SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
โครงสรางอะตอมและสมบัติทั่วไป                                                                            1




บทที่
โครงสร้างอะตอมและสมบัติทั่วไป
                                            ในตารางธาตุ ที่ ใช กั น อยู ในป จ จุ บั น จะมี ธ าตุ อ ยู 2
                                กลุมที่เรียงเปน 2 แถวอยูทางดานลางของตารางธาตุ แตละ
                                แถวจะมีสมาชิกอยู 14 ธาตุ กลุมแรก (หรือแถวแรก) เรียกวา
                                กลุ ม แลนทาไนด หรื อ อนุ ก รมแลนทาไนด (lanthanides
                                หรื อ lanthanide series) กลุ ม ที่ 2 เรี ย กว า กลุ ม แอกทิ ไ นด
                                หรือ อนุกรมแอกทิไนด (actinides หรือ actinide series) ทั้ง 2
                                กลุมนี้รวมกันเรียกวาเปน กลุมเอฟ (f-block) เนื่องจากเปน
                                ชวงที่ มี ก ารเติ ม อิ เล็ก ตรอนเขาไปในออรบิ ทั ล f (4f สําหรับ
                                กลุมแลนทาไนดและ 5f สําหรับกลุมแอกทิ ไนด) ความจริง
                                ธาตุทั้ง 2 กลุมนี้ก็ถูกจัดใหเปนธาตุแทรนซิชันเชนกัน แตที่
                                ผ า นมาเนื่ อ งจากเราจะคุ น เคยกั บ ธาตุ แ ทรนซิ ชั น กลุ ม ดี
                                (d-block) มากกวา ดังนั้น เพื่อปองกันความสับสน เวลากลาว
                                ถึงธาตุแทรนซิชัน จึงมักระบุใหชัดลงไปวาเปนพวกกลุมดีหรือ
                                กลุมเอฟ
                                        ในการอางถึงธาตุเหลานี้ในหนังสือนี้ ถาเปนการ
                                อางถึงแบบเจาะจงไปที่ธาตุตัวใดตัวหนึ่งก็จะใชสัญลักษณ
                                ของธาตุนั้น เชน Ce, Sm, Th, U เปนตน แตถาอางถึงแบบ
                                รวมทั้งกลุมจะใชสัญลักษณ Ln สําหรับธาตุทั้งกลุมแลนทา-
                                ไนดและ An สําหรับธาตุทั้งกลุมแอกทิไนด
2                                                             ธาตุกลุมเอฟ : แลนทาไนดและแอกทิไนด



H                                                                                             H     He
Li   Be                                                               B     C     N     O     F     Ne
Na   Mg                                                               Al    Si    P     S     Cl    Ar
K    Ca    Sc    Ti   V     Cr    Mn    Fe    Co    Ni    Cu    Zn    Ga    Ge    As    Se    Br    Kr
Rb   Sr    Y     Zr   Nb    Mo    Tc    Ru    Rh    Pd    Ag    Cd    In    Sn    Sb    Te    I     Xe
Cs   Ba    La    Hf   Ta    W     Re    Os    Ir    Pt    Au    Hg    Tl    Pb    Bi    Po    At    Rn
Fr   Ra    Ac    Rf   Db    Sg    Bh    Hs    Mt    Ds    Rg    Uub Uut Uuq Uup Unh


กลุมแลนทาไนด        Ce    Pr    Nd    Pm    Sm    Eu    Gd    Tb    Dy    Ho    Er    Tm    Yb    Lu
กลุมแอกทิไนด        Th    Pa    U     Np    Pu    Am Cm       Bk    Cf    Es    Fm    Md    No    Lr


           ถายึดวาธาตุแลนทาไนดคือธาตุที่มีการเติมอิเล็กตรอนเขาไปในออรบิทัล f ธาตุ La
 (ธาตุแลนทานัม, lanthanum) ซึ่งมีเลขอะตอม 57 ก็จะไมถูกนับเขาในกลุมนี้ แตเนื่องจากธาตุ
 La เปนธาตุเริ่มตนที่ทําใหเกิดกลุมแลนทาไนดตามมาและมีสมบัติคลายกันจึงมักรวมธาตุ La
 ไวกับกลุมนี้ดวย และเชนเดียวกันสําหรับธาตุ Ac (ธาตุแอกทิเนียม, actinium) ซึ่งมีเลขอะตอม
 89 ธาตุ La และ Ac นั้ น ต า งก็ เป น สมาชิ ก ของกลุ ม III B ร วมกั บ ธาตุ Sc (ธาตุ ส แกนเดี ย ม,
 scandium) และ Y (ธาตุอิตเทรียม, yttrium) ดังนั้น จึงอาจกลาวเปนแนวทางกวางๆ ไดวาธาตุ
 Sc, Y, La, Ac และธาตุในกลุมแลนทาไนดกับกลุมแอกทิไนดจะมีสมบัติทางเคมีคลายคลึงกัน
 ดวยเหตุน้ีเมื่อศึกษาเกี่ยวกับธาตุในกลุมแลนทาไนดและแอกทิไนดจึงมักมิไดจํากัดอยูเพียง
 ธาตุ 28 ธาตุใน 2 แถวดังกลาวเทานั้น แตจะรวมไปถึงธาตุ Sc, Y, La, Ac ดวยเสมอ ตอเมื่อ
 ศึ ก ษาละเอี ย ดลงไปจึงจะจําแนกตอ ไปได วาธาตุ Sc, Y, La และกลุม แลนทาไนด จะมี ค วาม
 คลายคลึงกันและจะมีความแตกตางพอสมควรจากกลุมแอกทิไนด ในตนคริสตศตวรรษที่ 19
 มีการใชคําวา แรรเอิรท (Rare Earth) เรียกรวมธาตุหลายธาตุที่มีสมบัติคลายกันและมักพบ
 เกิดขึ้นรวมกันในธรรมชาติ ไดแก Y, La และกลุมแลนทาไนด และภายหลังไดรวม Sc ดวย ชื่อ
 แรรเอิรทนี้ยังคงมีใชอยูในปจจุบัน
         
           แมวาธาตุแลนทาไนดรวมทั้งธาตุในชวงตนของแอกทิไนดจะเปนที่รูจักกันมานาน แต
 ความเจริ ญ ก า วหน า ทางวิ ท ยาการของธาตุ ก ลุ ม เอฟเพิ่ ง เกิ ด ขึ้ น อย า งก า วกระโดดในช ว ง
 สงครามโลกครั้ ง ที่ 2 ซึ่ งเป น ผลมาจากโครงการวิจั ย ขนาดใหญ ช่ื อ โครงการแมนฮั ต ตั น
โครงสรางอะตอมและสมบัติทั่วไป                                                           3


