหระบบและทํานายอนาคต ใชในการสรางระบบโกลาหล และใชในการควบคุม-สรางความเสถียรใหกับระบบ ดังสามารถอธิบาย ไดดังตอไปนี้ 1) ใชในการวิเคราะหระบบและทํานายอนาคต อยางที่กลาวขางตนวา แมวาเราจะไมสามารถทํานายอนาคตของระบบโกลาหลในระยะ ยาวได เราก็ยังมีโอกาสทํานายอนาคตของมันในระยะสั้นได หากเราสามารถหาโมเดลที่อธิบายพฤติ กรรมของระบบนั้น และทราบสภาวะตั้งตนอยางแมนยําพอสมควร ในปจจุบัน การวิจัยเพื่อทํานาย อนุกรมตามลําดับเวลา (time-series data) ดวยแนวคิดของทฤษฎีความโกลาหลกําลังดําเนินไปอยาง เข็งขัน และมีการจัดการแขงขันทุกป ที่สถาบันวิจัยแหง ซานตาเฟ (santafe Research Institute) ใน สหรัฐอเมริกา ตัวอยางของการประยุกตในแนวนี้ไดแก การทํานายความตองการใชไฟฟาสูงสุด (peak load) ในแตละวันของบริษัทไฟฟา (ซึ่งประยุกตใชจริงที่ บริษทไฟฟาคันไซในญี่ปุน) หรือ ั ปริมาณความตองการใชน้ําในแตละวัน (ซึ่งประยุกตใชจริงที่บริษัทเมเดนฉะในญี่ปุน) ตลอดจนการ พยากรณอากาศซึ่งเปนการประยุกตใชหนึ่งที่ทาใหเกิดศาสตรแหงความโกลาหลเองดวย ํ เปนตน สวนการทํานายที่เราจะไมไดยินขาวความสําเร็จเลยก็คือ การทํานายทางการเงินเชนราคาหลักทรัพย หรือ อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศเพราะถึงสําเร็จมันก็จะเปนความลับตลอดกาล 2) ใชในการสรางระบบโกลาหล ผูอานอาจรูสึกแปลกใจวา อยูดี ๆ ทําไมเราตองสรางระบบโกลาหลขึ้นมาดวย คําตอบก็ คือ มีผูเชื่อวา “ในธรรมชาติ ความโกลาหลเปนสิ่งสากลมากกวาและดีกวาระเบียบแบบงาย ๆ” เชน สมัยหนึ่งเราเคยเชื่อวาอุณหภูมิที่เหมาะสมสําหรับมนุษยคืออุณหภูมิคงที่ อยางไรก็ตาม ผลการ ทดลองบางชิ้นทําใหทราบวาอุณหภูมิท่มนุษยรูสึกสบายตัวกวา คือ อุณหภูมิท่เปลี่ยนไปมาอยาง ี ี โกลาหลรอบจุด ๆ หนึ่ง (แบบที่เรียกกันวาสั่นแกวางแบบ 1/f) แนวคิดนี้ไดนํามาสูการสรางเครื่องทํา ความรอนของบริษัท ซันโย ในประเทศญี่ปุน ซึ่งเปนเครื่องใชไฟฟาในบานชนิดแรกที่ใชทฤษฎีความ โกลาหล (หลังจากที่ “ทฤษฎีความกํากวม” – fuzzy theory เคยถูกประยุกตใชมาแลวในเครื่องใช ไฟฟาหลายชนิด) นอกจากนี้ บริษัท มัทสึชิตะยังใชทฤษฎีโกลาหลควบคุมหัวฉีดของเครื่องลางจาน ซึ่งพบวาสามารถลางจานไดสะอาดโดยประหยัดน้ําไดกวาเครื่องลางจานแบบอื่นๆ ทั้งนี้เพราะเสน ทางการเคลื่อนที่ของหัวฉีดที่ดเหมือนไรระเบียบทําใหครอบคลุมพื้นที่ไดดีกวาการเคลื่อนที่ตามแบบ ู แผนปรกติ 3) ใชในการควบคุม-สรางความเสถียรใหกับระบบ การที่ระบบแบบโกลาหลนั้นไวตอสภาวะตั้งตนมาก การรบกวนเพียงเล็กนอยจึงอาจกอ ใหเกิดผลขยายไดมาก ในงานดานวิศวกรรมควบคุม (control engineering) การเติมสัญญาณรบกวน 4
