SlideShare a Scribd company logo
เปิดประสบการณ์ :
“การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21
สู่งานวิจัยการเรียนการสอนโดยตรง จากครูร่วมกับศิษย์”
ชมรมการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
สานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ดร.มงคล แสงอรุณ
วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม
STEP
1
STEP
2
STEP
3
STEP
4
STEP
5
STEP
6
การใช้ชุดการเรียนรู้แบบC-PBL21 สาหรับกิจกรรมโครงการ
ภายใต้การนิเทศของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม
Learning to use a C-PBL21 for project activities under the supervision of students.
The Diploma Business Computer. Mahasarakham Vocational College.
ดร.มงคล แสงอรุณ
ภาควิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม
ดร.ชฎารัตน์ สุขศีล
ภาควิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
วิทยาลัยเทคนิคมหาสารคาม
การใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21 สาหรับ กิจกรรมโครงการ
ภายใต้การนิเทศของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม
บทนา
มุ่งเน้นที่จะผลิตผู้มีความรู้ความเข้าใจ และทักษะในระดับฝีมือ
มีสมรรถนะที่สามารถปฏิบัติอาชีพได้จริงมีคุณธรรม จริยธรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพ และมีกิจนิสัยที่เหมาะสมในการทางาน
สอดคล้องกับความต้องการของเศรษฐกิจและสังคมสามารถปฏิบัติงานได้
อย่างมีความสุข และพัฒนาตนเองให้มีความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพ
ผู้เรียนเมื่อเรียนจบจะต้องมีงานทา และสามารถที่จะดารงชีวิตอย่าง
ความสุขในสังคมได้อย่างภาคภูมิ
นโยบายการจัดการศึกษา
สอดคล้องและไปในทิศทางเดียวกัน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 12
ครู คือ บุคคลสาคัญที่มีบทบาทในการพัฒนาผู้เรียน ดังนั้นการพัฒนาครูให้
พร้อมกับการเปลี่ยนแปลงของโลกไม่ว่าจะเป็นทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง
และการแข่งขันในระดับเอเซียน หรือระดับสากล โดยครูต้องมีการเปลี่ยนแปลง
ตัวเองโดยสิ้นเชิงเพื่อให้เป็น
“ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21” บทบาทของครูอาจารย์จะต้องเปลี่ยนไป ครูที่รัก
ศิษย์และเอาใจใส่ศิษย์ แต่ยังใช้กระบวนการจัดการเรียนการสอนแบบเดิมๆ จะไม่ใช่
ครูที่ทาประโยชน์แก่ศิษย์อย่างแท้จริง
ครูที่มีใจแก่ศิษย์ยังไม่พอ ครูเพื่อศิษย์ต้องเปลี่ยนจุดสนใจหรือจุดเน้นการสอน
ไปเป็นเน้นการเรียน (ทั้งของศิษย์และของตนเอง) ต้องมีการเรียนรู้และปรับปรุง
รูปแบบการเรียนรู้ที่ตนเองได้ให้แก่ศิษย์ด้วย ครูเพื่อศิษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง
จาก “ครูสอน” (teacheer)ไปเป็น “ครูฝึก” (Coach) หรือ
“ผู้อานวยความสะดวกในการเรียนรู้” (Learning facilitator)
และต้องเรียนรู้ทักษะในการทาหน้าที่นี้โดยรวมตัวกันเป็นกลุ่มเพื่อการเรียนรู้
ร่วมกันอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องที่เรียกว่า
PLC (Professional Learning Community)
เพื่อให้ครูได้เกิดการพัฒนาตนเองและเรียนรู้ที่จะปรับเปลี่ยนแนวคิดและ
กระบวนการจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับปัจจุบัน
ในการวิจัยในครั้งนี้จึงมีการนาชุดการจัดการเรียนรู้ C-PBL21 ของ ชมรมพัฒนาทักษะ
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มาใช้ เป็นเครื่องมือ
เพื่อช่วยให้ครูสามารถจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องและเชื่อมโยงกับทักษะที่จาเป็นในการ
จัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
การพัฒนาครูผู้สอนให้มีความรู้ ความเข้าใจและทักษะการจัดการเรียนการสอน
ที่เน้นกระบวนการคิดเชิงระบบ ซึ่งสอดคล้องกับแนวพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
ที่มีรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้มุ่งให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ ได้คิด
ได้วิเคราะห์ สังเคราะห์ และได้ปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเอง มีประสบการณ์ตรง ได้ฝึกปฏิบัติ
จนค้นพบความถนัด และสามารถเลือกวิธีเรียนรู้ด้วยตนเอง มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกลุ่ม
ได้ฝึกคิดอย่างหลากหลาย ตลอดจนมีโอกาสในการฝึกประเมินผลงานของตนเอง
การปรับปรุงตนเองและยอมรับผู้อื่น ซึ่งจะส่งผลต่อการพัฒนาการศึกษาของประเทศในอนาคต
วัตถุประสงค์การวิจัย
1.เพื่อทดลองใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21