(Manhatton Project) โครงการวิจัยนี้เปนโครงการลับขั้นสูงสุดของสหรัฐอเมริกา กอตั้งใน ค.ศ.
1942 (แตไดมี การเริ่ม งานมากอ นหนานี้ อยางนอย 2-3 ป) วัตถุประสงคของโครงการนี้เพื่ อ
สรางระเบิดปรมาณู ซึ่งตองมีการวิจัยในทุ กดานรวมทั้งทางดานเคมีเพื่อแยกธาตุยูเรเนียม
ในการศึกษาวิจัยเหลานี้เกี่ยวโยงมาถึงธาตุแลนทาไนดดวย อาจกลาวไดวาความรูเกี่ยวกับธาตุ
กลุมเอฟ ในปจจุบันสวนใหญเปนผลมาจากโครงการนี้ ที่กลาววาเปนโครงการขนาดใหญนั้น
เนื่ องจากมีบุ คลากรไม น อยกวา 1 แสนคนที่ เกี่ยวของและในจํานวนนี้ เปน นั กวิท ยาศาสตร
ชั้นนําที่ไดรับรางวัลโนเบลหลายคน มีมหาวิทยาลัยเกี่ยวของ 13 แหงและหนวยงานตางๆ อีก
มากมาย รวมทั้งไดมีการกอตั้งสถานวิจัยแหงชาติลอส อลามอส (Los Alamos National Laboratory)
ที่รัฐนิวเม็กซิโกดวย

1.1 ชื่อและที่มาของชื่อ
        ขอมูลทั่วไปของธาตุ 2 กลุมนี้แสดงในตาราง 1.1 ชื่อที่เขียนเปนภาษาไทยเปนชื่อที่
บัญญัติโดยราชบัณฑิตยสถาน และใชกันอยางเปนทางการในวงราชการและวิชาการ

ตารางที่ 1.1 ขอมูลทั่วไปของธาตุกลุมแลนทาไนดกับแอกทิไนดและธาตุอ่ืนที่มีสมบัติทางเคมี
             คลายกัน
                                                                                    ค.ศ.
เลขอะตอม สัญลักษณ                       ชื่อธาตุ                    ผูคนพบ
                                                                                    ที่พบ
    21           Sc          Scandium           สแกนเดียม           L.F. Nilson     1879
    39           Y            Yttrium            อิตเทรียม        C.G. Mosander     1843
    57           La          Lanthanum           แลนทานัม         C.G. Mosander     1839
    58           Ce           Cerium               ซีเรียม        C.G. Mosander     1839
    59           Pr        Praseodymium        เพรซีโอดิเมียม        C.A. von       1885
                                                                     Welsbach
    60           Nd         Neodymium               นีโอดิเมียม      C.A. von        1885
                                                                     Welsbach
    61          Pm          Promethium              โพรมีเทียม    J.A. Marinsky,     1947
                                                                  I.E. Glendenin,
                                                                    C.D. Coryell
4                                                        ธาตุกลุมเอฟ : แลนทาไนดและแอกทิไนด



ตารางที่ 1.1 (ตอ)
                                                                                        ค.ศ.
เลขอะตอม สัญลักษณ                      ชื่อธาตุ                       ผูคนพบ
                                                                                        ที่พบ
    62               Sm    Samarium             ซาแมเรียม    L. de Boisbaudran          1879
    63               Eu     Europium             ยูโรเพียม    E.A. Demarcay             1901
    64               Gd    Gadolinium          แกโดลิเนียม        J.C.G. de             1880
                                                                 Marignac
    65           Tb         Terbium              เทอรเบียม   C.G. Mosander             1843
    66           Dy        Dysprosium           ดีสโพรเซียม  L. de Boisbaudran          1886
    67           Ho         Holmium               โฮลเมียม       P.T. Cleve             1879
    68           Er          Erbium              เออรเบียม   C.G. Mosander             1843
    69           Tm         Thulium                ทูเลียม       P.T. Cleve             1879
    70           Yb         Ytterbium          อิตเทอรเบียม  C.G. Mosander             1843
    71           Lu         Lutetium               ลูทเชียม
                                                      ี          G. Urbain,             1907
                                                                  C.A. von
                                                                 Welsbach,
                                                                  C. James
    89               Ac     Actinium            แอกทิเนียม      A. Debierne             1899
    90               Th      Thorium               ทอเรียม     J.J. Berzelius           1828
    91               Pa   Protoactinium     โพรโทแอกทิเนียม (ไอโซโทป 234)               1913
                          (Protactinium )    (โพรแทกทิเนียม)     K. Fajans,
                                                                O. Gohring

                                                                    (ไอโซโทป 231)     1916
                                                                       O. Hahn,
                                                                      L. Meitner,
                                                                       F. Soddy,
                                                                     J.A. Cranston
    92               U      Uranium                ยูเรเนียม        M.H. Klaproth       1789
โครงสรางอะตอมและสมบัติทั่วไป                                                                   5


ตารางที่ 1.1 (ตอ)
                                                                                             ค.ศ.
เลขอะตอม สัญลักษณ                         ชื่อธาตุ                       ผูคนพบ
                                                                                             ที่พบ
    93               Np      Neptunium                เนปทูเนียม       (ไอโซโทป 239)         1940
                                                                      E.M. McMillan,
                                                                        P.H. Abelson
    94               Pu      Plutonium                พลูโทเนียม       G.T. Seaborg,         1940
                                                                      E.M. McMillan,
                                                                       J.W. Kennedy
                                                                           A. Wahl
    95           Am          Americium                อะเมริเซียม      G.T. Seaborg,         1944
                                                                         R.A. James,
                                                                        I.O. Morgan,
                                                                         A. Ghiorso
    96           Cm              Curium                 คูเรียม        G.T. Seaborg,         1944
                                                                         R.A. James,
                                                                         A. Ghiorso
    97               Bk      Berkelium                เบอรคีเลียม    S.G. Thompson,         1949
                                                                         A. Ghiorso,
                                                                        G.T. Seaborg
    98               Cf     Californium          แคลิฟอรเนียม        S.G. Thompson,         1950
                                                                          K. Street
                                                                         A. Ghiorso,
                                                                        G.T. Seaborg
    99               Es     Einsteinium           ไอนสไตเนียม         ผลงานรวมของ          1952
                                                                     นักวิจัยที่ Berkeley,
                                                                      Los Alamos และ
                                                                           Argonne
   100               Fm          Fermium              เฟอรเมียม     ผลงานรวมของ นัก        1952
                                                                      วิจัยที่ Berkeley,
                                                                      Los Alamos และ
                                                                           Argonne
6                                                            ธาตุกลุมเอฟ : แลนทาไนดและแอกทิไนด



