SlideShare a Scribd company logo
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                      ชุดที่ 7 หูและการได้ยน
                                                                                        ิ




                            ศูนย์ การเรียนที่ 3
                           เสี ยงและการได้ ยน ิ

                              เข้ าไปศึกษา รายละเอียดข้างใน
                                     กันต่ อเลยนะน้ องจุก



                                                ได้ เลยครับพีสาว
                                                             ่
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                  ชุดที่ 7 หูและการได้ยน 19
                                                                                    ิ




                                      บัตรคาสั่งศู นย์ ที่ 3
                                      เสียงและการได้ ยน
                                                      ิ
          โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้ เข้ าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้ วยความตั้งใจ
          1.   หัวหน้ ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้ สมาชิ ก ยกเว้ นบัตรเฉลย
          2.   หัวหน้ ากลุ่มให้ สมาชิ กอ่ านบัตรคาสั่ ง พร้ อมกับปฏิบัตตามคาสั่ ง
                                                                       ิ
          3.   สมาชิกศึกษาบัตรเนือหา ใช้ เวลา 15 นาที
                                    ้
          4.   สมาชิกอ่านบัตรคาถาม แล้วตอบคาถามลงในแบบบันทึกการปฏิบัติกจกรรม      ิ
          5.   หัวหน้ าอ่านบัตรเฉลย
          6.   เวลาทากิจกรรม ประมาณ 20 นาที เมื่อปฏิบัติกจกรรมเรียบร้ อยแล้ว
                                                                  ิ
               ขอให้ ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ ในซองให้ เรี ยบร้ อยและถูกต้ อง
               ยกเว้นแบบบันทึกการปฏิบัติกจกรรม ิ
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                ชุดที่ 7 หูและการได้ยน 20
                                                                                  ิ




                                     บัตรเนือหาศูนย์ ที่ 3
                                            ้
                                     เสียงและการได้ ยน
                                                     ิ



                         เสี ยง เกิดขึนได้ อย่างไร และหูของคนปกติ
                                      ้
                                 สามารถรับฟังเสี ยงได้ อย่ างไร




                                       ภาพแหล่งทีมาของสี ยง
                                                  ่
ทีมา : http://www.siamsafety.com/images/czech-zcc-dv-330-smoking-ch.jpg 330 x 338 - 21k
  ่
       ( 20 เมษายน 2550 )

จุดประสงค์ การเรียนรู้
        1. นักเรี ยนสามารถระบุความดังของเสี ยงที่หูสามารถรับฟังได้ อย่ างปลอดภัย
        2. นักเรียนสามารถระบุเวลาที่หูของคนเราสามารถรับฟังได้ โดยไม่ ได้ รับอันตราย
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                    ชุดที่ 7 หูและการได้ยน 21
                                                                                      ิ




                                           เสียงและการได้ ยน
                                                           ิ
           เสี ยง เป็ นพลังงาน เกิดจาการสั่ นสะเทือนของวัตถุ เสี ยงจะเคลือนทีออกจาก
                                                                         ่ ่
  แหล่ งกาเนิดของเสี ยงทุกทิศทาง ผ่านตัวกลาง 3 ชนิด คือของแข็ง, ของเหลว และก๊าซ ไปยัง
  อวัยวะรับเสี ยงคือ หู ตัวกลางทีทาให้ เสี ยงผ่ านได้ ดีทสุด คือ ของแข็ง
                                   ่                     ี่

           ลักษณะของเสี ยง

         ก. ความดัง แบ่ งเป็ นเสี ยงดัง และเสี ยงเบา มีหน่ วยวัดเป็ นเดซิเบล เสี ยงทีคนเราได้ ยน
                                                                                     ่         ิ
  ตั้งแต่ 0 -120 เดซิเบล ระดับความดัง 80 เดซิเบลขึนไปถือว่าเป็ นเสี ยงดัง ซึ่งขึนอยู่กบระยะทาง
                                                        ้                              ้   ั
  ระหว่างแหล่งกาเนิดของเสี ยงกับอวัยวะรับเสี ยงและระดับความดังทีคนทนฟังได้ ่
  ไม่ เกิน 120 เดซิเบล

