SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 5
การค้นหาข้อมูลบนเครือข่าย Internet
ความหมายของการค้นหาข้อมูล
อินเทอร์เน็ตถือว่าเป็นแหล่งข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ เก็บรวบรวมความรู้ต่างๆไว้ให้ผู้ที่
ต้องการได้เข้ามาค้นหาข้อมูลเพื่อนาไปประกอบในการปฏิบัติงานในด้านต่างๆ และนาไปใช้ใน
ชีวิตประจาวัน
ข้อมูล(Data)ที่เก็บรวบรวมไว้ในระบบอินเทอร์เน็ตนั้นก็เป็นข้อมูลที่ใช้คนอื่นๆ
นาไปเก็บรวบรวมไว้เพื่อให้ต้องการได้เข้ามาค้นหาหรือเพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
ความคิดเห็นของแต่ละบุคคลว่าในเรื่องนี้แต่ละคนมีความเห็นอย่างไรบ้างซึ่งก็ถือว่าเป็น
ประโยชน์ทั้งผู้ที่ให้ข้อมูลและผู้ที่ค้นหาข้อมูล เมื่อได้มีการนาข้อมูลดังกล่าวไปใช้งานจนประสบ
ผลสาเร็จ หรืออาจจะเป็นการนาข้อมูลดังกล่าวไปทาการพัฒนาให้มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น
2. การสืบค้นสารสนเทศโดยใช้ Search Engines
การที่ Web Siteเก็บข้อมูลไม่เป็นระเบียบ ประกอบด้วยที่ World Wide Webและ
Internetมีข้อมูลจานวนมากในทุกหัวข้อเรื่อง จึงมีการจัดให้Web Siteบางแห่งทาหน้าที่ค้นหา
ข้อมูลเพื่ออานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้Internetให้ค้นพบรายละเอียดที่ต้องการได้ง่าย สะดวก
รวดเร็วWebSiteที่ทาหน้าที่ค้นข้อมูลมี2ประเภท คือ แบบที่เป็นSearch Enginesและแบบ
Directory Assistance Search Enginesเป็นโปรแกรมทาหน้าที่ค้นรายละเอียดบนWorldWide
WebและInternet SearchEnginesจะทาหน้าที่ค้นรายละเอียดทั้งที่อยู่บนwww.ที่FTP.ที่Gopher
Serversการใช้Search Enginesมีประโยชน์ในกรณีที่เราต้องการค้นเรื่องเฉพาะเจาะจงถ้าใช้
โปรแกรมที่เป็นDirectory Assistanceค้นจะไม่ค่อยได้ผลตามความต้องการ
3. ประเภทของการค้นหาข้อมูล
*การค้นหาข้อมูลแบ่งออกเป็น2ประเภท ดังนี้*
1.Search Engineเป็นเว็บไซต์ค้นหาข้อมูลที่ใช้โปรแกรมอัตโนมัติในการค้นหา
รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเว็บไซต์ต่างๆโดยละเอียด เหมาะกับการหาข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจง
2.Search Directoryเป็นเว็บไซต์ค้นหาข้อมูลโดยจัดเป็นหมวดหมู่ที่เหมาะสม หรือค่าที่
ต้องการค้นหาแบบกว้างๆ
4. หลักการค้นหาข้อมูลของSearch Engine
สาหรับหลักการค้นหาข้อมูลของSearch Engineแต่ละตัวจะมีลักษณะที่แตกต่างกัน
ออกไป ขึ้นอยู่กับว่าทางศูนย์บริการต้องการจะเก็บข้อมูลแบบไหนแต่โดยส่วนใหญ่แล้วจะมี