ตารางที่ 1.1 (ตอ)
                                                                                            ค.ศ.
เลขอะตอม สัญลักษณ                          ชื่อธาตุ                        ผูคนพบ
                                                                                            ที่พบ
    101            Md         Mendelevium          เมนเดเลเวียม            A. Ghiorso,      1955
                                                                          B.H. Harvey,
                                                                          G.R. Choppin,
                                                                         S.G. Thompson,
                                                                          G.T. Seaborg
    102              No         Nobelium               โนเบเลียม           A. Ghiorso,      1958
                                                                          T. Sikkeland,
                                                                           J.R. Walton,
                                                                          G.T. Seaborg
    103              Lr       Lawrencium           ลอวเรนเซียม           A. Ghiorso, T.    1961
                                                                            Sikkeland,
                                                                           A.E. Larsch,
                                                                          R.M. Latimer
      ชื่อของธาตุเหลานี้บางก็มีรากศัพทมาจากภาษากรีก บางก็มาจากชื่อเมืองหรือสถานที่/
ประเทศที่เกี่ยวของ รวมทั้งชื่อนักวิทยาศาสตรที่โดดเดน ดังแสดงในตารางที่ 1.2

ตารางที่ 1.2 ที่มาของชื่อธาตุกลุมแลนทาไนดและแอกทิไนด
        ชื่อธาตุ                                          ที่มาของชื่อ
 กลุมแลนทาไนด
 lanthanum                จากคําวา lanthanein ในภาษากรีก แปลวา แฝงอยู, ซอนอยู, พบไดยาก
                          (to lie hidden; to escape notice)
 cerium                   จากชื่อดาวเคราะหนอย Ceres ซึ่งถูกคนพบในเวลานั้น
 praseodymium             จากคํา 2 คําในภาษากรีก คือ prasios ซึ่งแปลวา สีเขียว และ didymos ซึ่ง
                           แปลวา ฝาแฝด, คูแฝด รวมกันจึงแปลวา คูแฝดสีเขียว (green twin)
 neodymium                จากคํา 2 คําในภาษากรีก คือ neos ซึ่งแปลวา ใหม และ didymos ซึ่งแปล
                          วา ฝาแฝด, คูแฝด รวมกันจึงแปลวา คูแฝดใหม (new twin)
 promethium               จากชื่อ Prometheus ในเทพนิยาย เปนผูขโมยไฟจากสวรรคมาสูโลกมนุษย
โครงสรางอะตอมและสมบัติทั่วไป                                                                              7


ตารางที่ 1.2 (ตอ)
        ชื่อธาตุ                                         ที่มาของชื่อ
 samarium              จากชื่อแรซามารสไกต (samarskite) ซึ่งมาจากชื่อของ Colonel M. Samarski
                       ชาวรัสเซียผูเชี่ยวชาญทางดานเหมืองแร
 europium              จากชื่อทวีป Europe
 gadolinium            จากชื่อ Johan Gadolin
 ytterbium, yttrium,   จากชื่อเมือง Ytterby (เมืองที่พบแรที่ทําใหเกิดการคนพบธาตุแลนทาไนด
 terbium, erbium       ซึ่งมีกลาวถึงในบทที่ 2) ชื่อเมืองนี้นํามาตั้งชื่อธาตุไดถึง 4 ธาตุโดยการใช
                       ชื่อเต็มและการตัดคําในสวนตางๆ ของชื่อ
 dysprosium            จากคําวา dysprositos ในภาษากรีก แปลวา เขาถึงยาก (difficult to access)
 holmium               จากชื่อเมือง Stockholm
 thulium               จากชื่อ Thule ซึ่งเปนชื่อเกาของ Scandinavia, ดินแดนที่อยูเหนือสุด
 lutetium              จากชื่อ Lutetia ซึ่งเปนชื่อเกาของปารีส
 scandium              จากชื่อกลุมประเทศ Scandinavia
 กลุมแอกทิไนด
 actinium              จากคําวา aktinos ในภาษากรีก แปลวา ลําแสง (beam, ray)
 thorium               จากชื่อ Thor ซึ่งเปนเทพแหงสงครามของชาวสแกนดิเนเวีย
 protactinium          จากคําวา protos ในภาษากรีก แปลวา แรก, กอน (first)
 americium             จากชื่อประเทศสหรัฐอเมริกา
 curium                จากชื่อ Marie Curie (ผูคนพบธาตุ Po และ Ra)
 berkelium             จากชื่ อเมื อง Berkeley ในรั ฐ California ที่ ตั้ งของวิ ท ยาเขตหนึ่ งของมหา-
                       วิทยาลัยแคลิฟอรเนีย ซึ่งมีการคนควาวิจัยทางนิวเคลียรฟสิกสและคนพบ
                       ธาตุใหมในกลุมนี้หลายธาตุ
 californium           จากชื่อรัฐ California
 einsteinium           จากชื่อ Albert Einstein ผูคิดทฤษฎีสัมพัทธภาพและสมการ E= mc2
 fermium               จากชื่อ Enrico Fermi นักวิทยาศาสตรทางดานนิวเคลียรฟสิกสชาวอิตาลี
                       ภายหลังยายมาอยูที่สหรัฐอเมริกา เปนผูสรางเตาปฏิกรณปรมาณูเครื่อง
                       แรกของโลกและนําไปสูการสรางระเบิดปรมาณูที่ใชในสงครามโลกครั้งที่ 2
 mendelevium           จากชื่อ Dmitri Mendeleev (ผูคิดตารางธาตุ)
 lawrencium            จากชื่อ Ernest O. Lawrence นักฟสิกสที่มหาวิทยาลัยแคลิฟอรเนีย (Berkeley)
                       ผู ส ร างเครื่อ งไซโคลทรอน (cyclotron) ซึ่ งเป น เครื่อ งมื อ ที่ สํ า คั ญ ช วยให
                       คนพบธาตุใหมๆ หลายธาตุ
8                                                                ธาตุกลุมเอฟ : แลนทาไนดและแอกทิไนด



