SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 9
บรรจุภัณฑ์ผักและผลไม้
Fruit and vegetable
ตัวอย่างบรรจุภัณฑ์ผักและผลไม้
Fruit and vegetable
การเลือกบรรจุภัณฑ์ผักและผลไม้สดต้องพิจารณา ดังนี้
 สมบัติด้านการซึมผ่านของก๊าซ
 สมบัติด้านการซึมผ่านของไอน้า
 สมบัติเชิงกล (mechanical properties)
 สมบัติทนทานต่อน้า (water resistance)
 สมบัติทนทานต่ออุณหภูมิต่า
 ความยืดหยุ่นของขนาดและรูปร่าง
 ความโปร่งใส
 การส่งเสริมการตลาด
Fruit and vegetable
1. สมบัติด้านการซึมผ่านของก๊าซ
จะต้องยินยอมให้ก๊าซออกซิเจนและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
ซึมผ่านเข้าออกได้เหมาะสม
สอดคล้องกับอัตราการหายใจของพืชเพื่อป้องกันไม่ให้
ออกซิเจนภายในภาชนะบรรจุมีน้อยเกินไป
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่พืชคายออกมาจะต้องระบายออก
จากภาชนะบรรจุได้พอควร เพื่อป้องกันการสะสมจนกระทั่ง
ความเข้มข้นสูงเกินทาลายเซลล์ของพืชได้
Fruit and vegetable
2. สมบัติด้านการซึมผ่านของไอน้า
จะต้องยอมให้ไอน้าซึมผ่านได้อย่างเหมาะสม ทั้งนี้ขึ้นกับอัตราการ
หายใจ และการคายน้าของพืช
พืชที่หายใจเร็ว
 จะคายน้าออกมามาก
 ภาชนะบรรจุจะต้องยอมให้ไอน้าผ่านออกไปได้ดี
 เพื่อป้องกันการสะสมของไอน้าภายในภาชนะจนกระทั่งถึงจุดอิ่มตัว
และกลั่นเป็นหยดน้า ซึ่งจะทาให้พืชเน่าเสียได้เร็วขึ้น
พืชหายใจช้า
 ภาชนะบรรจุควรให้ไอน้าผ่านได้น้อย
 เพื่อป้องกันการเหี่ยวเฉาของพืช
Fruit and vegetable
3. สมบัติเชิงกล (mechanical properties)
จะต้องมีความแข็งแรงเพียงพอ และสามารถป้องกันแรง
กระทาจากภายนอก
ผักและผลไม้ที่มีเนื้ออ่อนและเกิดรอยช้าได้ง่าย เช่น องุ่น
สตรอเบอรี ผักใบชนิดต่างๆ ต้องการภาชนะบรรจุที่มีความ
แข็งแรงสูง
เช่น การบรรจุองุ่นสด 500 กรัมในถุงพลาสติกเจาะรู จะต้อง
เลือกพลาสติกที่มีความต้านทานแรงดึงขาดได้ดี
Fruit and vegetable
4. สมบัติทนทานต่อน้า (water resistance)
ภาชนะบรรจุผักและผลไม้สดมักต้องสัมผัสกับน้า
 เช่น น้าจากการกลั่นตัวของไอน้าในอากาศ
 น้าจากการฉีดหรือพรมรักษาความสด
 หากวัสดุนั้นดูดซับน้าได้ยังคงต้องมีความแข็งแรงพอสาหรับ
การใช้งาน
 โดยทั่วไปพลาสติกที่ใช้มักจะมีค่าการดูดซับน้าต่าจึงไม่มี
ปัญหา
 ถ้าเป็นกระดาษจะเคลือบหรือลามิเนตกระดาษและกล่อง
กระดาษด้วยพลาสติก
Fruit and vegetable
5. สมบัติทนทานต่ออุณหภูมิต่า
วัสดุและภาชนะบรรจุสาหรับผักและผลไม้สดจึงต้องทนทาน
อุณหภูมิต่าได้ดี
เช่น กระดาษเคลือบไข ต้องเลือกชนิดและความหนาแน่น
ของไขให้เหมาะสมที่อุณหภูมิต่าๆ ไขบางชนิดอาจแตกเป็น
ชิ้นเล็กๆ และหลุดออกมา
Fruit and vegetable
6. ความยืดหยุ่นของขนาดและรูปร่าง
เนื่องจากผักและผลไม้มีรูปร่างและขนาดไม่สม่าเสมอ
เลือกใช้วัสดุบรรจุจะต้องสามารถปรับขนาดและรูปร่างได้
พอสมควร
เช่น กล่องบรรจุสับปะรดทั้งผล
 ควรออกแบบให้มิติภายนอกคงที่เพื่อความสะดวกในการ
ขนส่งและการจัดการ
 แต่มิติภายในกล่องควรปรับเปลี่ยนได้พอควรเพื่อให้เหมาะสม