กลไกในการค้นหาที่ใกล้เคียงกัน หากจะแตกต่างก็คงเป็นเรื่องประสิทธิภาพเสียมากกว่า ว่าจะมี
ข้อมูลเก็บรวบรวมไว้อยู่ในฐานข้อมูลมากน้อยขนาดไหน และพอจะนาเอาออกมาบริการให้กับ
ผู้ใช้ได้ตรงตามความต้องการหรือเปล่า
5. ข้อแตกต่างระหว่าง IndexและSearch Engine
คือวิธีในการข้อนหาข้อมูลแบบIndexจะใช้คนเป็นผู้จัดรวบรวมและทาระบบ
ฐานข้อมูลขึ้นมา ส่วนแบบSearch Engineนั้นระบบฐานข้อมูลของมันจะได้รับการจัดสร้าง
โดยใช้ Softwareที่มีหน้าที่เกี่ยวกับงานทางด้านนี้โดยเฉพาะมาเป็นตัวควบคุมและจัดการ ซึ่ง
เจ้าSoftwareตัวนี้จะมีชื่อเรียกว่า Spiders การทางานของมันจะใช้วิธีการเดินลัดเลาะไปตาม
เครือข่ายต่างๆที่เชื่อมโยงถึงตั้งอยู่เต็มไปหมดในInternetเพื่อค้นหาเว็บไซต์ที่เกิดขึ้นมา
ใหม่ๆ รวมทั้งยังสามารถตรวจสอบหาความเปลี่ยนแปลงของข้อมูลในไซต์เดิมที่มีอยู่ว่าที่ใด
ถูกอัพเดตแล้วบ้าง จากนั้นมันก็จะนาเอาข้อมูลทั้งหมดที่สารวจเข้ามา ได้เก็บใส่เข้าไปใน
ฐานข้อมูลของตนอัตโนมัติ ยกตัวอย่างของผู้ให้บริการประเภทนี้เช่นExcite,googleเป็นต้น
6. หลักพื้นฐานในการค้นหาข้อมูลด้วยGoogle
โดยการค้นหาข้อมูลด้วย Search Engine ที่ได้รับความนิยมจากผู้เข้าใช้งานอินเทอร์เน็ต
มากที่สุดในขณะนี้คือwww.google.co.thที่สามารถจะค้นหาข้อมูลได้ทั้งที่เป็นแบบข้อความอ้างอิง
ในเว็บไซต์และรูปแบบที่เป็นรูปภาพ
การค้นหาข้อมูลด้วยGoogleนั้นทาได้ไม่ยาก เพียงแค่พิมพ์หัวข้อค้นหา(ซึ่งเป็นคาหรือ
วลีที่อธิบายข้อมูลที่คุณต้องการค้นหาได้ดีที่สุด) ในกล่องข้อความ จากนั้นกดปุ่มEnterหรือคลิกที่
ปุ่มGoogleSearch
จากนั้นGoogleก็จะคืนผลลัพธ์เป็นรายการของหน้าเว็บที่มีข้อมูลเกี่ยวข้องที่ชัดเจนที่สุด
จะปรากฏออกมาเป็นลาดับแรก
7. การตั้งค่าการใช้งานให้กับGoogle
*กาหนดให้Googleคลิกลิงค์เป็นหน้าเว็บเพจใหม่*
โดยปกติแล้ว เมื่อคลิกที่เว็บไซต์ที่ค้นหาด้วยGoogleการลิงค์เว็บไซต์ที่เลือกจะโชว์เว็บเพจ
ใหม่ทับเว็บเพจตัวเดิม ซึ่งบางครั้งทาให้ความยุ่งยากในการค้นหาเมื่อต้องการที่จะย้อนกลับไปกลับมา
เพื่อดูเว็บไซต์ตัวอื่นๆที่Googleค้นหาเจอ โดยวิธีที่จะแก้ไขปัญหาดังกล่าวให้ตั้งGoogleแสดงหน้าเว็บ
เพจใหม่เมื่อทาการคลิกลิงค์ตามขั้นตอนดังนี้
1.เปิดโปรแกรมInternet Explorer(IE)โดยดับเบิ้ลคลิกที่ไอคอนเพื่อทาการเปิดโปรแกรม
ขึ้นมาใช้งาน
2.พิมพ์www.google.co.thในช่องAddress
3.คลิกเลือกที่ลิงค์การตั้งค่า
4.จะเข้าสู่หน้าต่างการตั้งค่า