1.2 ออรบิทัล f
           ออร บิ ทั ล f ปรากฏครั้ งแรกในชั้ น พลั ง งาน n = 4 โดยมี ค า l = 3 ทํ า ให เกิ ด ชั้ น ย อ ย
(subshell) 4f ซึ่ ง ประกอบด ว ย 7 ออร บิ ทั ล กํ า กั บ ด ว ยค า ml = +3, +2, +1, 0, -1, -2, -3 และใน
ทํานองเดียวกันเมื่อ n = 5 ก็จะมีช้ันยอย 5f ซึ่งประกอบไปดวย 7 ออรบิทัลเชนกัน ธาตุในกลุม
แลนทาไนด แ ละแอกทิ ไ นด มี ก ารเติ ม อิ เล็ ก ตรอนลงในออร บิ ทั ล 4f และ 5f ตามลํ า ดั บ f
ออรบิทัลทั้ง 7 ออรบิทัลมีพลังงานเทากัน โดยทั่วไปจะใชสัญญลักษณ nlm แทนฟงกชันคลื่น
ของแตละออรบิทัล ฟงกชันคลื่นแสดงในรูปของนิพจนทางคณิตศาสตรโดยใชตัวแปรเปน r, ,
 (แทนการใช x, y, z) ปกติ ฟ งก ชัน คลื่น จะซั บ ซอ นมาก ดั งนั้ น จึงนิ ย มแยกเป น 2 สวน คื อ
ส วนที่ แ ปรด วยค า r (ระยะห า งจากนิ วเคลี ย ส) อย า งเดี ย ว เรีย กวา ฟ งก ชั น คลื่ น เชิ ง รัศ มี
(Radial wave function, R nl (r)) และอีกสวนซึ่งจะแปรตามคามุม ,  เรียกวา ฟงกชันคลื่น
เชิงมุม (Angular wave function, Ylm (, ) ) ซึ่งอาจเขียนไดดังนี้
                            

                            nlm = R nl (r) . Ylm (, )

         สวนที่เปน R nl (r) เปนสวนที่กําหนดขนาดใหญเล็กของออรบิทัล สวนที่เปน Ylm (, )
จะเปนสวนที่กําหนดรูปรางของออรบิทัล สําหรับออรบิทัล 4f และ 5f นั้น มีรูปรางเหมือนกัน
ดังนั้น จะมีสวนที่เปน Ylm (, ) เหมือนกัน แต 4f จะมีขนาดเล็กกวา 5f ซึ่งความตางตรงนี้มา
จาก R nl (r) นั่นเอง การแสดง Ylm (, ) ของออรบิทัล f อาจแสดงได 2 แบบ เรียกวา ชุดทั่ว
ไป (General set) และ ชุดคิวบิก (Cubic set) ทั้ง 2 แบบมีพลังงานเทากัน ใชแทนกันได การจะ
ใชแบบใดขึ้นอยูกับลักษณะของปญหาแตละกรณี ฟงกชันคลื่นของ 2 ชุดมี 4 ฟงกชันที่ตางกัน
สวนอีก 3 ฟงกชันจะเหมือนกัน (ฟงกชันคลื่นที่ชื่อ fx3, fy3, fy (z2-x2) fx (z2-y2) ในชุดคิวบิกไดจากการ
นําฟงกชันคลื่นชื่อ fxz2, fyz2, fy (3x2-y2) fx (x2-3y2) ของชุดทั่วไปมารวมกันแบบผลรวมเชิงเสน (linear
combination) นิพจนของฟงกชันคลื่นเชิงมุมในชุดทั่วไปและชุดคิวบิกรวมทั้งรูปรางแสดงในตา
รางที่ 1.3 และ 1.4 และรูปที่ 1.1 ตามลําดับ
โครงสรางอะตอมและสมบัติทั่วไป                                                       9


            ตารางที่ 1.3 ฟงกชันคลื่นเชิงมุมของชุดทั่วไป
               ออรบิทัล                              ฟงกชัน
                                       .5 cos   3 cos 
                  fz 3          1    7        3
                                 
                                4   

                                        . sin .5 cos   1. cos 
                    fxz2        1   42               2
                                 
                                8    

                                        . sin .5 cos   1. sin 
                    fyz2        1   42               2
                                 
                                8    
                 fz (x2-y2)     1   105  2
                                        . sin . cos . cos 2
                                4    
                    fxyz        1   105  2
                                        . sin . cos . sin 2
                                4    
                 fx (x2-3y2)    1   70  3
                                       . sin . cos 3
                                8    
                 fy (3x2-y2)    1   70  3
                                       . sin . sin 3
                                8    

            ตารางที่ 1.4 ฟงกชันคลื่นเชิงมุมของชุดคิวบิก
               ออรบิทัล                              ฟงกชัน
                                        .5 cos   3 cos 
                  fz 3          1    7          3
                                 
                                4   
                                        . sin . sin .5 cos . cos   3 
                    f x3        1    7                      2      2
                                 
                                4    

                                        . sin . sin .5 cos . sin   3
                    f y3        1    7                      2      2
                                 
                                4   
                   fxyz         1    105  2
                                          . sin . cos . sin 2
                                4     
                 fz (x2-y2)     1    105  2
                                          . sin . cos . cos 2
                                4     

                                           . sin . cos .cos   sin . sin 
                 fx (z2-y2)     1    105                      2      2      2
                                 
                                4     

                                           . sin . sin .cos   sin . cos 
                 fy (z2-x2)     1    105                      2      2       2
                                 
                                4     
10                                                        ธาตุกลุมเอฟ : แลนทาไนดและแอกทิไนด




     รูปที่ 1.1 แสดงรูปรางของฟงกชันคลื่นเชิงมุมของออรบิทัล f ของชุดทั่วไปและชุดคิวบิก
                                 [ดัดแปลงจาก Huheey, 1978]

        จากลักษณะและเครื่องหมายของฟงกชันคลื่นของ 4f ออรบิทัล (และ 5f ดวย) ในรูปที่
1.2 จะเห็นวาในสวนของฟงกชันคลื่นเชิงมุมนี้มี 3 โหนด (node)1 (ในออรบิทัล d, p, s จะมี 2, 1, 0
โหนด ตามลํ า ดั บ ) และตํ าแหน งของเครื่ อ งหมาย +/- ที่ อ ยู ป ระจํ า แต ล ะโหลบ (lobe) นั้ น


      1
        ในฟงกชันคลื่นรวม (nlm) จะมีจํานวนโหนด = n-1 โดยแยกอยูในฟงกชันคลื่นเชิงรัศมีจํานวน =
n-l-1 โหนดและอยูในฟงกชันคลื่นเชิงมุมจํานวน = l โหนด

More Related Content

What's hot

โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุchemnpk
 
Book2013 jan 07_2013_chem
Book2013 jan 07_2013_chemBook2013 jan 07_2013_chem
Book2013 jan 07_2013_chemAnan Malawan
 
Book2013 jan 07_2013_chem
Book2013 jan 07_2013_chemBook2013 jan 07_2013_chem
Book2013 jan 07_2013_chemThanapol Sudha
 