กับขนาดของสับปะรดแต่ละผลที่จะบรรจุ
Fruit and vegetable
7. ความโปร่งใส
ผู้บริโภคบริโภคส่วนใหญ่ต้องการมองเห็นและสัมผัสผักและ
ผลไม้สด
ควรมีการออกแบบที่ยอมให้สัมผัสหรือเลือกสินค้าได้บ้าง
แต่ควรมีขอบเขตจากัดด้วยเพื่อป้องกันความเสียหายที่เกิดจาก
การสัมผัส การจับ การบีบ การตกกระแทก และการลัก
ขโมย
Fruit and vegetable
8. การส่งเสริมการตลาด
ภาชนะบรรจุที่เลือกใช้นอกจากจะทาหน้าที่ด้านการเก็บรักษา
แล้ว
ควรส่งเสริมการจัดการและการตลาดด้วย
เช่น กล่องกระดาษหรือลังไม้ที่ใช้ขนส่งผลไม้ ควรออกแบบ
ทั้งโครงสร้างและกราฟิกให้สามารถใช้เป็นภาชนะสาหรับ
การจาหน่ายปลีกได้
Fruit and vegetable
วิธีการและภาชนะบรรจุ
การเลือกรูปแบบบรรจุภัณฑ์ตามชนิดของผักและผลไม้ ตามลักษณะ
โครงสร้างการและอัตราการหายใจ ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 5 กลุ่ม คือ
 1. ผลไม้เนื้ออ่อนนิ่ม (soft fruit)
• เช่น สตรอเบอรี่ องุ่น ข้าวโพดฝักอ่อน
• พืชในกลุ่มนี้จะเกิดรอยช้าง่าย ทาให้ถูกจุลินทรีย์ทาลายได้ง่ายขึ้น
• ควรใช้ภาชนะบรรจุที่มีโครงสร้างแข็งแรงคุ้มครองจากแรงกระทา
ภายนอกได้ดี
• นิยมบรรจุในถาดพลาสติกใสปิดด้วยฟิล์มหรือถาดพร้อมฝาปิด
จาเป็นต้องเจาะรูที่ฝาเพื่อช่วยระบายอากาศด้วย
• โดยฟิล์มยืดที่นิยมใช้คือ PVC และ PE
Fruit and vegetable
2. ผลไม้เนื้อแข็ง (hard fruit)
 เช่น ส้ม มะนาว มะเขือ มังคุด เงาะ
 กลุ่มนี้จะช้ายากกว่าพวกแรก
 มักมีอายุการเก็บนานกว่าด้วย
 นิยมบรรจุในถุงเจาะรู เช่น ถุง PE ถุงตาข่าย
 หากต้องการความสวยงามมากขึ้นจะใช้ถาดพลาสติกแล้วหุ้ม
ด้วยฟิล์มยืด PE หรือ PVC
Fruit and vegetable
3. พืชลาต้น (stem product)
 เช่น คึ่นฉ่าย คะน้า หอม กวางตุ้ง ผักชี เป็นต้น
 พืชเหล่านี้จะสูญเสียความชื้นง่าย เนื่องจากมีใบมาก
 จึงควรใช้ภาชนะที่ป้องกันการซึมผ่านของไอน้าค่อนข้างดี
 ควรเก็บในที่มีความชื้นสัมพัทธ์สูงๆ เช่น วางขายในตู้แช่ที่มี
การพ่นละอองน้าด้วย
 นิยมใช้ฟิล์มมาห่อผัก ฟิล์มที่นิยมใช้เช่น PE , PS และ PP
หรือใช้ถุงเจาะรูเพื่อระบายอากาศและไอน้า
Fruit and vegetable
4. พืชหัว (Root vegetable)
 เช่น มัน เผือก หัวผักกาด หอมหัวใหญ่ เป็นต้น
 พืชพวกนี้หายใจช้า โครงสร้างแข็งแรง จึงไม่จาเป็นต้องใช้
ภาชนะที่แข็งแรงมาก
 ก่อนการบรรจุควรล้างดินออกก่อน
 ภาชนะบรรจุที่นิยมใช้คือถุง PE ถุงตาข่าย ถุงกระดาษคราฟท์
กล่องกระดาษ ถุงพลาสติกถักสาหรับการบรรจุขนาดใหญ่
Fruit and vegetable
5. ผักใบเขียว (Green vegetable)
 เช่น กะหล่าปลี ผักกาดหอม บร็อคโคลี
 พืชเหล่านี้มักหายใจเร็ว สูญเสียความชื้นง่าย เกิดรอยช้าง่าย การบรรจุ
ค่อนข้างยาก
 กะหล่าปลีจะใช้ฟิล์มยืด PVC ห่อรัดเพื่อความสะดวกในการหยิบจับ
ป้องกันสิ่งสกปรก และลดการสูญเสียความชื้น
 ผักกาดหอมต้องการฟิล์มที่ระบายไอน้าได้พอควรเพื่อป้องกันหยดน้า
และการสูญเสียความชื้นด้วย
 นอกจากนี้ยังต้องการโครงสร้างที่ช่วยป้องกันรอยช้า จึงมักบรรจุใน
ถุงที่อัดอากาศเข้าไป เพื่อให้รับแรงกระแทก ซึ่งนิยมใช้ฟิล์ม PP
Fruit and vegetable
