SlideShare a Scribd company logo
ใบความรู้ที่ใบความรู้ที่ใบความรู้ที่ใบความรู้ที่ 1.1.1.1.3333
รายวิชารายวิชารายวิชารายวิชา งงงง 32221322213222132221 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซีการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซีการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซีการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5555
หน่วยการเรียนรู้ที่หน่วยการเรียนรู้ที่หน่วยการเรียนรู้ที่หน่วยการเรียนรู้ที่ 1111 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาซีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาซีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาซีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาซี เรื่องเรื่องเรื่องเรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง อธิบายอธิบายอธิบายอธิบายขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมได้ได้ได้ได้
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
ในการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้ทํางานได้ตามที่เราต้องการนั้น ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องรู้ว่าให้
โปรแกรมทําอะไร มีข้อมูลอะไรที่ต้องให้กับโปรแกรมบ้าง และต้องการอะไรจากโปรแกรม รวมทั้งรูปแบบการ
แสดงผล มีขั้นตอนหลัก 5 ขั้นตอน ดังนี้
ตัวอย่างโจทย์ตัวอย่างโจทย์ตัวอย่างโจทย์ตัวอย่างโจทย์ จงเขียนโปรแกรมรบค่าเลขจํานวนเต็ม 2 จํานวนและหาผลบวกเลขทั้งสอง
1111.... วิเคราะห์ปัญหาวิเคราะห์ปัญหาวิเคราะห์ปัญหาวิเคราะห์ปัญหา ((((AnalysisAnalysisAnalysisAnalysis))))
ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องวิเคราะห์ปัญหาให้ออกว่าจะต้องการทําการเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ปัญหาอะไร
เพราะหากวิเคราะห์หรือมองปัญหาผิดแล้ว จะทําให้เขียนโปรแกรมได้ผลลัพธ์ออกมาผิดไปจากสิ่งที่ต้องการ จาก
โจทย์ที่กําหนด สามารถวิเคราะห์ปัญหาได้ 2 ส่วนคือ
- รับข้อมูลตัวเลขจํานวนเต็ม 2 ตัว เข้ามาโปรแกรม
วิเคราะห์วิเคราะห์วิเคราะห์วิเคราะห์ กําหนดให้ x เก็บเลขจํานวนเต็มที่ 1
กําหนดให้ y เก็บเลขจํานวนเต็มที่ 2
- เลขจํานวนเต็มที่ 1 + เลขจํานวนเต็มที่ 2 มีค่าเท่ากับเท่าไร
วิเคราะห์วิเคราะห์วิเคราะห์วิเคราะห์ กําหนดให้ sum เก็บค่าผลบวกของเลขจํานวนเต็มทั้ง 2 จํานวน คือ sum = x + y
2.2.2.2. การวางแผนและออกแบบการวางแผนและออกแบบการวางแผนและออกแบบการวางแผนและออกแบบ ((((Planning & DesignPlanning & DesignPlanning & DesignPlanning & Design))))
การนําปัญหาที่ได้วิเคราะห์จากขั้นตอนที่ 1 มาวางแผนอย่างเป็นขั้นตอนว่าจะเขียนโปรแกรมเพื่อ
แก้ปัญหาอะไร เรียกว่า อัลกอริทึม(Algorithm) ซึ่งอัลกอริทึม แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือ