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุวิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุTutor Ferry
 
006 a sci o-net
006 a sci o-net006 a sci o-net
006 a sci o-netwikanet
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)Ajchariya Sitthikaew
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1Tanchanok Pps
 
Ch 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistryCh 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistrykruannchem
 
1.เก็งข้อสอบ a net วิชาเคมี ชุดที่ 1
1.เก็งข้อสอบ a net วิชาเคมี ชุดที่ 11.เก็งข้อสอบ a net วิชาเคมี ชุดที่ 1
1.เก็งข้อสอบ a net วิชาเคมี ชุดที่ 1darkfoce
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีPorna Saow
 
Isomers [compatibility mode]
Isomers [compatibility mode]Isomers [compatibility mode]
Isomers [compatibility mode]kaoijai
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีพัน พัน
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2Tanchanok Pps
 
ประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้าประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้าOui Nuchanart
 
ข้อสอบ a net เคมี 2550
ข้อสอบ a net เคมี 2550ข้อสอบ a net เคมี 2550
ข้อสอบ a net เคมี 2550Review Wlp
 

What's hot (20)

Chap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structureChap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structure
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
 
Book2013 jan 07_2013_chem
Book2013 jan 07_2013_chemBook2013 jan 07_2013_chem
Book2013 jan 07_2013_chem
 
Book2013 jan 07_2013_chem
Book2013 jan 07_2013_chemBook2013 jan 07_2013_chem
Book2013 jan 07_2013_chem
 
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุวิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
 
006 a sci o-net
006 a sci o-net006 a sci o-net
006 a sci o-net
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
Ch 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistryCh 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistry
 
1.เก็งข้อสอบ a net วิชาเคมี ชุดที่ 1
1.เก็งข้อสอบ a net วิชาเคมี ชุดที่ 11.เก็งข้อสอบ a net วิชาเคมี ชุดที่ 1
1.เก็งข้อสอบ a net วิชาเคมี ชุดที่ 1
 
Chap 4 periodic table
Chap 4 periodic tableChap 4 periodic table
Chap 4 periodic table
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
 
atom 2
atom 2atom 2
atom 2
 
Isomers [compatibility mode]
Isomers [compatibility mode]Isomers [compatibility mode]
Isomers [compatibility mode]
 
Chemistry
Chemistry Chemistry
Chemistry
 
ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสี
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
 
ประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้าประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้า
 
ข้อสอบ a net เคมี 2550
ข้อสอบ a net เคมี 2550ข้อสอบ a net เคมี 2550
ข้อสอบ a net เคมี 2550
 

More from CUPress

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737CUPress
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560CUPress
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478CUPress
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270CUPress
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102CUPress
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096CUPress
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072CUPress
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027CUPress
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914CUPress
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907CUPress
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686CUPress
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457CUPress
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440CUPress
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389CUPress
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280CUPress
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365CUPress
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303CUPress
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242CUPress
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235CUPress
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099CUPress
 