More Related Content

What's hot

บทที่ 2 การจัดการข้อมูล
บทที่ 2 การจัดการข้อมูลบทที่ 2 การจัดการข้อมูล
บทที่ 2 การจัดการข้อมูล
Wanphen Wirojcharoenwong
 
แก้ น้ำเพชร 51040928
แก้  น้ำเพชร 51040928แก้  น้ำเพชร 51040928
แก้ น้ำเพชร 51040928Nampech Plangsantia
 
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Wanphen Wirojcharoenwong
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลปิยะดนัย วิเคียน
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5miwmilk
 
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลงานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลchanoot29
 
work3
work3 work3
work3
babyykw
 
Slide Chapter1
Slide Chapter1Slide Chapter1
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ssuseraa96d2
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2Hitsuji12
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลABELE Snvip
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ตบริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ตpookkiearnada
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 

What's hot (17)

บทที่ 2 การจัดการข้อมูล
บทที่ 2 การจัดการข้อมูลบทที่ 2 การจัดการข้อมูล
บทที่ 2 การจัดการข้อมูล
 
แก้ น้ำเพชร 51040928
แก้  น้ำเพชร 51040928แก้  น้ำเพชร 51040928
แก้ น้ำเพชร 51040928
 
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
 
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลงานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
work3
work3 work3
work3
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
Slide Chapter1
Slide Chapter1Slide Chapter1
Slide Chapter1
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ตบริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 

Similar to งานนำเสนอบทที่5

งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1aekanyarat
 
งานนำเสนอบทที่1.
งานนำเสนอบทที่1.งานนำเสนอบทที่1.
งานนำเสนอบทที่1.
aekanyarat
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 2เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 2
Nuttapoom Tossanut
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChalita Vitamilkz
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
Naruephon
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
Weerachat Martluplao
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
Weerachat Martluplao
 
ตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
rubtumproject.com
 
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศกระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
supimon1956
 
ตัวอย่างบทที่ 1 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 1 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 1 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 1 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
rubtumproject.com
 
การบริการบนอินเตอร์เน็ต
การบริการบนอินเตอร์เน็ตการบริการบนอินเตอร์เน็ต
การบริการบนอินเตอร์เน็ตJitty Charming
 
ประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้นประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้น
เทวัญ ภูพานทอง
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศchushi1991
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2airly2011
 
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศสาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศKaii Eiei
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
การค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตKanokkorn Harsuk
 
กระบวนการและระบบการจัดการความรู้ KM systems and processes
กระบวนการและระบบการจัดการความรู้ KM systems and processesกระบวนการและระบบการจัดการความรู้ KM systems and processes
กระบวนการและระบบการจัดการความรู้ KM systems and processes
maruay songtanin
 

Similar to งานนำเสนอบทที่5 (20)

งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1
 
งานนำเสนอบทที่1.
งานนำเสนอบทที่1.งานนำเสนอบทที่1.
งานนำเสนอบทที่1.
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 2เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
 
ตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
 
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศกระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
 
ตัวอย่างบทที่ 1 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 1 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 1 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 1 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
 
การบริการบนอินเตอร์เน็ต
การบริการบนอินเตอร์เน็ตการบริการบนอินเตอร์เน็ต
การบริการบนอินเตอร์เน็ต
 
ประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้นประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้น
 
2
22
2
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศสาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ทบทวนความรู้เดิม
ทบทวนความรู้เดิมทบทวนความรู้เดิม
ทบทวนความรู้เดิม
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
การค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
 