2222....1111 ซูโดโค้ดซูโดโค้ดซูโดโค้ดซูโดโค้ด ((((Fseudo CodeFseudo CodeFseudo CodeFseudo Code)))) คือ การเขียนอัลกอริทึมโดยใช้ประโยคภาษาอังกฤษที่สื่อความหมายง่ายๆ
สามารถอ่านแล้วเข้าใจได้โดยทันที จากโจทย์สามารถเขียนซูโดโค้ด ได้ดังนี้
2.22.22.22.2 การเขียนผังงานการเขียนผังงานการเขียนผังงานการเขียนผังงาน ((((FlowchartFlowchartFlowchartFlowchart)))) คือ การเขียนอัลกอริทึมโดยใช้สัญลักษณ์รูปภาพแสดงขั้นตอนการ
ทํางานของโปรแกรมเพื่อให้ง่ายต่อความเข้าใจ จากโจทย์สามารถเขียนผังงาน ได้ดังนี้
START
READ X
READ Y
COMPUTE SUM= X+Y
PRINT SUM
STOP
START
STOP
INPUT X,Y
PRINT SUM
SUM= X+Y
3333.... เขียนโปรแกรมเขียนโปรแกรมเขียนโปรแกรมเขียนโปรแกรม ((((codingcodingcodingcoding))))
จากการนําอัลกอริทึมจากขั้นตอนที่
ภาษาซี จากโจทย์มาเขียนโปรแกรมภาษาซีได้ดังนี้
4444.... ทดสอบโปรแกรมและแก้ไขโปรแกรมทดสอบโปรแกรมและแก้ไขโปรแกรมทดสอบโปรแกรมและแก้ไขโปรแกรมทดสอบโปรแกรมและแก้ไขโปรแกรม
หลังจากเขียนโปรแกรมะต้องทําการทดสอบความถูกต้องของโปรแกรมที่เขียนขึ้น
โปรแกรมว่ามีหรือไม่ และตรวจสอบจนกว่าจะไพบที่ผิดอีก จุดผิดพลาดของโปรแกรมเรียกว่า บัก
แก้ไขข้อผิดพลาดให้ถูกต้องเรียกว่า ดีบัก
จากโจทย์สามารถทดสอบโปรแกรม ได้ดังนี้
จากการนําอัลกอริทึมจากขั้นตอนที่ 2 มาเขียนโปรแกรมให้ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์(
ภาษาซี จากโจทย์มาเขียนโปรแกรมภาษาซีได้ดังนี้
ทดสอบโปรแกรมและแก้ไขโปรแกรมทดสอบโปรแกรมและแก้ไขโปรแกรมทดสอบโปรแกรมและแก้ไขโปรแกรมทดสอบโปรแกรมและแก้ไขโปรแกรม
หลังจากเขียนโปรแกรมะต้องทําการทดสอบความถูกต้องของโปรแกรมที่เขียนขึ้น เพื่อหาจุดผิดพลาดของ
โปรแกรมว่ามีหรือไม่ และตรวจสอบจนกว่าจะไพบที่ผิดอีก จุดผิดพลาดของโปรแกรมเรียกว่า บัก
แก้ไขข้อผิดพลาดให้ถูกต้องเรียกว่า ดีบัก(Debug)
จากโจทย์สามารถทดสอบโปรแกรม ได้ดังนี้
(syntax) ของ
เพื่อหาจุดผิดพลาดของ
โปรแกรมว่ามีหรือไม่ และตรวจสอบจนกว่าจะไพบที่ผิดอีก จุดผิดพลาดของโปรแกรมเรียกว่า บัก(Bug) ส่วนการ
5555.... การจัดทําเอกสารคู่มือโปรแกรมการจัดทําเอกสารคู่มือโปรแกรมการจัดทําเอกสารคู่มือโปรแกรมการจัดทําเอกสารคู่มือโปรแกรม
เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบให้ผลลัพธ์การทํางานถูกต้องแล้ว จะต้องเอกสารคู่มือประกอบการใช้
โปรแกรม โดยมีรายละเอียดเกี่ยวกับโปรแกรม เช่น ชื่อโปรแกรม ตัวแปรที่ใช้รับข้อมูล การพิมพ์ผลลัพธ์
โปรแกรม เป็นต้น
จากโจทย์สามารถจัดทําเอกสารคู่มือโปรแกรม ได้ดังนี้
ชื่อโปรแกรม หาค่าผลบวกของเลขจํานวนเต็ม 2 จํานวน
ตัวแปรที่ใช้ x เก็บค่าจํานวนเต็มที่ 1
y เก็บค่าจํานวนเต็มที่ 2
sum เก็บค่าผลบวกของตัวเลขจํานวนเต็มทั้ง2 จํานวน
ชนิดของข้อมูล x,y,sum เป็นข้อมูลชนิดเลขจํานวนเต็ม(integer)
วิธีการแก้ปัญหา ใช้สมการ sum=x+y