การใช้บรรยากาศควบคุมและบรรยากาศดัดแปลง
(Controlled และ modified atmosphere storage)
(CAS และ MAS)
Fruit and vegetable
สภาวะบรรยากาศปกติองค์ประกอบของบรรยากาศ
 ก๊าซออกซิเจน ร้อยละ 21
 ไนโตรเจน ร้อยละ 78
 ส่วนที่เหลือเป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และก๊าซอื่นๆ
 การชะลอการเสื่อมเสียของผักและผลไม้ทาได้โดยการปรับ
สภาวะบรรยากาศเพื่อให้อัตราการหายใจเกิดได้ช้าลง
 ลดปริมาณก๊าซออกซิเจนและเพิ่มปริมาณก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์
 แต่ที่ระดับที่ไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาที่ผิดปกติ
Fruit and vegetable
การดัดแปลงบรรยากาศในอุตสาหกรรมอาหารมี 2 ลักษณะ
 การปรับระดับO2และCO2เพื่อให้ความเข้มข้นโดยรวมของ
ก๊าซทั้งสองเท่ากับสัดส่วนของออกซิเจนในบรรยากาศ
ปกติคือ 21% วิธีนี้เหมาะกับ MAS และ CAS
 การลดความเข้มข้นโดยรวมของ O2และCO2 ลงเหลือ 4-
5% วิธีนี้เหมาะกับ CAS เท่านั้น
Fruit and vegetable
CAS จะใช้ในการเก็บผักผลไม้ในห้องเย็นที่มีขนาดใหญ่
หรือระหว่างการขนส่งในตู้คอนเทนเนอร์ ซึ่งใช้เวลาขนส่งนาน
การรักษาความเข้มข้นของก๊าซให้คงที่
 โดยการพ่นก๊าซที่ต้องการเข้าไปอย่างสม่าเสมอเพื่อควบคุมอากาศ
ภายในห้องเย็นที่เปลี่ยนแปลงเนื่องจากการหายใจของผักผลไม้
 เนื่องการ CAS มีต้นทุนสูงจึงนิยมใช้กับผักผลไม้ที่มีอายุการเก็บรักษา
นานเพื่อบริโภคตลอดปี เช่น แอปเปิ้ล แพร์ กีวี กระหล่าปลี เป็นต้น
1.3.1 การเก็บรักษาโดยการควบคุมบรรยากาศ
(controlled atmosphere storage)
Fruit and vegetable
1.3.1 การเก็บรักษาโดยการควบคุมบรรยากาศ
(controlled atmosphere storage)
ในระหว่างการเก็บรักษาจะถูกหมุนเวียนผ่านสารดูดซับ
คาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งบรรจุแคลเซียมไฮดรอกไซด์หรือ
ถ่านกัมมันต์(activated carbon)
เพื่อควบคุมความเข้มข้นของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในห้อง
เก็บ
ห้องเก็บรักษาจะรักษาความชื้นสัมพันธ์ที่ 90-95%
Fruit and vegetable
ข้อจากัดของ CAS ได้แก่
 ความเข้มข้นของ O2ต่าและCO2 ระดับสูงที่เพียงพอจะระงับการ
เจริญของเชื้อแบคทีเรียและราได้มักจะเป็นพิษต่ออาหารทั่วไป
 สภาวะ CAS อาจไปเพิ่มความเข้มข้นของเอทิลีนในบรรยากาศ
และเร่งการสุกหรือทาให้ลักษณะทางกายภาพของผลิตภัณฑ์
สูญเสียไป
 ความไม่สมดุลของสัดส่วนก๊าซอาจเปลี่ยนแปลงกิจกรรมทาง
ชีวเคมีของเนื้อเยื่อ ทาให้เกิดกลิ่นไม่ต้องการหรือกลิ่นหอม
เฉพาะตัวลดลง ให้เกิดการหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจน
Fruit and vegetable
 ผักและผลไม้ส่วนใหญ่มีจุดวิกฤตในการต้านทานออกซิเจนที่
ความเข้มข้นต่า และคาร์บอนไดออกไซด์ที่ความเข้มข้นสูง
 ผักและผลไม้แม้ว่าเป็นสายพันธุ์เดียวกันแต่การตอบสนองต่อ
องค์ประกอบของก๊าซในห้องเก็บแตกต่างกัน
 ค่าใช้จ่าย CAS สูงกว่าห้องเย็นปกติถึง 2 เท่า
Fruit and vegetable
การเก็บรักษาโดยการดัดแปลงบรรยากาศ
(modified atmosphere packaging)
MAP