กระบวนการและระบบการจัดการความรู้ KM systems and processes
กระบวนการและระบบการจัดการความรู้ KM systems and processesกระบวนการและระบบการจัดการความรู้ KM systems and processes
กระบวนการและระบบการจัดการความรู้ KM systems and processes
 

More from aekanyarat

งานนำเสนอบทที่ 10
งานนำเสนอบทที่ 10งานนำเสนอบทที่ 10
งานนำเสนอบทที่ 10aekanyarat
 
งานนำเสนอบทที่ 9
งานนำเสนอบทที่ 9งานนำเสนอบทที่ 9
งานนำเสนอบทที่ 9aekanyarat
 
งานนำเสนอบทที่ 8
งานนำเสนอบทที่ 8งานนำเสนอบทที่ 8
งานนำเสนอบทที่ 8aekanyarat
 
งานนำเสนอบทที่ 7
งานนำเสนอบทที่ 7งานนำเสนอบทที่ 7
งานนำเสนอบทที่ 7aekanyarat
 
งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3aekanyarat
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2aekanyarat
 
งานนำเสนอบทที่ 8
งานนำเสนอบทที่ 8งานนำเสนอบทที่ 8
งานนำเสนอบทที่ 8aekanyarat
 
งานนำเสนอบทที่ 10
งานนำเสนอบทที่ 10งานนำเสนอบทที่ 10
งานนำเสนอบทที่ 10aekanyarat
 
งานนำเสนอบทที่ 9
งานนำเสนอบทที่ 9งานนำเสนอบทที่ 9
งานนำเสนอบทที่ 9aekanyarat
 
งานนำเสนอบทที่ 7
งานนำเสนอบทที่ 7งานนำเสนอบทที่ 7
งานนำเสนอบทที่ 7aekanyarat
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6
aekanyarat
 
งานนำเสนอบทที่4
งานนำเสนอบทที่4งานนำเสนอบทที่4
งานนำเสนอบทที่4
aekanyarat
 
งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3
aekanyarat
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2
aekanyarat
 

More from aekanyarat (14)

งานนำเสนอบทที่ 10
งานนำเสนอบทที่ 10งานนำเสนอบทที่ 10
งานนำเสนอบทที่ 10
 
งานนำเสนอบทที่ 9
งานนำเสนอบทที่ 9งานนำเสนอบทที่ 9
งานนำเสนอบทที่ 9
 
งานนำเสนอบทที่ 8
งานนำเสนอบทที่ 8งานนำเสนอบทที่ 8
งานนำเสนอบทที่ 8
 
งานนำเสนอบทที่ 7
งานนำเสนอบทที่ 7งานนำเสนอบทที่ 7
งานนำเสนอบทที่ 7
 
งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2
 
งานนำเสนอบทที่ 8
งานนำเสนอบทที่ 8งานนำเสนอบทที่ 8
งานนำเสนอบทที่ 8
 
งานนำเสนอบทที่ 10
งานนำเสนอบทที่ 10งานนำเสนอบทที่ 10
งานนำเสนอบทที่ 10
 
งานนำเสนอบทที่ 9
งานนำเสนอบทที่ 9งานนำเสนอบทที่ 9
งานนำเสนอบทที่ 9
 
งานนำเสนอบทที่ 7
งานนำเสนอบทที่ 7งานนำเสนอบทที่ 7
งานนำเสนอบทที่ 7
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6
 