สาหรับกิจกรรมโครงการภายใต้การนิเทศ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม
2.เพื่อสารวจความพึงพอใจของการชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21
สาหรับกิจกรรมโครงการภายใต้การนิเทศ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม
วิธีดาเนินการวิจัย
ระยะที่ 1
ทดลองใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21 ในการทากิจกรรมโครงการภายใต้การนิเทศของนักศึกษา
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม
ระยะที่ 2
การสารวจความพึงพอใจของผู้เรียน หลังจากทดลองใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21 มาใช้ในการ
ทากิจกรรมโครงการภายใต้การนิเทศของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม
ระยะที่ 1
ทดลองใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21 ในการทากิจกรรมโครงการภายใต้การนิเทศของนักศึกษา
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม
ประชากร นักศึกษาระดับปวส. จานวน 120 คน
กลุ่มตัวอย่าง สุ่มแบบเจาะจง นักศึกษาระดับปวส. จานวน 25 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ชุดการเรียนรู้ C-PBL21
ระยะที่ 2
การสารวจความพึงพอใจของผู้เรียน หลังจากทดลองใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21 มาใช้ในการ
ทากิจกรรมโครงการภายใต้การนิเทศของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม
เครื่องมือสาหรับการวิจัย แบบประเมินความพึงพอใจ
ต่อชุดการเรียนรู้ C-PBL21 จานวน 28 ข้อ
การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ค่าสถิติพื้นฐาน ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัย ระยะที่ 1
ทดลองใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21 ในการทากิจกรรมโครงการภายใต้การนิเทศ
ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม
ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21 ประกอบด้วยขั้นตอนการเรียนรู้ 7 ขั้นตอน
ผลการวิจัย
การหลอมรวมความรู้เดิมของผู้เรียน สู่ความรู้ใหม่ที่จะเกิดขึ้น ด้วยกระบวนการคิดวิเคราะห์
อย่างเป็นระบบ และการประเมินสถานการณ์
ระยะที่ 1 ทดลองใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21
ในการทากิจกรรมโครงการภายใต้การนิเทศของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคามขั้นที่ 1 การเตรียมผู้เรียน
ผู้เรียนเกิดการพัฒนาการด้านการคิดอย่างเป็นระบบ และทราบถึงศักยภาพของตนเองในการจัดทาโครงการ
กระบวนการ CLIPSTEP เพื่อกระตุ้นและเสริมแรง
พับกระดาษ เพื่อเน้นกระบวนการเชื่อมโยงความคิดอย่างเป็นระบบถ่ายทอดสู่การสร้างชิ้นงาน
การถ่ายทอดความรู้ และให้ผู้เรียนได้ประเมินสถานการณ์ก่อนการทาโครงการ
ผลการวิจัย
การสารวจข้อมูลในชุมชน โดยการเก็บข้อมูลตามสภาพจริง เป็นทีม เพื่อให้ได้ข้อมูลสาหรับทาโครงการ
ระยะที่ 1 ทดลองใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21
ในการทากิจกรรมโครงการภายใต้การนิเทศของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคามขั้นที่ 2 การสารวจชุมชน
ผู้เรียนสารวจและเก็บข้อมูลในชุมชน เพื่อนามาจัดความสัมพันธ์ของข้อมูล แสดงความคิดเพื่อการค้นหา
โครงการที่เหมาะสมสาหรับจัดทากิจกรรมโครงการภายใต้การนิเทศ โดยเกิดจากมติของสมาชิกกลุ่ม
Foce Connection
จัดความสัมพันธ์ข้อมูล
การลงชุมชน
ข้อมูลสาหรับการจัดทาโครงการ
Mind Mapping
ค้นหาโครงการที่น่าสนใจ
ผลการวิจัย
เลือกโครงการที่ได้จากการสารวจ เพื่อหาโครงการที่เหมาะสม และมีความเป็นไปได้สูงในการทากิจกรรม
ระยะที่ 1 ทดลองใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21
ในการทากิจกรรมโครงการภายใต้การนิเทศของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคามขั้นที่ 3 การวิเคราะห์และตัดสินใจ
ผู้เรียนมีการนาเสนอโครงการแต่ละโครงการ เพื่อเปิดโอกาสให้เพื่อนที่เป็นสมาชิกกลุ่ม ได้แสดงความคิดเห็น
ในเชิงเหตุและผล เพื่อลงมติเลือกโครงการที่ดีที่สุดในการจัดทากิจกรรม
DA การวิเคราะห์และตัดสินใจ
อธิบายเหตุและผล สาหรับโครงการในแต่ละโครงการ
การลงมติด้วยการโหวต
โครงการที่เกิดจากมติของสมาชิกกลุ่ม
ผลการวิจัย
การวางแผนการดาเนินกิจกรรมโครงการให้บรรลุตามกาหนดเวลา
ระยะที่ 1 ทดลองใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21
ในการทากิจกรรมโครงการภายใต้การนิเทศของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคามขั้นที่ 4 การวางแผนกิจกรรม
ผู้เรียนมีการร่วมกันวางแผนในการปฏิบัติกิจกรรมในโครงการ เพื่อให้แล้วเสร็จตามเวลาที่กาหนด
PDCA
การใช้กระบวนการบริหารงานคุณภาพ
PPA
การวิเคราะห์ปัญหาที่อาจเกิดขึ้น