  • 5. เพียงเล็กนอยที่เหมาะสมสูระบบที่เปนระบบโกลาหล จึงสามารถใชควบคุมใหระบบนั้นอยูในสภาวะ เสถียรหรือขับเคลื่อนใหระบบนั้นไปสูสภาวะที่ตองการไดอยางมีประสิทธิภาพ ตัวอยางของการ ประยุกตใชตามแนวความคิดนี้ไดแก การที่องคการนาสา (NASA) สามารถควบคุมยานอวกาศ ISEE-3 ใหลอยไปสูดาวหางที่ตองการสํารวจไดโดยใชเชื้อเพลิงเพียงเล็กนอย หรือการใชสญญาณไฟ ั ฟาชวยรักษาโรคหัวใจในกระตายที่ชวยทําใหหัวใจของมันเตนตามจังหวะปรกติได เปนตน  นอกจากการประยุกตใชหลักๆ ดังกลาวขางตนแลว ทฤษฎีความโกลาหลยังสามารถประยุกต ใชไดอีกในหลายสาขา เชน ในดานการสื่อสาร เราสามารถใชสัญญาณแบบโกลาหลในการเขารหัสขอ มูล (encryption) เพื่อปองกันคนแอบดูขอมูล หรือใชหลักการของทฤษฎีนี้ชวยใหการหาคาที่ดีที่สุด (optimization) ของฟงกชั่นหนึ่ง ไดคาที่ดีที่สุดที่แทจริง (global optimum) ไดงายขึ้น เพราะความ   โกลาหลสามารถชวยใหหลบการไดคาดีที่สุดเฉพาะบริเวณ (local optimum) ได  3. การประยุกตใชทฤษฎีความโกลาหลในสังคมศาสตร ในดานเศรษฐศาสตร การประยุกตใชทฤษฎีความโกลาหลมีมานานแลว และการประยุกตใช ในปจจุบันมักเปนไปอยางรัดกุมคลายกับดานวิทยาศาสตรธรรมชาติ ที่กลาววา การประยุกตใชใน ดานนี้มีมานานแลวนั้นสามารถดูไดจาก ผลงานของแมนเดลบรอท (Mandelbrot) ซึ่งเปนผูหนึ่งที่ชวย สถาปนาศาสตรแหงความโกลาหลขึ้นในทศวรรษ 1960 แมนเดลบรอทนําเศรษฐศาสตรมาผูกกับ ทฤษฎีความโกลาหล ดวยการวิเคราะหอนุกรมตามลําดับเวลาของราคาฝาย แลวพบลักษณะความ คลายกับตัวเองแบบแฟรกตัล นั้นก็คือลักษณะการเปลี่ยนแปลงราคาฝายเมื่อมองในสเกลรายวัน คลายกับเมื่อมองในสเกลรายเดือน ในปจจุบันการวิจัยระบบเศรษฐกิจโดยอาศัยทฤษฎีความโกลาหล นี้อยางเปนวิทยาศาสตรกําลังดําเนินไปอยางแข็งขันโดยผลงานวิจัยที่รวมเลมเปนหนังสือก็กําลัง ทยอยพิมพออกมา (โดยเฉพาะที่พิมพจาก MIT Press) ในดานการเงิน วิวาทะเรื่องทฤษฎีความโกลาหลกําลังดําเนินไปอยางดุเดือดอยางยิ่ง ทั้งนี้ เพราะแนวความคิดตามทฤษฎีความโกลาหลไดเพิ่มมุมมองใหมอันทาทายใหกบการวิวาทะวาสมมติ ั ฐานเรื่อง “ตลาดมีประสิทธิภาพ” (efficient market) กลาวโดยยอ ตลาดการเงินที่มีประสิทธิภาพ หมายถึง ตลาดที่ผลของสารสนเทศตาง ๆ ไดสะทอนออกมาในราคาของหลักทรัพยในตลาดอยาง หมดสิ้นและทันที จุดที่กอใหเกิดการวิวาทะก็คือ หากสมมติฐานนี้เปนจริง