งานนำเสนอบทที่4
งานนำเสนอบทที่4งานนำเสนอบทที่4
งานนำเสนอบทที่4
 
งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2
 

งานนำเสนอบทที่5

  • 1. บทที่ 5 การค้นหาข้อมูลบนเครือข่าย Internet ความหมายของการค้นหาข้อมูล อินเทอร์เน็ตถือว่าเป็นแหล่งข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ เก็บรวบรวมความรู้ต่างๆไว้ให้ผู้ที่ ต้องการได้เข้ามาค้นหาข้อมูลเพื่อนาไปประกอบในการปฏิบัติงานในด้านต่างๆ และนาไปใช้ใน ชีวิตประจาวัน ข้อมูล(Data)ที่เก็บรวบรวมไว้ในระบบอินเทอร์เน็ตนั้นก็เป็นข้อมูลที่ใช้คนอื่นๆ นาไปเก็บรวบรวมไว้เพื่อให้ต้องการได้เข้ามาค้นหาหรือเพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ความคิดเห็นของแต่ละบุคคลว่าในเรื่องนี้แต่ละคนมีความเห็นอย่างไรบ้างซึ่งก็ถือว่าเป็น ประโยชน์ทั้งผู้ที่ให้ข้อมูลและผู้ที่ค้นหาข้อมูล เมื่อได้มีการนาข้อมูลดังกล่าวไปใช้งานจนประสบ ผลสาเร็จ หรืออาจจะเป็นการนาข้อมูลดังกล่าวไปทาการพัฒนาให้มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น
  • 2. 2. การสืบค้นสารสนเทศโดยใช้ Search Engines การที่ Web Siteเก็บข้อมูลไม่เป็นระเบียบ ประกอบด้วยที่ World Wide Webและ Internetมีข้อมูลจานวนมากในทุกหัวข้อเรื่อง จึงมีการจัดให้Web Siteบางแห่งทาหน้าที่ค้นหา ข้อมูลเพื่ออานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้Internetให้ค้นพบรายละเอียดที่ต้องการได้ง่าย สะดวก รวดเร็วWebSiteที่ทาหน้าที่ค้นข้อมูลมี2ประเภท คือ แบบที่เป็นSearch Enginesและแบบ Directory Assistance Search Enginesเป็นโปรแกรมทาหน้าที่ค้นรายละเอียดบนWorldWide WebและInternet SearchEnginesจะทาหน้าที่ค้นรายละเอียดทั้งที่อยู่บนwww.ที่FTP.ที่Gopher Serversการใช้Search Enginesมีประโยชน์ในกรณีที่เราต้องการค้นเรื่องเฉพาะเจาะจงถ้าใช้ โปรแกรมที่เป็นDirectory Assistanceค้นจะไม่ค่อยได้ผลตามความต้องการ
  • 3. 3. ประเภทของการค้นหาข้อมูล *การค้นหาข้อมูลแบ่งออกเป็น2ประเภท ดังนี้* 1.Search Engineเป็นเว็บไซต์ค้นหาข้อมูลที่ใช้โปรแกรมอัตโนมัติในการค้นหา รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเว็บไซต์ต่างๆโดยละเอียด เหมาะกับการหาข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจง 2.Search Directoryเป็นเว็บไซต์ค้นหาข้อมูลโดยจัดเป็นหมวดหมู่ที่เหมาะสม หรือค่าที่ ต้องการค้นหาแบบกว้างๆ 4. หลักการค้นหาข้อมูลของSearch Engine สาหรับหลักการค้นหาข้อมูลของSearch Engineแต่ละตัวจะมีลักษณะที่แตกต่างกัน ออกไป ขึ้นอยู่กับว่าทางศูนย์บริการต้องการจะเก็บข้อมูลแบบไหนแต่โดยส่วนใหญ่แล้วจะมี กลไกในการค้นหาที่ใกล้เคียงกัน หากจะแตกต่างก็คงเป็นเรื่องประสิทธิภาพเสียมากกว่า ว่าจะมี ข้อมูลเก็บรวบรวมไว้อยู่ในฐานข้อมูลมากน้อยขนาดไหน และพอจะนาเอาออกมาบริการให้กับ ผู้ใช้ได้ตรงตามความต้องการหรือเปล่า