More Related Content

Viewers also liked

Suspensao do pregao_presencial_1982013_2013-09-26_00_08_07
Suspensao do pregao_presencial_1982013_2013-09-26_00_08_07Suspensao do pregao_presencial_1982013_2013-09-26_00_08_07
Suspensao do pregao_presencial_1982013_2013-09-26_00_08_07
Resgate Cambuí
 
Geriatrics for bma1@11 oct2016 edited
Geriatrics for bma1@11 oct2016 editedGeriatrics for bma1@11 oct2016 edited
Geriatrics for bma1@11 oct2016 edited
Sukanya Jongsiri
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
Supaluk Juntap
 
EVRYTHNG - LPWAN Meetup #2
EVRYTHNG - LPWAN Meetup #2EVRYTHNG - LPWAN Meetup #2
EVRYTHNG - LPWAN Meetup #2
Digital Catapult
 
Romen dwellings
Romen dwellingsRomen dwellings
Romen dwellings
Nidhi Thigale
 
What is ‘research impact’ in an interconnected world?
What is ‘research impact’ in an interconnected world?What is ‘research impact’ in an interconnected world?
What is ‘research impact’ in an interconnected world?
Danny Kingsley
 
Ner horizons in MGNREGA implementation
Ner horizons in MGNREGA implementationNer horizons in MGNREGA implementation
Ner horizons in MGNREGA implementation
Dibyendu Sarkar, IAS
 
Rural Infrastructure Development Projects Under MGNREGA, Clean Village : A St...
Rural Infrastructure Development Projects Under MGNREGA, Clean Village : A St...Rural Infrastructure Development Projects Under MGNREGA, Clean Village : A St...
Rural Infrastructure Development Projects Under MGNREGA, Clean Village : A St...
'Denish Makvana'
 

Viewers also liked (9)

Suspensao do pregao_presencial_1982013_2013-09-26_00_08_07
Suspensao do pregao_presencial_1982013_2013-09-26_00_08_07Suspensao do pregao_presencial_1982013_2013-09-26_00_08_07
Suspensao do pregao_presencial_1982013_2013-09-26_00_08_07
 
Geriatrics for bma1@11 oct2016 edited
Geriatrics for bma1@11 oct2016 editedGeriatrics for bma1@11 oct2016 edited
Geriatrics for bma1@11 oct2016 edited
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
EVRYTHNG - LPWAN Meetup #2
EVRYTHNG - LPWAN Meetup #2EVRYTHNG - LPWAN Meetup #2
EVRYTHNG - LPWAN Meetup #2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Romen dwellings
Romen dwellingsRomen dwellings
Romen dwellings
 
What is ‘research impact’ in an interconnected world?
What is ‘research impact’ in an interconnected world?What is ‘research impact’ in an interconnected world?
What is ‘research impact’ in an interconnected world?
 