        ข. ระดับเสี ยง แบ่ งเป็ นเสี ยงสู ง และเสี ยงต่า

            หูคนปกติรับเสี ยงได้ ในระดับความดังตั้งแต่ 0 - 120 เดซิเบล แต่ เสี ยงทีมีความดังใน
                                                                                    ่
  ระดับสู งนั้น ถ้ าทนฟังนาน ๆ จะมีผลเสี ยต่ อประสาทหู และสุ ขภาพอนามัยด้ วย จากการ
  รายงานขององค์ การพิทกษ์ สิ่งแวดล้ อมของสหรั ฐอเมริกา บ่ งว่ า ผู้ทได้ รับเสี ยงดังตลอด 24
                           ั                                        ่ี
  ชั่ วโมง เฉลียแล้ วเกิน 70 เดซิเบลนั้น จะทาให้ เกิดอาการหูตึงภายใน 40 ปี องค์ การอนามัยโลก
               ่
  ได้ กาหนดค่ าความดังมาตรฐานของเสี ยงเอาไว้ไม่ เกิน 85 เดซิเบล




                                   ภาพแสดงลักษณะของคลืนเสี ยง
                                                          ่
          ทีมา : http://gotoknow.org/file/musa_ibm/ultrasonic2.JPG 335 x 247 - 21k
            ่
                 ( 20 เมษายน 2550 )
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                     ชุดที่ 7 หูและการได้ยน 22
                                                                                       ิ



                                มาตรฐานความดังของเสียง

            1. มาตรฐานระดับเสี ยงโดยทัวไป่
             กรมควบคุมมลพิษ ได้ ดาเนินการกาหนดมาตรฐานระดับเสี ยงโดยทัวไป โดยได้ ผ่าน
                                                                                 ่
 การพิจารณาวิชาการ โดยกาหนดให้ มีค่าระดับเสี ยงเฉลีย (Leq 24 ชั่วโมง) ไม่ เกิน 70 เดซิเบล
                                                          ่
 และมีค่าสู งสุ ดไม่ เกิน 115 เดซิเบล ส่ วนองค์ การอนามัยโลกกาหนดระดับเสี ยงเฉลีย 8 ชั่วโมง
                                                                                       ่
 ไม่ เกิน 78 เดซิเบล
            2. มาตรฐานระดับเสี ยงจากการจราจร
             ยานพาหนะทางบก กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่ งแวดล้อม 2536 กาหนดให้
 ระดับเสี ยงรถยนต์ และรถจักรยานยนต์
            1) วัดทีระยะ 7.5 เมตร ต้ องไม่ เกิน 85 เดซิเบล
                    ่
            2) วัดทีระยะ 0.5 เมตร ต้ องไม่ เกิน 100 เดซิเบล
                      ่
            ยานพาหนะทางนา กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่ งแวดล้อม 2537 กาหนดให้
                              ้
 วัดระดับเสี ยงเรือจอดอยู่กบทีและเกียร์ ว่าง วัดทีระยะ 0.5 เมตร ต้ องไม่ เกิน 100 เดซิเบล
                             ั ่                     ่
            3. มาตรฐานระดับเสี ยงโรงงานอุตสาหกรรม
             พิจารณาจากระยะเวลาทีได้ ยนเสี ยง ความดังเสี ยง ความถี่ของเสี ยง และความต้ านทาน
                                     ่ ิ
 ของแต่ ละบุคคล เช่ น มาตรฐานของ OHSA กาหนดให้ ชั่วโมงทางาน 8 ชั่วโมง ระดับความดัง
 เสี ยงไม่ เกิน 90 เดซิเบล และถ้ ามีระดับความดังเสี ยงเพิมขึน 5 เดซิเบล ชั่วโมงการทางานลดลง
                                                            ่ ้
 ครึ่งหนึ่ง เช่ น ระดับความดังเสี ยง 95 เดซิเบล ทางานได้ ไม่ เกิน 4 ชั่วโมง เป็ นต้ น มาตรฐานของ
 ISO กาหนดให้ ชั่วโมงทางาน 8 ชั่วโมง ระดับความดังเสี ยงไม่ เกิน 90 เดซิเบล และถ้ ามีระดับ
 ความดังเสี ยงเพิมขึน 3 เดซิเบล ชั่วโมงการทางานลดลงครึ่งหนึ่ง เช่ น ระดับความดังเสี ยง
                   ่ ้
 93 เดซิเบล ทางานได้ ไม่ เกิน 4 ชั่วโมง เป็ นต้ น
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                ชุดที่ 7 หูและการได้ยน 23
                                                                                  ิ