More Related Content

Similar to ใบความรู้ที่ 3 ขั้นตอนพัฒนาโปรแกรม

สาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้นสาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
dechathon
 
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์Nattapon
 
รหัสควบคุมพิเศษ
รหัสควบคุมพิเศษรหัสควบคุมพิเศษ
รหัสควบคุมพิเศษdechathon
 
โครงงาน วิธีการลง วินโดว 7
โครงงาน    วิธีการลง วินโดว 7โครงงาน    วิธีการลง วินโดว 7
โครงงาน วิธีการลง วินโดว 7mansupotyrc
 
ตัวแปร
ตัวแปรตัวแปร
ตัวแปรdechathon
 
คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1
คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1
คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1Artit Promratpan
 
รายละเอียดรายวิชา การโปรแกรมและการประยุกต์
รายละเอียดรายวิชา การโปรแกรมและการประยุกต์รายละเอียดรายวิชา การโปรแกรมและการประยุกต์
รายละเอียดรายวิชา การโปรแกรมและการประยุกต์
Strisuksa Roi-Et
 

Similar to ใบความรู้ที่ 3 ขั้นตอนพัฒนาโปรแกรม (8)

สาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้นสาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
 
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
รหัสควบคุมพิเศษ
รหัสควบคุมพิเศษรหัสควบคุมพิเศษ
รหัสควบคุมพิเศษ
 
งานPbl 3
งานPbl 3งานPbl 3
งานPbl 3
 
โครงงาน วิธีการลง วินโดว 7
โครงงาน    วิธีการลง วินโดว 7โครงงาน    วิธีการลง วินโดว 7
โครงงาน วิธีการลง วินโดว 7
 
ตัวแปร
ตัวแปรตัวแปร
ตัวแปร
 
คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1
คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1
คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1
 
รายละเอียดรายวิชา การโปรแกรมและการประยุกต์
รายละเอียดรายวิชา การโปรแกรมและการประยุกต์รายละเอียดรายวิชา การโปรแกรมและการประยุกต์
รายละเอียดรายวิชา การโปรแกรมและการประยุกต์
 

More from dechathon

บทเรียนที่ 1
บทเรียนที่ 1บทเรียนที่ 1
บทเรียนที่ 1
dechathon
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.4
ใบกิจรรมที่ 1.4ใบกิจรรมที่ 1.4
ใบกิจรรมที่ 1.4dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.3
ใบกิจรรมที่ 1.3ใบกิจรรมที่ 1.3
ใบกิจรรมที่ 1.3dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.2
ใบกิจรรมที่ 1.2ใบกิจรรมที่ 1.2
ใบกิจรรมที่ 1.2dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.5
ใบกิจรรมที่ 1.5ใบกิจรรมที่ 1.5
ใบกิจรรมที่ 1.5dechathon
 
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซี
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซีวิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซี
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซีdechathon
 
สาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้นสาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
dechathon
 
Unit5 16
Unit5 16Unit5 16
Unit5 16
dechathon
 

More from dechathon (20)

บทเรียนที่ 1
บทเรียนที่ 1บทเรียนที่ 1
บทเรียนที่ 1
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1
 
ใบกิจรรมที่ 1.4
ใบกิจรรมที่ 1.4ใบกิจรรมที่ 1.4
ใบกิจรรมที่ 1.4
 
ใบกิจรรมที่ 1.3
ใบกิจรรมที่ 1.3ใบกิจรรมที่ 1.3
ใบกิจรรมที่ 1.3
 
ใบกิจรรมที่ 1.2
ใบกิจรรมที่ 1.2ใบกิจรรมที่ 1.2
ใบกิจรรมที่ 1.2
 
ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1
 
ใบกิจรรมที่ 1.5
ใบกิจรรมที่ 1.5ใบกิจรรมที่ 1.5
ใบกิจรรมที่ 1.5
 
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซี
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซีวิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซี
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซี
 
สาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้นสาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
 