ราคาหลักทรัพยในตลาดจะ แกวงขึ้นลงแบบสุม (Random Walk) จึงปวยการที่บรรดานักวิเคราะหหลักทรัพยทั้งนักวิเคราะห ปจจัยพื้นฐานและนักวิเคราะหปจจัยเชิงเทคนิคจะพยายามทํานายราคาหลักทรัพย หรือแนะนําลูกคา วาควรซื้อหลักทรัพยใด เพราะผลที่ไดจะไมมีอะไรดีกวาใหลิงจับฉลากเลือก เมื่อเราดูกราฟการขึ้นลง ของราคาหลักทรัพยที่แสนจะดูเหมือนไรแบบแผน สมมติฐานนี้ก็ดเปนเรื่องนาเชื่อขึ้นมา ู 5
  • 6. การกําเนิดขึ้นของทฤษฎีความโกลาหลไดสรางความหวังแกผูท่ไมเชื่อวา ตลาดมีประสิทธิ ี ภาพ ทั้งนี้เพราะหากราคาฝายมีลักษณะความคลายกับตัวเองแบบแฟรกตัลล (ซึ่งหมายถึงวามัน เคลื่อนไหวภายใตกฎเกณฑท่ตายตัว) ไดแลว ทําไมราคาหลักทรัพยหรืออัตราการแลกเปลี่ยนเงิน ี ตราจึงจะมีลักษณะเชนเดียวกันไมได และหากตลาดหลักทรัพยเปนระบบโกลาหลแลว แมเราจะ ทํานายอนาคตระยะไกลของมันไมได เราก็ยังมีความหวังที่จะทํานายอนาคตระยะใกลของมันอยางไม คลาดเคลื่อนนัก อยางไรก็ตาม ดูเหมือนวา ทั้งฝายที่เชื่อและไมเชื่อวาตลาดหลักทรัพยเปนเหรือไม เปนระบบโกลาหลนั้น คงตองสนุกกันตอไปอีกนาน เพราะจนถึงปจจุบันนี้ ยังไมมีผลการวิจัยที่ตัดสิน อะไรเด็ดขาดออกมาเลย แมวาจะมีหลักฐานมากมายวามันเปนระบบแบบไมเปนเชิงเสนก็ตาม2 4. การประยุกตใชทฤษฎีความโกลาหลในสังคมไทย การประยุกตทฤษฎีความโกลาหลในสังคมไทย เปนการประยุกตที่แตกตางกับวงการวิชาการ โลกโดยสิ้นเชิง คือ ไมพบการประยุกตในดานวิทยาศาสตร หรือเศรษฐศาสตรเลย แตพบในดานการ อธิบายสังคม อนึ่ง การประยุกตใชทฤษฎีดังกลาวในประเทศไทยมักเปนไปอยางหละหลวม กลาวคือ มักเปนการหยิบยืมเอาเฉพาะแนวความคิดบางอยางในทฤษฎีนี้ ไปจับกับสิ่งที่ตองการศึกษา เชน ระบบการเมือง หรือระบบสังคมเพื่อหามุมมองใหม หรือเพียงใชภาษาของทฤษฎีนี้เพื่อสื่อสารที่ตน ตองการจะสื่ออยูแลวออกมาในรูปใหมท่ทําใหคนฟงฉงนฉงายเทานั้น การอานงานเหลานี้จึงตองอาน ี อยางยอมรับเงื่อนไขนี้กอน (มิฉะนั้นจะเกิดอาการหงุดหงิดอยางที่เคยเกิดขึ้นกับผม) ตัวอยางของ การประยุกตทฤษฎีความโกลาหล ในการอธิบายสังคมไทยที่ผมพบในภาษา ไทยไดแกงานเขียนของ ชัยวัฒน ถิระพันธ และของยุค ศรีอาริยะ ในหนังสือ “ทฤษฎีความไรระเบียบ กับทางแพรงของสังคมสยาม” ชัยวัฒน ถิระพันธ ไดยืม แนวความคิดจากทฤษฎีความโกลาหลมาวิเคราะหสังคมไทย โดยถือตามแนวคิดของ Ervin Laszlo วา สังคมใด ๆ ลวนเปนระบบพลวัตรแบบหางไกลความสมดุล ซึ่งนาจะมีความหมายเหมือนกับระบบ แบบโกลาหลที่เรากลาวถึงขางตน