เพื่อหาแนวทางแก้ไขเบื้องต้น
ผลการวิจัย
การปฏิบัติตามแผนที่ได้วางไว้โดยกิจกรรมต่างๆ ในโครงการจะเป็นไปตามลาดับ
ระยะที่ 1 ทดลองใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21
ในการทากิจกรรมโครงการภายใต้การนิเทศของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคามขั้นที่ 5 การลงมือปฏิบัติ
มีการประยุกต์ใช้ความรู้จากที่เรียน ทาให้เกิดชิ้นงาน รายได้จากโครงการ
ผลการวิจัย
ผู้เรียนสรุปผลและรายงานการจัดทากิจกรรมโครงการ
ระยะที่ 1 ทดลองใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21
ในการทากิจกรรมโครงการภายใต้การนิเทศของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคามขั้นที่ 6 สรุปและนาเสนอ
มีการประยุกต์ใช้ความรู้จากที่เรียน ทาให้เกิดชิ้นงาน และรายได้จากโครงการ
ผลการวิจัย
ระยะที่ 1 ทดลองใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21
ในการทากิจกรรมโครงการภายใต้การนิเทศของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคามขั้นที่ 7 การต่อยอดองค์ความรู้
ผู้เรียนสามารถที่จะนาความรู้ที่ได้จากกระบวนการในการจัดทาโครงการภายใต้การนิเทศ
ในครั้งนี้ไปประยุกต์ใช้เป็นการสร้างอาชีพได้ในอนาคต
ผลการวิจัย
ระยะที่ 2 การสารวจความพึงพอใจของผู้เรียน
หลังจากทดลองใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21
มาใช้ในการทากิจกรรมโครงการภายใต้การนิเทศของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม
ความพึงพอใจโดยรวมต่อชุดการเรียนรู้ C-PBL21
อยู่ในระดับมากที่สุด ( xˉ = 4.61, S.D.=0.57)
เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ขั้นการเตรียมผู้เรียน
อยู่ในระดับมากที่สุด ( xˉ = 4.56, S.D.=0.50)
สรุปผลและข้อเสนอแนะ
การใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21 สาหรับกิจกรรมโครงการ
ภายใต้การนิเทศของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคามด้านครูผู้สอน
สามารถนามาประยุกต์สู่การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้จริง
สามารถนารูปแบบมาปรับใช้เพิ่มเติม หรือ นาบางส่วนของการจัด
กิจกรรมมาใช้ในการเรียนการสอนตามบริบท ซึ่งมีข้อแตกต่างกันในแต่ละ
กิจกรรม หรือรายวิชาที่ต้องการจัดการเรียนรู้
เกิดความเข้าใจและการเปลี่ยนแปลงของตนเอง ในการทาหน้าที่ของ
ครูผู้สอนในศตวรรษที่ 21 ในบทบาทของผู้อานวยความสะดวกในการเรียนรู้
สรุปผลและข้อเสนอแนะ
การใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21 สาหรับกิจกรรมโครงการ
ภายใต้การนิเทศของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคามด้านผู้เรียน
มีความสุขในการเรียน สามารถดึงความรู้หรือความสามารถที่อยู่ในผู้เรียน
ออกมา เพื่อใช้ในการแสดงความคิดเห็นในการทากิจกรรมร่วมกับเพื่อนในกลุ่ม
มีความคิดที่หลากหลาย และบนความหลากหลายนี้ทาให้ผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้
ร่วมกับผู้อื่น ก่อให้เกิดการยอมรับในความคิดของผู้อื่น จากเรื่องที่ไม่รู้ได้รู้
สามารถที่จะเรียนรู้ในการพัฒนาศักยภาพของตนเอง มีการทางานเป็นทีม
(Team Learning) ซึ่งส่งผลให้ผู้เรียนเป็นผู้ที่มีคุณสมบัติตามสมรรถนะของ
สาขาวิชาที่เรียน ซึ่งตรงตามความต้องการ ของสถานศึกษาที่จะผลิตผู้เรียนตาม
หลัก 3R8C
สรุปผลและข้อเสนอแนะ
การใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21 สาหรับกิจกรรมโครงการ
ภายใต้การนิเทศของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคามด้านการจัดการเรียนการสอน
สาหรับอาชีวศึกษานั้น หากครูผู้สอนได้นาหลักการหรือรูปแบบการจัดกิจกรรม C-PBL21 มาปรับใช้ใน
การจัดการเรียนการสอนสาหรับผู้เรียนจริง ภายใต้บริบทของแต่ละสาขาวิชา เชื่อได้ว่าสิ่งที่จะเกิดขึ้นจะ
ส่งผลต่อการจัดการเรียนการสอน คือ การสร้างห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่ในด้านสายอาชีพ และท้ายสุดจะ
ทาให้ครูและผู้เรียนมีการพัฒนาไปด้วยกัน คุณภาพทางการศึกษาสาหรับผู้เรียนด้านสายอาชีพจะเพิ่มมาก
ขึ้น เพราะ ผู้เรียนจะมีการพัฒนาทั้งทางด้านความรู้ ทักษะ และการคิดสร้างสรรค์ ซึ่งเป็นที่ต้องการของ
ตลาดแรงงานในปัจจุบัน
จากประสบการณ์การจัดการเรียนการสอน C-PBL21 สาหรับกิจกรรมองค์การโครงการภายใต้การนิเทศ
ในครั้งนี้ สามารถนาไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนด้านอาชีวศึกษาได้จริง และยังสามารถปรับรูปแบบ
ของกระบวนการตามบริบทในแต่ละสาขาวิชาในการจัดเรียนการสอนได้ ทาให้ครูเกิดความท้าทาย
เด็กเกิดความคิดสร้างสรรค์ และกล้าที่จะดึงศักยภาพในตัวเองออกมาใช้ได้อย่างถูกที่ถูกเวลา
BestPracticeCPBL21