Ner horizons in MGNREGA implementation
Ner horizons in MGNREGA implementationNer horizons in MGNREGA implementation
Ner horizons in MGNREGA implementation
 
Rural Infrastructure Development Projects Under MGNREGA, Clean Village : A St...
Rural Infrastructure Development Projects Under MGNREGA, Clean Village : A St...Rural Infrastructure Development Projects Under MGNREGA, Clean Village : A St...
Rural Infrastructure Development Projects Under MGNREGA, Clean Village : A St...
 

Similar to 9

เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 9
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 9เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 9
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 9
Gawewat Dechaapinun
 
ใบความรู้เรื่อง การถนอมอาหาร
ใบความรู้เรื่อง  การถนอมอาหารใบความรู้เรื่อง  การถนอมอาหาร
ใบความรู้เรื่อง การถนอมอาหารDuangsuwun Lasadang
 
การบรรจุภัณฑ์ สำหรับผลิตภัณฑ์ทางการตลาด ปวส.
การบรรจุภัณฑ์ สำหรับผลิตภัณฑ์ทางการตลาด ปวส.การบรรจุภัณฑ์ สำหรับผลิตภัณฑ์ทางการตลาด ปวส.
การบรรจุภัณฑ์ สำหรับผลิตภัณฑ์ทางการตลาด ปวส.
pilaiporn1970
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมKaRn Tik Tok
 

Similar to 9 (6)

เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 9
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 9เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 9
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 9
 
ใบความรู้เรื่อง การถนอมอาหาร
ใบความรู้เรื่อง  การถนอมอาหารใบความรู้เรื่อง  การถนอมอาหาร
ใบความรู้เรื่อง การถนอมอาหาร
 
การบรรจุภัณฑ์ สำหรับผลิตภัณฑ์ทางการตลาด ปวส.
การบรรจุภัณฑ์ สำหรับผลิตภัณฑ์ทางการตลาด ปวส.การบรรจุภัณฑ์ สำหรับผลิตภัณฑ์ทางการตลาด ปวส.
การบรรจุภัณฑ์ สำหรับผลิตภัณฑ์ทางการตลาด ปวส.
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 

More from Gawewat Dechaapinun

เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
Gawewat Dechaapinun
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and control
Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classifications
Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Gawewat Dechaapinun
 

More from Gawewat Dechaapinun (20)

Chapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defectsChapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defects
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7
 
งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5
 
งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and control
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classifications
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
 