อยางที่กลาวไวแลวขางตนวา เรายังไมมีเครื่องมือทั่วไปใด ๆ ที่ ชวยตัดสินวาระบบใดระบบหนึ่งเปนระบบโกลาหลหรือไม การทึกทักวาสังคมใด ๆ รวมทั้งสังคมไทย เปนระบบแบบโกลาหล จึงเปนการกาวกระโดดทางความคิดที่ไมมีหลักฐานสนับสนุน แตในเบื้องตน เราอาจยอมรับมันไวกอนเพื่อดูวามันจะนําไปสูขอสรุปใด ขอสรุปหลักของชัยวัฒนก็คือ การชี้เตือนใหเห็นวา ประเทศไทยกําลังอยูภายใตการโจมตีของ คลื่นแหงการเปลี่ยนแปลงลูกตาง ๆ ทั้งในระดับโลกและภายในสังคมไทยเอง ซึ่งทําใหสังคมไทยเขาสู สภาพโกลาหลและกําลังอยูในทางแพรง (bifurcation) (ทางแพรงเปนอีกแนวความคิดหนึ่งในทฤษฎี 2 ผูที่สนใจวิวาทะนี้ กรุณาดูเอกสารอางอิงหมายเลข 5 6
  • 7. ความโกลาหล) การตัดสินใจในอนาคตอันใกลนี้จึงมีความสําคัญ อยางไรก็ตามขอสรุปนี้ไมไดมีเนื้อ หาใหมแตอยางใด และสามารถสื่อออกมาไดโดยภาษาทั่วไปโดยไมตองอางอิงกับทฤษฎีโกลาหลเลย ผมมีความเห็นวาบทความดังกลาวก็ยังมีประโยชนที่ชี้ใหเห็นจุดออนของทัศนะแมบทของ การคิดตามแบบเชิงเสนและแบบกลไก เพราะทฤษฎีความโกลาหลทําใหเราตระหนักวาธรรมชาติน้น ั ซับซอนเกินกวาการคิดแบบเชิงเสนจะสามารถทําความเขาใจได แตปญหาก็คือ ทฤษฎีความโกลาหล  ไมไดใหลายแทงแกเราถึงวิธีการจัดการกับสังคมที่เปนรูปธรรมเลย นอกจากย้ําถึงความสําคัญของ การมองแบบไมเปนเชิงเสน ไมเปนกลไก หรือที่เรียกวามองแบบองครวม เทานั้น สิ่งที่ผมรูสึกชอบมากที่สุดในผลงานดังกลาวก็คือ แนวความคิดเรื่อง “จุดคานงัดของสังคม” ซึ่งทฤษฎีความโกลาหลชวยชี้ใหเห็นวา ในระบบที่ไวตอสภาวะตั้งตนนั้น การกระทําเพียงเล็กนอย อาจเกิดสะเทือนมากได เหมือนกับผลกระทบผีเสื้อ หรือเหมือนกับการงัดเบาๆ คานก็อาจเคลื่อนไหว ได หากเราสามารถรูวา “จุดคานงัด” ดังกลาวนั้นอยูที่ใด แนวความคิดนี้จึงเปนการประกาศถึง ศักยภาพของปจเจกชน ในการเปลี่ยนแปลงสังคมไปในทางที่ดีขึ้น เพราะผลการกระทําของปจเจกชน คนเดียว แมเปนเหมือนการกระพือปกของผีเสื้อตัวเล็ก ๆ ก็ยังมีโอกาสทําใหฝนตกได สวนในบทความ “โลกาภิวัตน 2000 วาดวยประวัติยอทางเวลาสังคมศาสตร” ของ ดร.เทียน ชัย วงศชัยสุวรรณ ซึ่งใชในนามปากกาวา “ยุค ศรีอาริยะ” การใชคําวา “ความโกลาหล” ในทฤษฎี ความโกลาหลถูกแปรความหมายใหเหมือนกับคําวา ความวุนวาย หรือมิกสัญญี ดังที่กลาววา “ผม คิดวาการเปลี่ยนจากยุคอุตสาหกรรมสูยุคหลังอุตสาหกรรมนั้นมีความเปนไปไดที่จะนําไปสูสภาวะ แหงการไรระเบียบ (chaos) อยางรุนแรง หรือที่คนไทยเรียกกันวา กลียุค” หรือในประโยคที่วา “ปจจุบันไดเกิดทฤษฎี chaos ขึ้นมาทฤษฎีนี้คาดเดาวา โลกกําลังเคลื่อนตัวสูวิกฤติท่รุนแรง” ซึ่ง ี อานถึงตรงนี้ ผูอานทุกทานคงไดเห็นวา เปนความเขาใจที่คลาดเคลื่อนมาก จึงไมจําเปนที่จะตอง ขยายความเพิ่มแตอยางใด ไดโปรดเถอะ อยานํา “มิคสัญญี” มาสูทฤษฎีความโกลาหลอันงดงาม ดวยการประยุกตใช แบบนสะเพราอีกตอไปเลย! 7