More Related Content

Similar to BestPracticeCPBL21

Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
numchai hom
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
numchai hom
 
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
E trainingของศน.อายัด
E trainingของศน.อายัดE trainingของศน.อายัด
E trainingของศน.อายัด
arisara
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
Intangible Mz
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมี
วิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมีวิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมี
วิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมี
พัน พัน
 
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
Denpong Soodphakdee
 
T hink ttt
T hink tttT hink ttt
T hink ttt
krutip
 
workshop แนวทางการบริหารหลักสูตร
workshop แนวทางการบริหารหลักสูตรworkshop แนวทางการบริหารหลักสูตร
workshop แนวทางการบริหารหลักสูตร
Prachyanun Nilsook
 
Lesson Design and Development for 21st Century Learners (in Thai) การออกแบบแล...
Lesson Design and Development for 21st Century Learners (in Thai) การออกแบบแล...Lesson Design and Development for 21st Century Learners (in Thai) การออกแบบแล...
Lesson Design and Development for 21st Century Learners (in Thai) การออกแบบแล...
Mayuree Srikulwong
 
Maejo 620711 n5
Maejo 620711 n5Maejo 620711 n5
Maejo 620711 n5
Pattie Pattie
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Parkz Zilch
 
Remote Learning After Covid-19
Remote Learning After Covid-19Remote Learning After Covid-19
Remote Learning After Covid-19
Thiti Theerathean
 
บทความเผยแพร่การวิจัย
บทความเผยแพร่การวิจัยบทความเผยแพร่การวิจัย
บทความเผยแพร่การวิจัย
prachid007
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์trisana_nan
 
รายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
รายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมรายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
รายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
KruPor Sirirat Namthai
 
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
Wera Supa CPC
 
COMPUTER PROJECT
COMPUTER PROJECTCOMPUTER PROJECT
COMPUTER PROJECT
Punyaponpanjun
 

Similar to BestPracticeCPBL21 (20)

Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
 
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...
 