9

  • 3. Fruit and vegetable การเลือกบรรจุภัณฑ์ผักและผลไม้สดต้องพิจารณา ดังนี้  สมบัติด้านการซึมผ่านของก๊าซ  สมบัติด้านการซึมผ่านของไอน้า  สมบัติเชิงกล (mechanical properties)  สมบัติทนทานต่อน้า (water resistance)  สมบัติทนทานต่ออุณหภูมิต่า  ความยืดหยุ่นของขนาดและรูปร่าง  ความโปร่งใส  การส่งเสริมการตลาด
  • 4. Fruit and vegetable 1. สมบัติด้านการซึมผ่านของก๊าซ จะต้องยินยอมให้ก๊าซออกซิเจนและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึมผ่านเข้าออกได้เหมาะสม สอดคล้องกับอัตราการหายใจของพืชเพื่อป้องกันไม่ให้ ออกซิเจนภายในภาชนะบรรจุมีน้อยเกินไป ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่พืชคายออกมาจะต้องระบายออก จากภาชนะบรรจุได้พอควร เพื่อป้องกันการสะสมจนกระทั่ง ความเข้มข้นสูงเกินทาลายเซลล์ของพืชได้
  • 5. Fruit and vegetable 2. สมบัติด้านการซึมผ่านของไอน้า จะต้องยอมให้ไอน้าซึมผ่านได้อย่างเหมาะสม ทั้งนี้ขึ้นกับอัตราการ หายใจ และการคายน้าของพืช พืชที่หายใจเร็ว  จะคายน้าออกมามาก  ภาชนะบรรจุจะต้องยอมให้ไอน้าผ่านออกไปได้ดี  เพื่อป้องกันการสะสมของไอน้าภายในภาชนะจนกระทั่งถึงจุดอิ่มตัว และกลั่นเป็นหยดน้า ซึ่งจะทาให้พืชเน่าเสียได้เร็วขึ้น พืชหายใจช้า  ภาชนะบรรจุควรให้ไอน้าผ่านได้น้อย  เพื่อป้องกันการเหี่ยวเฉาของพืช
  • 6. Fruit and vegetable 3. สมบัติเชิงกล (mechanical properties) จะต้องมีความแข็งแรงเพียงพอ และสามารถป้องกันแรง กระทาจากภายนอก ผักและผลไม้ที่มีเนื้ออ่อนและเกิดรอยช้าได้ง่าย เช่น องุ่น สตรอเบอรี ผักใบชนิดต่างๆ ต้องการภาชนะบรรจุที่มีความ แข็งแรงสูง เช่น การบรรจุองุ่นสด 500 กรัมในถุงพลาสติกเจาะรู จะต้อง เลือกพลาสติกที่มีความต้านทานแรงดึงขาดได้ดี
  • 7. Fruit and vegetable 4. สมบัติทนทานต่อน้า (water resistance) ภาชนะบรรจุผักและผลไม้สดมักต้องสัมผัสกับน้า  เช่น น้าจากการกลั่นตัวของไอน้าในอากาศ  น้าจากการฉีดหรือพรมรักษาความสด  หากวัสดุนั้นดูดซับน้าได้ยังคงต้องมีความแข็งแรงพอสาหรับ การใช้งาน  โดยทั่วไปพลาสติกที่ใช้มักจะมีค่าการดูดซับน้าต่าจึงไม่มี ปัญหา  ถ้าเป็นกระดาษจะเคลือบหรือลามิเนตกระดาษและกล่อง กระดาษด้วยพลาสติก
  • 8. Fruit and vegetable 5. สมบัติทนทานต่ออุณหภูมิต่า วัสดุและภาชนะบรรจุสาหรับผักและผลไม้สดจึงต้องทนทาน อุณหภูมิต่าได้ดี เช่น กระดาษเคลือบไข ต้องเลือกชนิดและความหนาแน่น ของไขให้เหมาะสมที่อุณหภูมิต่าๆ ไขบางชนิดอาจแตกเป็น ชิ้นเล็กๆ และหลุดออกมา
  • 9. Fruit and vegetable 6. ความยืดหยุ่นของขนาดและรูปร่าง เนื่องจากผักและผลไม้มีรูปร่างและขนาดไม่สม่าเสมอ เลือกใช้วัสดุบรรจุจะต้องสามารถปรับขนาดและรูปร่างได้ พอสมควร เช่น กล่องบรรจุสับปะรดทั้งผล  ควรออกแบบให้มิติภายนอกคงที่เพื่อความสะดวกในการ ขนส่งและการจัดการ  แต่มิติภายในกล่องควรปรับเปลี่ยนได้พอควรเพื่อให้เหมาะสม กับขนาดของสับปะรดแต่ละผลที่จะบรรจุ