  • 8. 5. เอกสารอางอิง และหนังสืออานประกอบ 1) Kl Aihara and R. Katayama, “Chaos Engineering in Japan”, Communications of the ACM, Vol 38 No 1, November 1995 (กลาวถึงการประยุกตทฤษฎีความโกลาหลในดาน วิศวกรรม โดยเนนผลงานในญี่ปุน จากที่มีความเขาใจเรื่องนี้ดีที่สุดคนหนึ่งในญี่ปุน) 2) W. Ditto and T. Munakata, “Principles and Applications of Chaotic Systems, Communications of the ACM, Vol 38 No 1, November 1995 (กลาวถึงทฤษฎีความโกลาหลและ การประยุกตใชอยางกวาง ๆ และคอนขางเขาใจงาย) 3) J. Gleick, “Chaos: Making a New Science”, Penguin, 1987 (กลาวถึงการกอกําเนิด ของทฤษฎีความโกลาหลไดอยางมีชีวิตชีวา ดวยภาษาอานงายชวนติดตาม เปนงาน popular science ที่ดีมาก) 4) D. Gulick, “Encouter with chaos”, McGraw-Hill, 1992 (ปูพื้นฐานทางคณิตศาสตรของ ทฤษฎีความโกลาหลไดอยางเขาใจงายและกะทัดรัด เปนตําราเรียนขั้นตนที่ดี 5) B. LeBaron, “Chaos and Nonlinear Forcastability in Economics and Finance”, Proc. Of the Royal Society, forthcoming, (สํารวจงายวิจัยดานการประยุกตใชทฤษฎีความโกลาหล ในเศรษฐศาสตรมหาภาค และ การเงินไดกะทัดรัด และคอนขางครอบคลุม) 6) Nonlinear Science FAQ, (สรุปคําถามวาดวย ทฤษฎีความโกลาหล ทฤษฎีแบบไมเปน เชิงเสน และทฤษฎีระบบซับซอนไดกะทัดรัด ดวยภาษาที่รัดกุมและเขาใจงาย) 7) Fractal FAQ, (สรุปคําถามวาดวย ทฤษฎีแฟรกตัลไดกะทัดรัด ดวยภาษาที่รัดกุมและ เขาใจงาย) 8) ชัยวัฒน ถิระพันธ, “ทฤษฎีความไรระเบียบ กับทางแพรงของสังคมสยาม”, สํานักพิมพ ภูมิปญญา, 2537 (กลาวถึงทฤษฎีความโกลาหลไดอยางคอนขางถูกตอง มีจุดเดนที่สรุปการประยุกต ใชทฤษฎีนี้ในดานสังคมศาสตรในยุโรป โดยเฉพาะเยอรมัน ซึ่งหาอานจากที่อื่นยากไวไดอยางเขาใจ งาย) 9) ยุค ศรีอาริยะ, “โลกาภิวัตน 2000 วาดวยประวัติยอทางเวลาทางสังคมศาสตร”, ใน “โลกาภิวัตน 2000”, บริษัทไอโอนิค อินเตอรเทรด รีซอสเซส, 2537 (กลาวถึงทฤษฎีความโกลาหล อยางคอนขางไขวเขว แตมีมุมมองดานสังคมศาสตรที่นาสนใจหลายอยางแมจะเขียนดวยภาษา เทศนาก็เต็มไปดวยอารมณ) 8