E trainingของศน.อายัด
E trainingของศน.อายัดE trainingของศน.อายัด
E trainingของศน.อายัด
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมี
วิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมีวิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมี
วิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมี
 
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
 
T hink ttt
T hink tttT hink ttt
T hink ttt
 
workshop แนวทางการบริหารหลักสูตร
workshop แนวทางการบริหารหลักสูตรworkshop แนวทางการบริหารหลักสูตร
workshop แนวทางการบริหารหลักสูตร
 
Lesson Design and Development for 21st Century Learners (in Thai) การออกแบบแล...
Lesson Design and Development for 21st Century Learners (in Thai) การออกแบบแล...Lesson Design and Development for 21st Century Learners (in Thai) การออกแบบแล...
Lesson Design and Development for 21st Century Learners (in Thai) การออกแบบแล...
 
Maejo 620711 n5
Maejo 620711 n5Maejo 620711 n5
Maejo 620711 n5
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Remote Learning After Covid-19
Remote Learning After Covid-19Remote Learning After Covid-19
Remote Learning After Covid-19
 
บทความเผยแพร่การวิจัย
บทความเผยแพร่การวิจัยบทความเผยแพร่การวิจัย
บทความเผยแพร่การวิจัย
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
รายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
รายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมรายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
รายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
 
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
 
easy e-learning msu
easy e-learning msueasy e-learning msu
easy e-learning msu
 
COMPUTER PROJECT
COMPUTER PROJECTCOMPUTER PROJECT
COMPUTER PROJECT
 

Recently uploaded

ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ArnonTonsaipet
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
ssuser0ffe4b
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (6)

ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
 

BestPracticeCPBL21

  • 1. เปิดประสบการณ์ : “การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21 สู่งานวิจัยการเรียนการสอนโดยตรง จากครูร่วมกับศิษย์” ชมรมการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ดร.มงคล แสงอรุณ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม
  • 2.
  • 10. ดร.มงคล แสงอรุณ ภาควิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม ดร.ชฎารัตน์ สุขศีล ภาควิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคมหาสารคาม การใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21 สาหรับ กิจกรรมโครงการ ภายใต้การนิเทศของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม
  • 11. บทนา มุ่งเน้นที่จะผลิตผู้มีความรู้ความเข้าใจ และทักษะในระดับฝีมือ มีสมรรถนะที่สามารถปฏิบัติอาชีพได้จริงมีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ และมีกิจนิสัยที่เหมาะสมในการทางาน สอดคล้องกับความต้องการของเศรษฐกิจและสังคมสามารถปฏิบัติงานได้ อย่างมีความสุข และพัฒนาตนเองให้มีความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพ ผู้เรียนเมื่อเรียนจบจะต้องมีงานทา และสามารถที่จะดารงชีวิตอย่าง ความสุขในสังคมได้อย่างภาคภูมิ นโยบายการจัดการศึกษา สอดคล้องและไปในทิศทางเดียวกัน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
  • 12. ครู คือ บุคคลสาคัญที่มีบทบาทในการพัฒนาผู้เรียน ดังนั้นการพัฒนาครูให้ พร้อมกับการเปลี่ยนแปลงของโลกไม่ว่าจะเป็นทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และการแข่งขันในระดับเอเซียน หรือระดับสากล โดยครูต้องมีการเปลี่ยนแปลง ตัวเองโดยสิ้นเชิงเพื่อให้เป็น “ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21” บทบาทของครูอาจารย์จะต้องเปลี่ยนไป ครูที่รัก ศิษย์และเอาใจใส่ศิษย์ แต่ยังใช้กระบวนการจัดการเรียนการสอนแบบเดิมๆ จะไม่ใช่ ครูที่ทาประโยชน์แก่ศิษย์อย่างแท้จริง
  • 13. ครูที่มีใจแก่ศิษย์ยังไม่พอ ครูเพื่อศิษย์ต้องเปลี่ยนจุดสนใจหรือจุดเน้นการสอน ไปเป็นเน้นการเรียน (ทั้งของศิษย์และของตนเอง) ต้องมีการเรียนรู้และปรับปรุง รูปแบบการเรียนรู้ที่ตนเองได้ให้แก่ศิษย์ด้วย ครูเพื่อศิษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง จาก “ครูสอน” (teacheer)ไปเป็น “ครูฝึก” (Coach) หรือ “ผู้อานวยความสะดวกในการเรียนรู้” (Learning facilitator) และต้องเรียนรู้ทักษะในการทาหน้าที่นี้โดยรวมตัวกันเป็นกลุ่มเพื่อการเรียนรู้ ร่วมกันอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องที่เรียกว่า PLC (Professional Learning Community) เพื่อให้ครูได้เกิดการพัฒนาตนเองและเรียนรู้ที่จะปรับเปลี่ยนแนวคิดและ กระบวนการจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับปัจจุบัน
  • 14. ในการวิจัยในครั้งนี้จึงมีการนาชุดการจัดการเรียนรู้ C-PBL21 ของ ชมรมพัฒนาทักษะ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มาใช้ เป็นเครื่องมือ เพื่อช่วยให้ครูสามารถจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องและเชื่อมโยงกับทักษะที่จาเป็นในการ จัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 การพัฒนาครูผู้สอนให้มีความรู้ ความเข้าใจและทักษะการจัดการเรียนการสอน ที่เน้นกระบวนการคิดเชิงระบบ ซึ่งสอดคล้องกับแนวพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ที่มีรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้มุ่งให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ ได้คิด ได้วิเคราะห์ สังเคราะห์ และได้ปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเอง มีประสบการณ์ตรง ได้ฝึกปฏิบัติ จนค้นพบความถนัด และสามารถเลือกวิธีเรียนรู้ด้วยตนเอง มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกลุ่ม ได้ฝึกคิดอย่างหลากหลาย ตลอดจนมีโอกาสในการฝึกประเมินผลงานของตนเอง การปรับปรุงตนเองและยอมรับผู้อื่น ซึ่งจะส่งผลต่อการพัฒนาการศึกษาของประเทศในอนาคต
  • 15. วัตถุประสงค์การวิจัย 1.เพื่อทดลองใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21 สาหรับกิจกรรมโครงการภายใต้การนิเทศ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม 2.เพื่อสารวจความพึงพอใจของการชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21 สาหรับกิจกรรมโครงการภายใต้การนิเทศ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม
  • 16. วิธีดาเนินการวิจัย ระยะที่ 1 ทดลองใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21 ในการทากิจกรรมโครงการภายใต้การนิเทศของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม ระยะที่ 2 การสารวจความพึงพอใจของผู้เรียน หลังจากทดลองใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21 มาใช้ในการ ทากิจกรรมโครงการภายใต้การนิเทศของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม
  • 17. ระยะที่ 1 ทดลองใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21 ในการทากิจกรรมโครงการภายใต้การนิเทศของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม ประชากร นักศึกษาระดับปวส. จานวน 120 คน กลุ่มตัวอย่าง สุ่มแบบเจาะจง นักศึกษาระดับปวส. จานวน 25 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ชุดการเรียนรู้ C-PBL21
  • 18. ระยะที่ 2 การสารวจความพึงพอใจของผู้เรียน หลังจากทดลองใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21 มาใช้ในการ ทากิจกรรมโครงการภายใต้การนิเทศของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม เครื่องมือสาหรับการวิจัย แบบประเมินความพึงพอใจ ต่อชุดการเรียนรู้ C-PBL21 จานวน 28 ข้อ การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ค่าสถิติพื้นฐาน ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
  • 19. ผลการวิจัย ระยะที่ 1 ทดลองใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21 ในการทากิจกรรมโครงการภายใต้การนิเทศ ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21 ประกอบด้วยขั้นตอนการเรียนรู้ 7 ขั้นตอน
  • 20. ผลการวิจัย การหลอมรวมความรู้เดิมของผู้เรียน สู่ความรู้ใหม่ที่จะเกิดขึ้น ด้วยกระบวนการคิดวิเคราะห์ อย่างเป็นระบบ และการประเมินสถานการณ์ ระยะที่ 1 ทดลองใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21 ในการทากิจกรรมโครงการภายใต้การนิเทศของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคามขั้นที่ 1 การเตรียมผู้เรียน ผู้เรียนเกิดการพัฒนาการด้านการคิดอย่างเป็นระบบ และทราบถึงศักยภาพของตนเองในการจัดทาโครงการ กระบวนการ CLIPSTEP เพื่อกระตุ้นและเสริมแรง พับกระดาษ เพื่อเน้นกระบวนการเชื่อมโยงความคิดอย่างเป็นระบบถ่ายทอดสู่การสร้างชิ้นงาน การถ่ายทอดความรู้ และให้ผู้เรียนได้ประเมินสถานการณ์ก่อนการทาโครงการ
  • 21. ผลการวิจัย การสารวจข้อมูลในชุมชน โดยการเก็บข้อมูลตามสภาพจริง เป็นทีม เพื่อให้ได้ข้อมูลสาหรับทาโครงการ ระยะที่ 1 ทดลองใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21 ในการทากิจกรรมโครงการภายใต้การนิเทศของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคามขั้นที่ 2 การสารวจชุมชน ผู้เรียนสารวจและเก็บข้อมูลในชุมชน เพื่อนามาจัดความสัมพันธ์ของข้อมูล แสดงความคิดเพื่อการค้นหา โครงการที่เหมาะสมสาหรับจัดทากิจกรรมโครงการภายใต้การนิเทศ โดยเกิดจากมติของสมาชิกกลุ่ม Foce Connection จัดความสัมพันธ์ข้อมูล การลงชุมชน ข้อมูลสาหรับการจัดทาโครงการ Mind Mapping ค้นหาโครงการที่น่าสนใจ
  • 22. ผลการวิจัย เลือกโครงการที่ได้จากการสารวจ เพื่อหาโครงการที่เหมาะสม และมีความเป็นไปได้สูงในการทากิจกรรม ระยะที่ 1 ทดลองใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21 ในการทากิจกรรมโครงการภายใต้การนิเทศของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคามขั้นที่ 3 การวิเคราะห์และตัดสินใจ ผู้เรียนมีการนาเสนอโครงการแต่ละโครงการ เพื่อเปิดโอกาสให้เพื่อนที่เป็นสมาชิกกลุ่ม ได้แสดงความคิดเห็น ในเชิงเหตุและผล เพื่อลงมติเลือกโครงการที่ดีที่สุดในการจัดทากิจกรรม DA การวิเคราะห์และตัดสินใจ อธิบายเหตุและผล สาหรับโครงการในแต่ละโครงการ การลงมติด้วยการโหวต โครงการที่เกิดจากมติของสมาชิกกลุ่ม
  • 23. ผลการวิจัย การวางแผนการดาเนินกิจกรรมโครงการให้บรรลุตามกาหนดเวลา ระยะที่ 1 ทดลองใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21 ในการทากิจกรรมโครงการภายใต้การนิเทศของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคามขั้นที่ 4 การวางแผนกิจกรรม ผู้เรียนมีการร่วมกันวางแผนในการปฏิบัติกิจกรรมในโครงการ เพื่อให้แล้วเสร็จตามเวลาที่กาหนด PDCA การใช้กระบวนการบริหารงานคุณภาพ PPA การวิเคราะห์ปัญหาที่อาจเกิดขึ้น เพื่อหาแนวทางแก้ไขเบื้องต้น