More from CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 

9789740329206

  • 1. โครงสรางอะตอมและสมบัติทั่วไป 1 บทที่ โครงสร้างอะตอมและสมบัติทั่วไป ในตารางธาตุ ที่ ใช กั น อยู ในป จ จุ บั น จะมี ธ าตุ อ ยู 2 กลุมที่เรียงเปน 2 แถวอยูทางดานลางของตารางธาตุ แตละ แถวจะมีสมาชิกอยู 14 ธาตุ กลุมแรก (หรือแถวแรก) เรียกวา กลุ ม แลนทาไนด หรื อ อนุ ก รมแลนทาไนด (lanthanides หรื อ lanthanide series) กลุ ม ที่ 2 เรี ย กว า กลุ ม แอกทิ ไ นด หรือ อนุกรมแอกทิไนด (actinides หรือ actinide series) ทั้ง 2 กลุมนี้รวมกันเรียกวาเปน กลุมเอฟ (f-block) เนื่องจากเปน ชวงที่ มี ก ารเติ ม อิ เล็ก ตรอนเขาไปในออรบิ ทั ล f (4f สําหรับ กลุมแลนทาไนดและ 5f สําหรับกลุมแอกทิ ไนด) ความจริง ธาตุทั้ง 2 กลุมนี้ก็ถูกจัดใหเปนธาตุแทรนซิชันเชนกัน แตที่ ผ า นมาเนื่ อ งจากเราจะคุ น เคยกั บ ธาตุ แ ทรนซิ ชั น กลุ ม ดี (d-block) มากกวา ดังนั้น เพื่อปองกันความสับสน เวลากลาว ถึงธาตุแทรนซิชัน จึงมักระบุใหชัดลงไปวาเปนพวกกลุมดีหรือ กลุมเอฟ ในการอางถึงธาตุเหลานี้ในหนังสือนี้ ถาเปนการ อางถึงแบบเจาะจงไปที่ธาตุตัวใดตัวหนึ่งก็จะใชสัญลักษณ ของธาตุนั้น เชน Ce, Sm, Th, U เปนตน แตถาอางถึงแบบ รวมทั้งกลุมจะใชสัญลักษณ Ln สําหรับธาตุทั้งกลุมแลนทา- ไนดและ An สําหรับธาตุทั้งกลุมแอกทิไนด
  • 2. 2 ธาตุกลุมเอฟ : แลนทาไนดและแอกทิไนด H H He Li Be B C N O F Ne Na Mg Al Si P S Cl Ar K Ca Sc Ti V Cr Mn Fe Co Ni Cu Zn Ga Ge As Se Br Kr Rb Sr Y Zr Nb Mo Tc Ru Rh Pd Ag Cd In Sn Sb Te I Xe Cs Ba La Hf Ta W Re Os Ir Pt Au Hg Tl Pb Bi Po At Rn Fr Ra Ac Rf Db Sg Bh Hs Mt Ds Rg Uub Uut Uuq Uup Unh กลุมแลนทาไนด Ce Pr Nd Pm Sm Eu Gd Tb Dy Ho Er Tm Yb Lu กลุมแอกทิไนด Th Pa U Np Pu Am Cm Bk Cf Es Fm Md No Lr ถายึดวาธาตุแลนทาไนดคือธาตุที่มีการเติมอิเล็กตรอนเขาไปในออรบิทัล f ธาตุ La (ธาตุแลนทานัม, lanthanum) ซึ่งมีเลขอะตอม 57 ก็จะไมถูกนับเขาในกลุมนี้ แตเนื่องจากธาตุ La เปนธาตุเริ่มตนที่ทําใหเกิดกลุมแลนทาไนดตามมาและมีสมบัติคลายกันจึงมักรวมธาตุ La ไวกับกลุมนี้ดวย และเชนเดียวกันสําหรับธาตุ Ac (ธาตุแอกทิเนียม, actinium) ซึ่งมีเลขอะตอม 89 ธาตุ La และ Ac นั้ น ต า งก็ เป น สมาชิ ก ของกลุ ม III B ร วมกั บ ธาตุ Sc (ธาตุ ส แกนเดี ย ม, scandium) และ Y (ธาตุอิตเทรียม, yttrium) ดังนั้น จึงอาจกลาวเปนแนวทางกวางๆ ไดวาธาตุ Sc, Y, La, Ac และธาตุในกลุมแลนทาไนดกับกลุมแอกทิไนดจะมีสมบัติทางเคมีคลายคลึงกัน ดวยเหตุน้ีเมื่อศึกษาเกี่ยวกับธาตุในกลุมแลนทาไนดและแอกทิไนดจึงมักมิไดจํากัดอยูเพียง ธาตุ 28 ธาตุใน 2 แถวดังกลาวเทานั้น แตจะรวมไปถึงธาตุ Sc, Y, La, Ac ดวยเสมอ ตอเมื่อ ศึ ก ษาละเอี ย ดลงไปจึงจะจําแนกตอ ไปได วาธาตุ Sc, Y, La และกลุม แลนทาไนด จะมี ค วาม คลายคลึงกันและจะมีความแตกตางพอสมควรจากกลุมแอกทิไนด ในตนคริสตศตวรรษที่ 19 มีการใชคําวา แรรเอิรท (Rare Earth) เรียกรวมธาตุหลายธาตุที่มีสมบัติคลายกันและมักพบ เกิดขึ้นรวมกันในธรรมชาติ ไดแก Y, La และกลุมแลนทาไนด และภายหลังไดรวม Sc ดวย ชื่อ แรรเอิรทนี้ยังคงมีใชอยูในปจจุบัน  แมวาธาตุแลนทาไนดรวมทั้งธาตุในชวงตนของแอกทิไนดจะเปนที่รูจักกันมานาน แต ความเจริ ญ ก า วหน า ทางวิ ท ยาการของธาตุ ก ลุ ม เอฟเพิ่ ง เกิ ด ขึ้ น อย า งก า วกระโดดในช ว ง สงครามโลกครั้ ง ที่ 2 ซึ่ งเป น ผลมาจากโครงการวิจั ย ขนาดใหญ ช่ื อ โครงการแมนฮั ต ตั น
  • 3. โครงสรางอะตอมและสมบัติทั่วไป 3 (Manhatton Project) โครงการวิจัยนี้เปนโครงการลับขั้นสูงสุดของสหรัฐอเมริกา กอตั้งใน ค.ศ. 1942 (แตไดมี การเริ่ม งานมากอ นหนานี้ อยางนอย 2-3 ป) วัตถุประสงคของโครงการนี้เพื่ อ สรางระเบิดปรมาณู ซึ่งตองมีการวิจัยในทุ กดานรวมทั้งทางดานเคมีเพื่อแยกธาตุยูเรเนียม ในการศึกษาวิจัยเหลานี้เกี่ยวโยงมาถึงธาตุแลนทาไนดดวย อาจกลาวไดวาความรูเกี่ยวกับธาตุ กลุมเอฟ ในปจจุบันสวนใหญเปนผลมาจากโครงการนี้ ที่กลาววาเปนโครงการขนาดใหญนั้น เนื่ องจากมีบุ คลากรไม น อยกวา 1 แสนคนที่ เกี่ยวของและในจํานวนนี้ เปน นั กวิท ยาศาสตร ชั้นนําที่ไดรับรางวัลโนเบลหลายคน มีมหาวิทยาลัยเกี่ยวของ 13 แหงและหนวยงานตางๆ อีก มากมาย รวมทั้งไดมีการกอตั้งสถานวิจัยแหงชาติลอส อลามอส (Los Alamos National Laboratory) ที่รัฐนิวเม็กซิโกดวย 1.1 ชื่อและที่มาของชื่อ ขอมูลทั่วไปของธาตุ 2 กลุมนี้แสดงในตาราง 1.1 ชื่อที่เขียนเปนภาษาไทยเปนชื่อที่ บัญญัติโดยราชบัณฑิตยสถาน และใชกันอยางเปนทางการในวงราชการและวิชาการ ตารางที่ 1.1 ขอมูลทั่วไปของธาตุกลุมแลนทาไนดกับแอกทิไนดและธาตุอ่ืนที่มีสมบัติทางเคมี คลายกัน ค.ศ. เลขอะตอม สัญลักษณ ชื่อธาตุ ผูคนพบ ที่พบ 21 Sc Scandium สแกนเดียม L.F. Nilson 1879 39 Y Yttrium อิตเทรียม C.G. Mosander 1843 57 La Lanthanum แลนทานัม C.G. Mosander 1839 58 Ce Cerium ซีเรียม C.G. Mosander 1839 59 Pr Praseodymium เพรซีโอดิเมียม C.A. von 1885 Welsbach 60 Nd Neodymium นีโอดิเมียม C.A. von 1885 Welsbach 61 Pm Promethium โพรมีเทียม J.A. Marinsky, 1947 I.E. Glendenin, C.D. Coryell