                                      บัตรคาถามศูนย์ ที่ 3
                                      เสียงและการได้ยน
                                                     ิ

   คาชี้แจง ให้ นักเรียนตอบคาถามต่ อไปนีใ้ ห้ ถูกต้ อง

       1. เสี ยง คืออะไร
       2. หูคนปกติสามารถรับฟังเสี ยงได้ ในระดับความดังเท่าใด
       3. องค์ การอนามัยโลกกาหนดระดับความดังของเสี ยงที่หูสามารถทนฟังได้ เท่ าใด
       4. ระดับเสี ยงรถยนต์ และรถจักรยานยนต์ ทีระยะ 7.5 เมตร ต้ องมีความดังเสี ยงเท่ าใด
                                               ่
       5. มาตรฐานของ OHSA กาหนดให้ ชั่วโมงทางาน 8 ชั่วโมง ต้ องมีระดับความดังเสี ยงเท่าใด
ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141                        ชุดที่ 7 หูและการได้ยน 24
                                                                                          ิ



                                        บัตรเฉลยศูนย์ที่ 3
                                        เสียงและการได้ ยน
                                                        ิ


                    1.   พลังงานทีเ่ กิดจาการสั่ นสะเทือนของวัตถุ เสี ยง
                    2.   ตั้งแต่ 0 - 120 เดซิเบล
                    3.   ไม่ เกิน 85 เดซิเบล
                    4.   ไม่ เกิน 100 เดซิเบล
                    5.   ไม่ เกิน 95 เดซิเบล




                              เข้ าใจแล้วครับ ศึกษาศู นย์ การเรียนต่ อไป
                                             เลยนะครับพี่

More Related Content

Viewers also liked

ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรองเกมจัดกลุ่มดาว ชุดการสอนที่ 2
ศูนย์สำรองเกมจัดกลุ่มดาว ชุดการสอนที่ 2ศูนย์สำรองเกมจัดกลุ่มดาว ชุดการสอนที่ 2
ศูนย์สำรองเกมจัดกลุ่มดาว ชุดการสอนที่ 2ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
Séance 1 introduction à la microéconomie easynomie
Séance 1   introduction à la microéconomie easynomieSéance 1   introduction à la microéconomie easynomie
Séance 1 introduction à la microéconomie easynomieEsteban Giner
 
Pourquoi innover ? Une réponse au processus d'innovation
Pourquoi innover ? Une réponse au processus d'innovationPourquoi innover ? Une réponse au processus d'innovation
Pourquoi innover ? Une réponse au processus d'innovation
Esteban Giner
 
Séance annexe 6 la politique de produit à l'international
Séance annexe 6   la politique de produit à l'internationalSéance annexe 6   la politique de produit à l'international
Séance annexe 6 la politique de produit à l'international
Esteban Giner
 

Viewers also liked (20)

ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 4
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 6
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 6ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 6
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 6
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 2
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 2ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 2
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 2
 
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมต่อพัดบอกหน้าที่ ชุดการสอนที่ 10
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 4
 
ศูนย์สำรองเกมจัดกลุ่มดาว ชุดการสอนที่ 2
ศูนย์สำรองเกมจัดกลุ่มดาว ชุดการสอนที่ 2ศูนย์สำรองเกมจัดกลุ่มดาว ชุดการสอนที่ 2
ศูนย์สำรองเกมจัดกลุ่มดาว ชุดการสอนที่ 2
 
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
ศูนย์สำรอง การระบายสีภาพโครงสร้างหู ชุดการสอนที่ 9
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 2
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 2ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 2
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 2
 
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8
 
Séance 1 introduction à la microéconomie easynomie
Séance 1   introduction à la microéconomie easynomieSéance 1   introduction à la microéconomie easynomie
Séance 1 introduction à la microéconomie easynomie
 
Pourquoi innover ? Une réponse au processus d'innovation
Pourquoi innover ? Une réponse au processus d'innovationPourquoi innover ? Une réponse au processus d'innovation
Pourquoi innover ? Une réponse au processus d'innovation
 
Séance annexe 6 la politique de produit à l'international
Séance annexe 6   la politique de produit à l'internationalSéance annexe 6   la politique de produit à l'international
Séance annexe 6 la politique de produit à l'international
 

Similar to ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7

แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5 เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5  เรื่องพฤติกรรมของสียง.docxแผนการเรียนรู้รายหน่วย 5  เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5 เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
ssuser7ea064
 