  • 24. ผลการวิจัย การปฏิบัติตามแผนที่ได้วางไว้โดยกิจกรรมต่างๆ ในโครงการจะเป็นไปตามลาดับ ระยะที่ 1 ทดลองใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21 ในการทากิจกรรมโครงการภายใต้การนิเทศของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคามขั้นที่ 5 การลงมือปฏิบัติ มีการประยุกต์ใช้ความรู้จากที่เรียน ทาให้เกิดชิ้นงาน รายได้จากโครงการ
  • 25. ผลการวิจัย ผู้เรียนสรุปผลและรายงานการจัดทากิจกรรมโครงการ ระยะที่ 1 ทดลองใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21 ในการทากิจกรรมโครงการภายใต้การนิเทศของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคามขั้นที่ 6 สรุปและนาเสนอ มีการประยุกต์ใช้ความรู้จากที่เรียน ทาให้เกิดชิ้นงาน และรายได้จากโครงการ
  • 26. ผลการวิจัย ระยะที่ 1 ทดลองใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21 ในการทากิจกรรมโครงการภายใต้การนิเทศของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคามขั้นที่ 7 การต่อยอดองค์ความรู้ ผู้เรียนสามารถที่จะนาความรู้ที่ได้จากกระบวนการในการจัดทาโครงการภายใต้การนิเทศ ในครั้งนี้ไปประยุกต์ใช้เป็นการสร้างอาชีพได้ในอนาคต
  • 27. ผลการวิจัย ระยะที่ 2 การสารวจความพึงพอใจของผู้เรียน หลังจากทดลองใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21 มาใช้ในการทากิจกรรมโครงการภายใต้การนิเทศของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม ความพึงพอใจโดยรวมต่อชุดการเรียนรู้ C-PBL21 อยู่ในระดับมากที่สุด ( xˉ = 4.61, S.D.=0.57) เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ขั้นการเตรียมผู้เรียน อยู่ในระดับมากที่สุด ( xˉ = 4.56, S.D.=0.50)
  • 28. สรุปผลและข้อเสนอแนะ การใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21 สาหรับกิจกรรมโครงการ ภายใต้การนิเทศของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคามด้านครูผู้สอน สามารถนามาประยุกต์สู่การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้จริง สามารถนารูปแบบมาปรับใช้เพิ่มเติม หรือ นาบางส่วนของการจัด กิจกรรมมาใช้ในการเรียนการสอนตามบริบท ซึ่งมีข้อแตกต่างกันในแต่ละ กิจกรรม หรือรายวิชาที่ต้องการจัดการเรียนรู้ เกิดความเข้าใจและการเปลี่ยนแปลงของตนเอง ในการทาหน้าที่ของ ครูผู้สอนในศตวรรษที่ 21 ในบทบาทของผู้อานวยความสะดวกในการเรียนรู้
  • 29. สรุปผลและข้อเสนอแนะ การใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21 สาหรับกิจกรรมโครงการ ภายใต้การนิเทศของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคามด้านผู้เรียน มีความสุขในการเรียน สามารถดึงความรู้หรือความสามารถที่อยู่ในผู้เรียน ออกมา เพื่อใช้ในการแสดงความคิดเห็นในการทากิจกรรมร่วมกับเพื่อนในกลุ่ม มีความคิดที่หลากหลาย และบนความหลากหลายนี้ทาให้ผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร่วมกับผู้อื่น ก่อให้เกิดการยอมรับในความคิดของผู้อื่น จากเรื่องที่ไม่รู้ได้รู้ สามารถที่จะเรียนรู้ในการพัฒนาศักยภาพของตนเอง มีการทางานเป็นทีม (Team Learning) ซึ่งส่งผลให้ผู้เรียนเป็นผู้ที่มีคุณสมบัติตามสมรรถนะของ สาขาวิชาที่เรียน ซึ่งตรงตามความต้องการ ของสถานศึกษาที่จะผลิตผู้เรียนตาม หลัก 3R8C
  • 30. สรุปผลและข้อเสนอแนะ การใช้ชุดการเรียนรู้แบบ C-PBL21 สาหรับกิจกรรมโครงการ ภายใต้การนิเทศของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคามด้านการจัดการเรียนการสอน สาหรับอาชีวศึกษานั้น หากครูผู้สอนได้นาหลักการหรือรูปแบบการจัดกิจกรรม C-PBL21 มาปรับใช้ใน การจัดการเรียนการสอนสาหรับผู้เรียนจริง ภายใต้บริบทของแต่ละสาขาวิชา เชื่อได้ว่าสิ่งที่จะเกิดขึ้นจะ ส่งผลต่อการจัดการเรียนการสอน คือ การสร้างห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่ในด้านสายอาชีพ และท้ายสุดจะ ทาให้ครูและผู้เรียนมีการพัฒนาไปด้วยกัน คุณภาพทางการศึกษาสาหรับผู้เรียนด้านสายอาชีพจะเพิ่มมาก ขึ้น เพราะ ผู้เรียนจะมีการพัฒนาทั้งทางด้านความรู้ ทักษะ และการคิดสร้างสรรค์ ซึ่งเป็นที่ต้องการของ ตลาดแรงงานในปัจจุบัน จากประสบการณ์การจัดการเรียนการสอน C-PBL21 สาหรับกิจกรรมองค์การโครงการภายใต้การนิเทศ ในครั้งนี้ สามารถนาไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนด้านอาชีวศึกษาได้จริง และยังสามารถปรับรูปแบบ ของกระบวนการตามบริบทในแต่ละสาขาวิชาในการจัดเรียนการสอนได้ ทาให้ครูเกิดความท้าทาย เด็กเกิดความคิดสร้างสรรค์ และกล้าที่จะดึงศักยภาพในตัวเองออกมาใช้ได้อย่างถูกที่ถูกเวลา