  • 10. Fruit and vegetable 7. ความโปร่งใส ผู้บริโภคบริโภคส่วนใหญ่ต้องการมองเห็นและสัมผัสผักและ ผลไม้สด ควรมีการออกแบบที่ยอมให้สัมผัสหรือเลือกสินค้าได้บ้าง แต่ควรมีขอบเขตจากัดด้วยเพื่อป้องกันความเสียหายที่เกิดจาก การสัมผัส การจับ การบีบ การตกกระแทก และการลัก ขโมย
  • 11. Fruit and vegetable 8. การส่งเสริมการตลาด ภาชนะบรรจุที่เลือกใช้นอกจากจะทาหน้าที่ด้านการเก็บรักษา แล้ว ควรส่งเสริมการจัดการและการตลาดด้วย เช่น กล่องกระดาษหรือลังไม้ที่ใช้ขนส่งผลไม้ ควรออกแบบ ทั้งโครงสร้างและกราฟิกให้สามารถใช้เป็นภาชนะสาหรับ การจาหน่ายปลีกได้
  • 12. Fruit and vegetable วิธีการและภาชนะบรรจุ การเลือกรูปแบบบรรจุภัณฑ์ตามชนิดของผักและผลไม้ ตามลักษณะ โครงสร้างการและอัตราการหายใจ ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 5 กลุ่ม คือ  1. ผลไม้เนื้ออ่อนนิ่ม (soft fruit) • เช่น สตรอเบอรี่ องุ่น ข้าวโพดฝักอ่อน • พืชในกลุ่มนี้จะเกิดรอยช้าง่าย ทาให้ถูกจุลินทรีย์ทาลายได้ง่ายขึ้น • ควรใช้ภาชนะบรรจุที่มีโครงสร้างแข็งแรงคุ้มครองจากแรงกระทา ภายนอกได้ดี • นิยมบรรจุในถาดพลาสติกใสปิดด้วยฟิล์มหรือถาดพร้อมฝาปิด จาเป็นต้องเจาะรูที่ฝาเพื่อช่วยระบายอากาศด้วย • โดยฟิล์มยืดที่นิยมใช้คือ PVC และ PE
  • 13. Fruit and vegetable 2. ผลไม้เนื้อแข็ง (hard fruit)  เช่น ส้ม มะนาว มะเขือ มังคุด เงาะ  กลุ่มนี้จะช้ายากกว่าพวกแรก  มักมีอายุการเก็บนานกว่าด้วย  นิยมบรรจุในถุงเจาะรู เช่น ถุง PE ถุงตาข่าย  หากต้องการความสวยงามมากขึ้นจะใช้ถาดพลาสติกแล้วหุ้ม ด้วยฟิล์มยืด PE หรือ PVC
  • 14. Fruit and vegetable 3. พืชลาต้น (stem product)  เช่น คึ่นฉ่าย คะน้า หอม กวางตุ้ง ผักชี เป็นต้น  พืชเหล่านี้จะสูญเสียความชื้นง่าย เนื่องจากมีใบมาก  จึงควรใช้ภาชนะที่ป้องกันการซึมผ่านของไอน้าค่อนข้างดี  ควรเก็บในที่มีความชื้นสัมพัทธ์สูงๆ เช่น วางขายในตู้แช่ที่มี การพ่นละอองน้าด้วย  นิยมใช้ฟิล์มมาห่อผัก ฟิล์มที่นิยมใช้เช่น PE , PS และ PP หรือใช้ถุงเจาะรูเพื่อระบายอากาศและไอน้า
  • 15. Fruit and vegetable 4. พืชหัว (Root vegetable)  เช่น มัน เผือก หัวผักกาด หอมหัวใหญ่ เป็นต้น  พืชพวกนี้หายใจช้า โครงสร้างแข็งแรง จึงไม่จาเป็นต้องใช้ ภาชนะที่แข็งแรงมาก  ก่อนการบรรจุควรล้างดินออกก่อน  ภาชนะบรรจุที่นิยมใช้คือถุง PE ถุงตาข่าย ถุงกระดาษคราฟท์ กล่องกระดาษ ถุงพลาสติกถักสาหรับการบรรจุขนาดใหญ่
  • 16. Fruit and vegetable 5. ผักใบเขียว (Green vegetable)  เช่น กะหล่าปลี ผักกาดหอม บร็อคโคลี  พืชเหล่านี้มักหายใจเร็ว สูญเสียความชื้นง่าย เกิดรอยช้าง่าย การบรรจุ ค่อนข้างยาก  กะหล่าปลีจะใช้ฟิล์มยืด PVC ห่อรัดเพื่อความสะดวกในการหยิบจับ ป้องกันสิ่งสกปรก และลดการสูญเสียความชื้น  ผักกาดหอมต้องการฟิล์มที่ระบายไอน้าได้พอควรเพื่อป้องกันหยดน้า และการสูญเสียความชื้นด้วย  นอกจากนี้ยังต้องการโครงสร้างที่ช่วยป้องกันรอยช้า จึงมักบรรจุใน ถุงที่อัดอากาศเข้าไป เพื่อให้รับแรงกระแทก ซึ่งนิยมใช้ฟิล์ม PP