  • 4. 5. ข้อแตกต่างระหว่าง IndexและSearch Engine คือวิธีในการข้อนหาข้อมูลแบบIndexจะใช้คนเป็นผู้จัดรวบรวมและทาระบบ ฐานข้อมูลขึ้นมา ส่วนแบบSearch Engineนั้นระบบฐานข้อมูลของมันจะได้รับการจัดสร้าง โดยใช้ Softwareที่มีหน้าที่เกี่ยวกับงานทางด้านนี้โดยเฉพาะมาเป็นตัวควบคุมและจัดการ ซึ่ง เจ้าSoftwareตัวนี้จะมีชื่อเรียกว่า Spiders การทางานของมันจะใช้วิธีการเดินลัดเลาะไปตาม เครือข่ายต่างๆที่เชื่อมโยงถึงตั้งอยู่เต็มไปหมดในInternetเพื่อค้นหาเว็บไซต์ที่เกิดขึ้นมา ใหม่ๆ รวมทั้งยังสามารถตรวจสอบหาความเปลี่ยนแปลงของข้อมูลในไซต์เดิมที่มีอยู่ว่าที่ใด ถูกอัพเดตแล้วบ้าง จากนั้นมันก็จะนาเอาข้อมูลทั้งหมดที่สารวจเข้ามา ได้เก็บใส่เข้าไปใน ฐานข้อมูลของตนอัตโนมัติ ยกตัวอย่างของผู้ให้บริการประเภทนี้เช่นExcite,googleเป็นต้น
  • 5. 6. หลักพื้นฐานในการค้นหาข้อมูลด้วยGoogle โดยการค้นหาข้อมูลด้วย Search Engine ที่ได้รับความนิยมจากผู้เข้าใช้งานอินเทอร์เน็ต มากที่สุดในขณะนี้คือwww.google.co.thที่สามารถจะค้นหาข้อมูลได้ทั้งที่เป็นแบบข้อความอ้างอิง ในเว็บไซต์และรูปแบบที่เป็นรูปภาพ การค้นหาข้อมูลด้วยGoogleนั้นทาได้ไม่ยาก เพียงแค่พิมพ์หัวข้อค้นหา(ซึ่งเป็นคาหรือ วลีที่อธิบายข้อมูลที่คุณต้องการค้นหาได้ดีที่สุด) ในกล่องข้อความ จากนั้นกดปุ่มEnterหรือคลิกที่ ปุ่มGoogleSearch จากนั้นGoogleก็จะคืนผลลัพธ์เป็นรายการของหน้าเว็บที่มีข้อมูลเกี่ยวข้องที่ชัดเจนที่สุด จะปรากฏออกมาเป็นลาดับแรก
  • 6. 7. การตั้งค่าการใช้งานให้กับGoogle *กาหนดให้Googleคลิกลิงค์เป็นหน้าเว็บเพจใหม่* โดยปกติแล้ว เมื่อคลิกที่เว็บไซต์ที่ค้นหาด้วยGoogleการลิงค์เว็บไซต์ที่เลือกจะโชว์เว็บเพจ ใหม่ทับเว็บเพจตัวเดิม ซึ่งบางครั้งทาให้ความยุ่งยากในการค้นหาเมื่อต้องการที่จะย้อนกลับไปกลับมา เพื่อดูเว็บไซต์ตัวอื่นๆที่Googleค้นหาเจอ โดยวิธีที่จะแก้ไขปัญหาดังกล่าวให้ตั้งGoogleแสดงหน้าเว็บ เพจใหม่เมื่อทาการคลิกลิงค์ตามขั้นตอนดังนี้ 1.เปิดโปรแกรมInternet Explorer(IE)โดยดับเบิ้ลคลิกที่ไอคอนเพื่อทาการเปิดโปรแกรม ขึ้นมาใช้งาน 2.พิมพ์www.google.co.thในช่องAddress 3.คลิกเลือกที่ลิงค์การตั้งค่า 4.จะเข้าสู่หน้าต่างการตั้งค่า