แผนการสอน CBI
แผนการสอน CBIแผนการสอน CBI
แผนการสอน CBISuccess SC Slac
 
Pat2 52 72
Pat2 52 72Pat2 52 72
Pat2 52 72june41
 
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)Lupin F'n
 
ปริซึม
ปริซึมปริซึม
ปริซึมkrookay2012
 
โครงร่าง 4 ภายหลังสอบ แขนง
โครงร่าง 4 ภายหลังสอบ แขนงโครงร่าง 4 ภายหลังสอบ แขนง
โครงร่าง 4 ภายหลังสอบ แขนงSusaree Prakhinkit
 
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
WC Triumph
 
แนะนำรายวิชา 04-103
แนะนำรายวิชา 04-103แนะนำรายวิชา 04-103
แนะนำรายวิชา 04-103Naret Su
 
โครงงานกล้องจุลทรรษร์
โครงงานกล้องจุลทรรษร์โครงงานกล้องจุลทรรษร์
โครงงานกล้องจุลทรรษร์krupornpana55
 
Step3 Tutorial by SWU book1
Step3 Tutorial by SWU book1Step3 Tutorial by SWU book1
Step3 Tutorial by SWU book1vora kun
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3korakate
 
สาระที่ ๔ แรงและการเคลื่อนที่
สาระที่ ๔   แรงและการเคลื่อนที่สาระที่ ๔   แรงและการเคลื่อนที่
สาระที่ ๔ แรงและการเคลื่อนที่วิสิทธิ์ โทแก้ว
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 

Similar to ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7 (20)

ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
 
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5 เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5  เรื่องพฤติกรรมของสียง.docxแผนการเรียนรู้รายหน่วย 5  เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5 เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
 
Des sciencebiology
Des sciencebiologyDes sciencebiology
Des sciencebiology
 
แผนการสอน CBI
แผนการสอน CBIแผนการสอน CBI
แผนการสอน CBI
 
แผน CBI
แผน CBIแผน CBI
แผน CBI
 
Pat2 52 72
Pat2 52 72Pat2 52 72
Pat2 52 72
 
Pat2 52-1
Pat2 52-1Pat2 52-1
Pat2 52-1
 
Pat2 2552
Pat2 2552Pat2 2552
Pat2 2552
 
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
 
ปริซึม
ปริซึมปริซึม
ปริซึม
 
โครงร่าง 4 ภายหลังสอบ แขนง
โครงร่าง 4 ภายหลังสอบ แขนงโครงร่าง 4 ภายหลังสอบ แขนง
โครงร่าง 4 ภายหลังสอบ แขนง
 
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
 
แนะนำรายวิชา 04-103
แนะนำรายวิชา 04-103แนะนำรายวิชา 04-103
แนะนำรายวิชา 04-103
 
โครงงานกล้องจุลทรรษร์
โครงงานกล้องจุลทรรษร์โครงงานกล้องจุลทรรษร์
โครงงานกล้องจุลทรรษร์
 
Step3 Tutorial by SWU book1
Step3 Tutorial by SWU book1Step3 Tutorial by SWU book1
Step3 Tutorial by SWU book1
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
 
สาระที่ ๔ แรงและการเคลื่อนที่
สาระที่ ๔   แรงและการเคลื่อนที่สาระที่ ๔   แรงและการเคลื่อนที่
สาระที่ ๔ แรงและการเคลื่อนที่
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 

More from ชโลธร กีรติศักดิ์กุล

ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 

More from ชโลธร กีรติศักดิ์กุล (17)

ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4
ศูนย์สำรอง เขียนแผนผังโครงสร้างสมอง ชุดการสอนที่ 4
 

ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 7

  • 1. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 7 หูและการได้ยน ิ ศูนย์ การเรียนที่ 3 เสี ยงและการได้ ยน ิ เข้ าไปศึกษา รายละเอียดข้างใน กันต่ อเลยนะน้ องจุก ได้ เลยครับพีสาว ่
  • 2. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 7 หูและการได้ยน 19 ิ บัตรคาสั่งศู นย์ ที่ 3 เสียงและการได้ ยน ิ โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้ เข้ าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้ วยความตั้งใจ 1. หัวหน้ ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้ สมาชิ ก ยกเว้ นบัตรเฉลย 2. หัวหน้ ากลุ่มให้ สมาชิ กอ่ านบัตรคาสั่ ง พร้ อมกับปฏิบัตตามคาสั่ ง ิ 3. สมาชิกศึกษาบัตรเนือหา ใช้ เวลา 15 นาที ้ 4. สมาชิกอ่านบัตรคาถาม แล้วตอบคาถามลงในแบบบันทึกการปฏิบัติกจกรรม ิ 5. หัวหน้ าอ่านบัตรเฉลย 6. เวลาทากิจกรรม ประมาณ 20 นาที เมื่อปฏิบัติกจกรรมเรียบร้ อยแล้ว ิ ขอให้ ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ ในซองให้ เรี ยบร้ อยและถูกต้ อง ยกเว้นแบบบันทึกการปฏิบัติกจกรรม ิ
  • 3. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 7 หูและการได้ยน 20 ิ บัตรเนือหาศูนย์ ที่ 3 ้ เสียงและการได้ ยน ิ เสี ยง เกิดขึนได้ อย่างไร และหูของคนปกติ ้ สามารถรับฟังเสี ยงได้ อย่ างไร ภาพแหล่งทีมาของสี ยง ่ ทีมา : http://www.siamsafety.com/images/czech-zcc-dv-330-smoking-ch.jpg 330 x 338 - 21k ่ ( 20 เมษายน 2550 ) จุดประสงค์ การเรียนรู้ 1. นักเรี ยนสามารถระบุความดังของเสี ยงที่หูสามารถรับฟังได้ อย่ างปลอดภัย 2. นักเรียนสามารถระบุเวลาที่หูของคนเราสามารถรับฟังได้ โดยไม่ ได้ รับอันตราย
  • 4. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 7 หูและการได้ยน 21 ิ เสียงและการได้ ยน ิ เสี ยง เป็ นพลังงาน เกิดจาการสั่ นสะเทือนของวัตถุ เสี ยงจะเคลือนทีออกจาก ่ ่ แหล่ งกาเนิดของเสี ยงทุกทิศทาง ผ่านตัวกลาง 3 ชนิด คือของแข็ง, ของเหลว และก๊าซ ไปยัง อวัยวะรับเสี ยงคือ หู ตัวกลางทีทาให้ เสี ยงผ่ านได้ ดีทสุด คือ ของแข็ง ่ ี่ ลักษณะของเสี ยง ก. ความดัง แบ่ งเป็ นเสี ยงดัง และเสี ยงเบา มีหน่ วยวัดเป็ นเดซิเบล เสี ยงทีคนเราได้ ยน ่ ิ ตั้งแต่ 0 -120 เดซิเบล ระดับความดัง 80 เดซิเบลขึนไปถือว่าเป็ นเสี ยงดัง ซึ่งขึนอยู่กบระยะทาง ้ ้ ั ระหว่างแหล่งกาเนิดของเสี ยงกับอวัยวะรับเสี ยงและระดับความดังทีคนทนฟังได้ ่ ไม่ เกิน 120 เดซิเบล ข. ระดับเสี ยง แบ่ งเป็ นเสี ยงสู ง และเสี ยงต่า หูคนปกติรับเสี ยงได้ ในระดับความดังตั้งแต่ 0 - 120 เดซิเบล แต่ เสี ยงทีมีความดังใน ่ ระดับสู งนั้น ถ้ าทนฟังนาน ๆ จะมีผลเสี ยต่ อประสาทหู และสุ ขภาพอนามัยด้ วย จากการ รายงานขององค์ การพิทกษ์ สิ่งแวดล้ อมของสหรั ฐอเมริกา บ่ งว่ า ผู้ทได้ รับเสี ยงดังตลอด 24 ั ่ี ชั่ วโมง เฉลียแล้ วเกิน 70 เดซิเบลนั้น จะทาให้ เกิดอาการหูตึงภายใน 40 ปี องค์ การอนามัยโลก ่ ได้ กาหนดค่ าความดังมาตรฐานของเสี ยงเอาไว้ไม่ เกิน 85 เดซิเบล ภาพแสดงลักษณะของคลืนเสี ยง ่ ทีมา : http://gotoknow.org/file/musa_ibm/ultrasonic2.JPG 335 x 247 - 21k ่ ( 20 เมษายน 2550 )