  • 4. 4 ธาตุกลุมเอฟ : แลนทาไนดและแอกทิไนด ตารางที่ 1.1 (ตอ) ค.ศ. เลขอะตอม สัญลักษณ ชื่อธาตุ ผูคนพบ ที่พบ 62 Sm Samarium ซาแมเรียม L. de Boisbaudran 1879 63 Eu Europium ยูโรเพียม E.A. Demarcay 1901 64 Gd Gadolinium แกโดลิเนียม J.C.G. de 1880 Marignac 65 Tb Terbium เทอรเบียม C.G. Mosander 1843 66 Dy Dysprosium ดีสโพรเซียม L. de Boisbaudran 1886 67 Ho Holmium โฮลเมียม P.T. Cleve 1879 68 Er Erbium เออรเบียม C.G. Mosander 1843 69 Tm Thulium ทูเลียม P.T. Cleve 1879 70 Yb Ytterbium อิตเทอรเบียม C.G. Mosander 1843 71 Lu Lutetium ลูทเชียม ี G. Urbain, 1907 C.A. von Welsbach, C. James 89 Ac Actinium แอกทิเนียม A. Debierne 1899 90 Th Thorium ทอเรียม J.J. Berzelius 1828 91 Pa Protoactinium โพรโทแอกทิเนียม (ไอโซโทป 234) 1913 (Protactinium ) (โพรแทกทิเนียม) K. Fajans, O. Gohring (ไอโซโทป 231) 1916 O. Hahn, L. Meitner, F. Soddy, J.A. Cranston 92 U Uranium ยูเรเนียม M.H. Klaproth 1789
  • 5. โครงสรางอะตอมและสมบัติทั่วไป 5 ตารางที่ 1.1 (ตอ) ค.ศ. เลขอะตอม สัญลักษณ ชื่อธาตุ ผูคนพบ ที่พบ 93 Np Neptunium เนปทูเนียม (ไอโซโทป 239) 1940 E.M. McMillan, P.H. Abelson 94 Pu Plutonium พลูโทเนียม G.T. Seaborg, 1940 E.M. McMillan, J.W. Kennedy A. Wahl 95 Am Americium อะเมริเซียม G.T. Seaborg, 1944 R.A. James, I.O. Morgan, A. Ghiorso 96 Cm Curium คูเรียม G.T. Seaborg, 1944 R.A. James, A. Ghiorso 97 Bk Berkelium เบอรคีเลียม S.G. Thompson, 1949 A. Ghiorso, G.T. Seaborg 98 Cf Californium แคลิฟอรเนียม S.G. Thompson, 1950 K. Street A. Ghiorso, G.T. Seaborg 99 Es Einsteinium ไอนสไตเนียม ผลงานรวมของ 1952 นักวิจัยที่ Berkeley, Los Alamos และ Argonne 100 Fm Fermium เฟอรเมียม ผลงานรวมของ นัก 1952 วิจัยที่ Berkeley, Los Alamos และ Argonne
  • 6. 6 ธาตุกลุมเอฟ : แลนทาไนดและแอกทิไนด ตารางที่ 1.1 (ตอ) ค.ศ. เลขอะตอม สัญลักษณ ชื่อธาตุ ผูคนพบ ที่พบ 101 Md Mendelevium เมนเดเลเวียม A. Ghiorso, 1955 B.H. Harvey, G.R. Choppin, S.G. Thompson, G.T. Seaborg 102 No Nobelium โนเบเลียม A. Ghiorso, 1958 T. Sikkeland, J.R. Walton, G.T. Seaborg 103 Lr Lawrencium ลอวเรนเซียม A. Ghiorso, T. 1961 Sikkeland, A.E. Larsch, R.M. Latimer ชื่อของธาตุเหลานี้บางก็มีรากศัพทมาจากภาษากรีก บางก็มาจากชื่อเมืองหรือสถานที่/ ประเทศที่เกี่ยวของ รวมทั้งชื่อนักวิทยาศาสตรที่โดดเดน ดังแสดงในตารางที่ 1.2 ตารางที่ 1.2 ที่มาของชื่อธาตุกลุมแลนทาไนดและแอกทิไนด ชื่อธาตุ ที่มาของชื่อ กลุมแลนทาไนด lanthanum จากคําวา lanthanein ในภาษากรีก แปลวา แฝงอยู, ซอนอยู, พบไดยาก (to lie hidden; to escape notice) cerium จากชื่อดาวเคราะหนอย Ceres ซึ่งถูกคนพบในเวลานั้น praseodymium จากคํา 2 คําในภาษากรีก คือ prasios ซึ่งแปลวา สีเขียว และ didymos ซึ่ง แปลวา ฝาแฝด, คูแฝด รวมกันจึงแปลวา คูแฝดสีเขียว (green twin) neodymium จากคํา 2 คําในภาษากรีก คือ neos ซึ่งแปลวา ใหม และ didymos ซึ่งแปล วา ฝาแฝด, คูแฝด รวมกันจึงแปลวา คูแฝดใหม (new twin) promethium จากชื่อ Prometheus ในเทพนิยาย เปนผูขโมยไฟจากสวรรคมาสูโลกมนุษย
  • 7. โครงสรางอะตอมและสมบัติทั่วไป 7 ตารางที่ 1.2 (ตอ) ชื่อธาตุ ที่มาของชื่อ samarium จากชื่อแรซามารสไกต (samarskite) ซึ่งมาจากชื่อของ Colonel M. Samarski ชาวรัสเซียผูเชี่ยวชาญทางดานเหมืองแร europium จากชื่อทวีป Europe gadolinium จากชื่อ Johan Gadolin ytterbium, yttrium, จากชื่อเมือง Ytterby (เมืองที่พบแรที่ทําใหเกิดการคนพบธาตุแลนทาไนด terbium, erbium ซึ่งมีกลาวถึงในบทที่ 2) ชื่อเมืองนี้นํามาตั้งชื่อธาตุไดถึง 4 ธาตุโดยการใช ชื่อเต็มและการตัดคําในสวนตางๆ ของชื่อ dysprosium จากคําวา dysprositos ในภาษากรีก แปลวา เขาถึงยาก (difficult to access) holmium จากชื่อเมือง Stockholm thulium จากชื่อ Thule ซึ่งเปนชื่อเกาของ Scandinavia, ดินแดนที่อยูเหนือสุด lutetium จากชื่อ Lutetia ซึ่งเปนชื่อเกาของปารีส scandium จากชื่อกลุมประเทศ Scandinavia กลุมแอกทิไนด actinium จากคําวา aktinos ในภาษากรีก แปลวา ลําแสง (beam, ray) thorium จากชื่อ Thor ซึ่งเปนเทพแหงสงครามของชาวสแกนดิเนเวีย