  • 18. Fruit and vegetable สภาวะบรรยากาศปกติองค์ประกอบของบรรยากาศ  ก๊าซออกซิเจน ร้อยละ 21  ไนโตรเจน ร้อยละ 78  ส่วนที่เหลือเป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และก๊าซอื่นๆ  การชะลอการเสื่อมเสียของผักและผลไม้ทาได้โดยการปรับ สภาวะบรรยากาศเพื่อให้อัตราการหายใจเกิดได้ช้าลง  ลดปริมาณก๊าซออกซิเจนและเพิ่มปริมาณก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์  แต่ที่ระดับที่ไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาที่ผิดปกติ
  • 19. Fruit and vegetable การดัดแปลงบรรยากาศในอุตสาหกรรมอาหารมี 2 ลักษณะ  การปรับระดับO2และCO2เพื่อให้ความเข้มข้นโดยรวมของ ก๊าซทั้งสองเท่ากับสัดส่วนของออกซิเจนในบรรยากาศ ปกติคือ 21% วิธีนี้เหมาะกับ MAS และ CAS  การลดความเข้มข้นโดยรวมของ O2และCO2 ลงเหลือ 4- 5% วิธีนี้เหมาะกับ CAS เท่านั้น
  • 20. Fruit and vegetable CAS จะใช้ในการเก็บผักผลไม้ในห้องเย็นที่มีขนาดใหญ่ หรือระหว่างการขนส่งในตู้คอนเทนเนอร์ ซึ่งใช้เวลาขนส่งนาน การรักษาความเข้มข้นของก๊าซให้คงที่  โดยการพ่นก๊าซที่ต้องการเข้าไปอย่างสม่าเสมอเพื่อควบคุมอากาศ ภายในห้องเย็นที่เปลี่ยนแปลงเนื่องจากการหายใจของผักผลไม้  เนื่องการ CAS มีต้นทุนสูงจึงนิยมใช้กับผักผลไม้ที่มีอายุการเก็บรักษา นานเพื่อบริโภคตลอดปี เช่น แอปเปิ้ล แพร์ กีวี กระหล่าปลี เป็นต้น 1.3.1 การเก็บรักษาโดยการควบคุมบรรยากาศ (controlled atmosphere storage)
  • 21. Fruit and vegetable 1.3.1 การเก็บรักษาโดยการควบคุมบรรยากาศ (controlled atmosphere storage) ในระหว่างการเก็บรักษาจะถูกหมุนเวียนผ่านสารดูดซับ คาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งบรรจุแคลเซียมไฮดรอกไซด์หรือ ถ่านกัมมันต์(activated carbon) เพื่อควบคุมความเข้มข้นของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในห้อง เก็บ ห้องเก็บรักษาจะรักษาความชื้นสัมพันธ์ที่ 90-95%
  • 22. Fruit and vegetable ข้อจากัดของ CAS ได้แก่  ความเข้มข้นของ O2ต่าและCO2 ระดับสูงที่เพียงพอจะระงับการ เจริญของเชื้อแบคทีเรียและราได้มักจะเป็นพิษต่ออาหารทั่วไป  สภาวะ CAS อาจไปเพิ่มความเข้มข้นของเอทิลีนในบรรยากาศ และเร่งการสุกหรือทาให้ลักษณะทางกายภาพของผลิตภัณฑ์ สูญเสียไป  ความไม่สมดุลของสัดส่วนก๊าซอาจเปลี่ยนแปลงกิจกรรมทาง ชีวเคมีของเนื้อเยื่อ ทาให้เกิดกลิ่นไม่ต้องการหรือกลิ่นหอม เฉพาะตัวลดลง ให้เกิดการหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจน
  • 23. Fruit and vegetable  ผักและผลไม้ส่วนใหญ่มีจุดวิกฤตในการต้านทานออกซิเจนที่ ความเข้มข้นต่า และคาร์บอนไดออกไซด์ที่ความเข้มข้นสูง  ผักและผลไม้แม้ว่าเป็นสายพันธุ์เดียวกันแต่การตอบสนองต่อ องค์ประกอบของก๊าซในห้องเก็บแตกต่างกัน  ค่าใช้จ่าย CAS สูงกว่าห้องเย็นปกติถึง 2 เท่า