  • 5. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 7 หูและการได้ยน 22 ิ มาตรฐานความดังของเสียง 1. มาตรฐานระดับเสี ยงโดยทัวไป่ กรมควบคุมมลพิษ ได้ ดาเนินการกาหนดมาตรฐานระดับเสี ยงโดยทัวไป โดยได้ ผ่าน ่ การพิจารณาวิชาการ โดยกาหนดให้ มีค่าระดับเสี ยงเฉลีย (Leq 24 ชั่วโมง) ไม่ เกิน 70 เดซิเบล ่ และมีค่าสู งสุ ดไม่ เกิน 115 เดซิเบล ส่ วนองค์ การอนามัยโลกกาหนดระดับเสี ยงเฉลีย 8 ชั่วโมง ่ ไม่ เกิน 78 เดซิเบล 2. มาตรฐานระดับเสี ยงจากการจราจร ยานพาหนะทางบก กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่ งแวดล้อม 2536 กาหนดให้ ระดับเสี ยงรถยนต์ และรถจักรยานยนต์ 1) วัดทีระยะ 7.5 เมตร ต้ องไม่ เกิน 85 เดซิเบล ่ 2) วัดทีระยะ 0.5 เมตร ต้ องไม่ เกิน 100 เดซิเบล ่ ยานพาหนะทางนา กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่ งแวดล้อม 2537 กาหนดให้ ้ วัดระดับเสี ยงเรือจอดอยู่กบทีและเกียร์ ว่าง วัดทีระยะ 0.5 เมตร ต้ องไม่ เกิน 100 เดซิเบล ั ่ ่ 3. มาตรฐานระดับเสี ยงโรงงานอุตสาหกรรม พิจารณาจากระยะเวลาทีได้ ยนเสี ยง ความดังเสี ยง ความถี่ของเสี ยง และความต้ านทาน ่ ิ ของแต่ ละบุคคล เช่ น มาตรฐานของ OHSA กาหนดให้ ชั่วโมงทางาน 8 ชั่วโมง ระดับความดัง เสี ยงไม่ เกิน 90 เดซิเบล และถ้ ามีระดับความดังเสี ยงเพิมขึน 5 เดซิเบล ชั่วโมงการทางานลดลง ่ ้ ครึ่งหนึ่ง เช่ น ระดับความดังเสี ยง 95 เดซิเบล ทางานได้ ไม่ เกิน 4 ชั่วโมง เป็ นต้ น มาตรฐานของ ISO กาหนดให้ ชั่วโมงทางาน 8 ชั่วโมง ระดับความดังเสี ยงไม่ เกิน 90 เดซิเบล และถ้ ามีระดับ ความดังเสี ยงเพิมขึน 3 เดซิเบล ชั่วโมงการทางานลดลงครึ่งหนึ่ง เช่ น ระดับความดังเสี ยง ่ ้ 93 เดซิเบล ทางานได้ ไม่ เกิน 4 ชั่วโมง เป็ นต้ น
  • 6. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 7 หูและการได้ยน 23 ิ บัตรคาถามศูนย์ ที่ 3 เสียงและการได้ยน ิ คาชี้แจง ให้ นักเรียนตอบคาถามต่ อไปนีใ้ ห้ ถูกต้ อง 1. เสี ยง คืออะไร 2. หูคนปกติสามารถรับฟังเสี ยงได้ ในระดับความดังเท่าใด 3. องค์ การอนามัยโลกกาหนดระดับความดังของเสี ยงที่หูสามารถทนฟังได้ เท่ าใด 4. ระดับเสี ยงรถยนต์ และรถจักรยานยนต์ ทีระยะ 7.5 เมตร ต้ องมีความดังเสี ยงเท่ าใด ่ 5. มาตรฐานของ OHSA กาหนดให้ ชั่วโมงทางาน 8 ชั่วโมง ต้ องมีระดับความดังเสี ยงเท่าใด
  • 7. ชุดการสอนแบบศูนย์การเรี ยนวิชาชีววิทยา ว42141 ชุดที่ 7 หูและการได้ยน 24 ิ บัตรเฉลยศูนย์ที่ 3 เสียงและการได้ ยน ิ 1. พลังงานทีเ่ กิดจาการสั่ นสะเทือนของวัตถุ เสี ยง 2. ตั้งแต่ 0 - 120 เดซิเบล 3. ไม่ เกิน 85 เดซิเบล 4. ไม่ เกิน 100 เดซิเบล 5. ไม่ เกิน 95 เดซิเบล เข้ าใจแล้วครับ ศึกษาศู นย์ การเรียนต่ อไป เลยนะครับพี่