protactinium จากคําวา protos ในภาษากรีก แปลวา แรก, กอน (first) americium จากชื่อประเทศสหรัฐอเมริกา curium จากชื่อ Marie Curie (ผูคนพบธาตุ Po และ Ra) berkelium จากชื่ อเมื อง Berkeley ในรั ฐ California ที่ ตั้ งของวิ ท ยาเขตหนึ่ งของมหา- วิทยาลัยแคลิฟอรเนีย ซึ่งมีการคนควาวิจัยทางนิวเคลียรฟสิกสและคนพบ ธาตุใหมในกลุมนี้หลายธาตุ californium จากชื่อรัฐ California einsteinium จากชื่อ Albert Einstein ผูคิดทฤษฎีสัมพัทธภาพและสมการ E= mc2 fermium จากชื่อ Enrico Fermi นักวิทยาศาสตรทางดานนิวเคลียรฟสิกสชาวอิตาลี ภายหลังยายมาอยูที่สหรัฐอเมริกา เปนผูสรางเตาปฏิกรณปรมาณูเครื่อง แรกของโลกและนําไปสูการสรางระเบิดปรมาณูที่ใชในสงครามโลกครั้งที่ 2 mendelevium จากชื่อ Dmitri Mendeleev (ผูคิดตารางธาตุ) lawrencium จากชื่อ Ernest O. Lawrence นักฟสิกสที่มหาวิทยาลัยแคลิฟอรเนีย (Berkeley) ผู ส ร างเครื่อ งไซโคลทรอน (cyclotron) ซึ่ งเป น เครื่อ งมื อ ที่ สํ า คั ญ ช วยให คนพบธาตุใหมๆ หลายธาตุ
  • 8. 8 ธาตุกลุมเอฟ : แลนทาไนดและแอกทิไนด 1.2 ออรบิทัล f ออร บิ ทั ล f ปรากฏครั้ งแรกในชั้ น พลั ง งาน n = 4 โดยมี ค า l = 3 ทํ า ให เกิ ด ชั้ น ย อ ย (subshell) 4f ซึ่ ง ประกอบด ว ย 7 ออร บิ ทั ล กํ า กั บ ด ว ยค า ml = +3, +2, +1, 0, -1, -2, -3 และใน ทํานองเดียวกันเมื่อ n = 5 ก็จะมีช้ันยอย 5f ซึ่งประกอบไปดวย 7 ออรบิทัลเชนกัน ธาตุในกลุม แลนทาไนด แ ละแอกทิ ไ นด มี ก ารเติ ม อิ เล็ ก ตรอนลงในออร บิ ทั ล 4f และ 5f ตามลํ า ดั บ f ออรบิทัลทั้ง 7 ออรบิทัลมีพลังงานเทากัน โดยทั่วไปจะใชสัญญลักษณ nlm แทนฟงกชันคลื่น ของแตละออรบิทัล ฟงกชันคลื่นแสดงในรูปของนิพจนทางคณิตศาสตรโดยใชตัวแปรเปน r, ,  (แทนการใช x, y, z) ปกติ ฟ งก ชัน คลื่น จะซั บ ซอ นมาก ดั งนั้ น จึงนิ ย มแยกเป น 2 สวน คื อ ส วนที่ แ ปรด วยค า r (ระยะห า งจากนิ วเคลี ย ส) อย า งเดี ย ว เรีย กวา ฟ งก ชั น คลื่ น เชิ ง รัศ มี (Radial wave function, R nl (r)) และอีกสวนซึ่งจะแปรตามคามุม ,  เรียกวา ฟงกชันคลื่น เชิงมุม (Angular wave function, Ylm (, ) ) ซึ่งอาจเขียนไดดังนี้  nlm = R nl (r) . Ylm (, ) สวนที่เปน R nl (r) เปนสวนที่กําหนดขนาดใหญเล็กของออรบิทัล สวนที่เปน Ylm (, ) จะเปนสวนที่กําหนดรูปรางของออรบิทัล สําหรับออรบิทัล 4f และ 5f นั้น มีรูปรางเหมือนกัน ดังนั้น จะมีสวนที่เปน Ylm (, ) เหมือนกัน แต 4f จะมีขนาดเล็กกวา 5f ซึ่งความตางตรงนี้มา จาก R nl (r) นั่นเอง การแสดง Ylm (, ) ของออรบิทัล f อาจแสดงได 2 แบบ เรียกวา ชุดทั่ว ไป (General set) และ ชุดคิวบิก (Cubic set) ทั้ง 2 แบบมีพลังงานเทากัน ใชแทนกันได การจะ ใชแบบใดขึ้นอยูกับลักษณะของปญหาแตละกรณี ฟงกชันคลื่นของ 2 ชุดมี 4 ฟงกชันที่ตางกัน สวนอีก 3 ฟงกชันจะเหมือนกัน (ฟงกชันคลื่นที่ชื่อ fx3, fy3, fy (z2-x2) fx (z2-y2) ในชุดคิวบิกไดจากการ นําฟงกชันคลื่นชื่อ fxz2, fyz2, fy (3x2-y2) fx (x2-3y2) ของชุดทั่วไปมารวมกันแบบผลรวมเชิงเสน (linear combination) นิพจนของฟงกชันคลื่นเชิงมุมในชุดทั่วไปและชุดคิวบิกรวมทั้งรูปรางแสดงในตา รางที่ 1.3 และ 1.4 และรูปที่ 1.1 ตามลําดับ
  • 9. โครงสรางอะตอมและสมบัติทั่วไป 9 ตารางที่ 1.3 ฟงกชันคลื่นเชิงมุมของชุดทั่วไป ออรบิทัล ฟงกชัน .5 cos   3 cos  fz 3 1 7 3  4  . sin .5 cos   1. cos  fxz2 1 42  2  8   . sin .5 cos   1. sin  fyz2 1 42  2  8   fz (x2-y2) 1 105  2  . sin . cos . cos 2 4   fxyz 1 105  2  . sin . cos . sin 2 4   fx (x2-3y2) 1 70  3  . sin . cos 3 8   fy (3x2-y2) 1 70  3  . sin . sin 3 8   ตารางที่ 1.4 ฟงกชันคลื่นเชิงมุมของชุดคิวบิก ออรบิทัล ฟงกชัน .5 cos   3 cos  fz 3 1 7 3  4  . sin . sin .5 cos . cos   3  f x3 1 7 2 2  4   . sin . sin .5 cos . sin   3 f y3 1 7 2 2  4  fxyz 1 105  2  . sin . cos . sin 2 4   fz (x2-y2) 1 105  2  . sin . cos . cos 2 4   . sin . cos .cos   sin . sin  fx (z2-y2) 1 105  2 2 2  4   . sin . sin .cos   sin . cos  fy (z2-x2) 1 105  2 2 2  4  
  • 10. 10 ธาตุกลุมเอฟ : แลนทาไนดและแอกทิไนด รูปที่ 1.1 แสดงรูปรางของฟงกชันคลื่นเชิงมุมของออรบิทัล f ของชุดทั่วไปและชุดคิวบิก [ดัดแปลงจาก Huheey, 1978] จากลักษณะและเครื่องหมายของฟงกชันคลื่นของ 4f ออรบิทัล (และ 5f ดวย) ในรูปที่ 1.2 จะเห็นวาในสวนของฟงกชันคลื่นเชิงมุมนี้มี 3 โหนด (node)1 (ในออรบิทัล d, p, s จะมี 2, 1, 0 โหนด ตามลํ า ดั บ ) และตํ าแหน งของเครื่ อ งหมาย +/- ที่ อ ยู ป ระจํ า แต ล ะโหลบ (lobe) นั้ น 1 ในฟงกชันคลื่นรวม (nlm) จะมีจํานวนโหนด = n-1 โดยแยกอยูในฟงกชันคลื่นเชิงรัศมีจํานวน = n-l-1 โหนดและอยูในฟงกชันคลื่นเชิงมุมจํานวน = l โหนด