Unit 4 13
Unit 4 13Unit 4 13
Unit 4 13
 
Unit 4 11
Unit 4 11Unit 4 11
Unit 4 11
 
Unit 4 12
Unit 4  12Unit 4  12
Unit 4 12
 
Unit5 16
Unit5 16Unit5 16
Unit5 16
 
Unit5 14
Unit5 14Unit5 14
Unit5 14
 
Unit3 10
Unit3 10Unit3 10
Unit3 10
 
Unit3 9
Unit3 9Unit3 9
Unit3 9
 
Unit3 8
Unit3 8Unit3 8
Unit3 8
 
Unit2 7
Unit2 7Unit2 7
Unit2 7
 
Unit2 6
Unit2 6Unit2 6
Unit2 6
 

ใบความรู้ที่ 3 ขั้นตอนพัฒนาโปรแกรม

  • 1. ใบความรู้ที่ใบความรู้ที่ใบความรู้ที่ใบความรู้ที่ 1.1.1.1.3333 รายวิชารายวิชารายวิชารายวิชา งงงง 32221322213222132221 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซีการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซีการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซีการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5555 หน่วยการเรียนรู้ที่หน่วยการเรียนรู้ที่หน่วยการเรียนรู้ที่หน่วยการเรียนรู้ที่ 1111 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาซีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาซีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาซีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาซี เรื่องเรื่องเรื่องเรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง อธิบายอธิบายอธิบายอธิบายขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมได้ได้ได้ได้ ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม ในการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้ทํางานได้ตามที่เราต้องการนั้น ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องรู้ว่าให้ โปรแกรมทําอะไร มีข้อมูลอะไรที่ต้องให้กับโปรแกรมบ้าง และต้องการอะไรจากโปรแกรม รวมทั้งรูปแบบการ แสดงผล มีขั้นตอนหลัก 5 ขั้นตอน ดังนี้ ตัวอย่างโจทย์ตัวอย่างโจทย์ตัวอย่างโจทย์ตัวอย่างโจทย์ จงเขียนโปรแกรมรบค่าเลขจํานวนเต็ม 2 จํานวนและหาผลบวกเลขทั้งสอง 1111.... วิเคราะห์ปัญหาวิเคราะห์ปัญหาวิเคราะห์ปัญหาวิเคราะห์ปัญหา ((((AnalysisAnalysisAnalysisAnalysis)))) ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องวิเคราะห์ปัญหาให้ออกว่าจะต้องการทําการเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ปัญหาอะไร เพราะหากวิเคราะห์หรือมองปัญหาผิดแล้ว จะทําให้เขียนโปรแกรมได้ผลลัพธ์ออกมาผิดไปจากสิ่งที่ต้องการ จาก โจทย์ที่กําหนด สามารถวิเคราะห์ปัญหาได้ 2 ส่วนคือ - รับข้อมูลตัวเลขจํานวนเต็ม 2 ตัว เข้ามาโปรแกรม วิเคราะห์วิเคราะห์วิเคราะห์วิเคราะห์ กําหนดให้ x เก็บเลขจํานวนเต็มที่ 1 กําหนดให้ y เก็บเลขจํานวนเต็มที่ 2 - เลขจํานวนเต็มที่ 1 + เลขจํานวนเต็มที่ 2 มีค่าเท่ากับเท่าไร วิเคราะห์วิเคราะห์วิเคราะห์วิเคราะห์ กําหนดให้ sum เก็บค่าผลบวกของเลขจํานวนเต็มทั้ง 2 จํานวน คือ sum = x + y
  • 2. 2.2.2.2. การวางแผนและออกแบบการวางแผนและออกแบบการวางแผนและออกแบบการวางแผนและออกแบบ ((((Planning & DesignPlanning & DesignPlanning & DesignPlanning & Design)))) การนําปัญหาที่ได้วิเคราะห์จากขั้นตอนที่ 1 มาวางแผนอย่างเป็นขั้นตอนว่าจะเขียนโปรแกรมเพื่อ แก้ปัญหาอะไร เรียกว่า อัลกอริทึม(Algorithm) ซึ่งอัลกอริทึม แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือ 2222....1111 ซูโดโค้ดซูโดโค้ดซูโดโค้ดซูโดโค้ด ((((Fseudo CodeFseudo CodeFseudo CodeFseudo Code)))) คือ การเขียนอัลกอริทึมโดยใช้ประโยคภาษาอังกฤษที่สื่อความหมายง่ายๆ สามารถอ่านแล้วเข้าใจได้โดยทันที จากโจทย์สามารถเขียนซูโดโค้ด ได้ดังนี้ 2.22.22.22.2 การเขียนผังงานการเขียนผังงานการเขียนผังงานการเขียนผังงาน ((((FlowchartFlowchartFlowchartFlowchart)))) คือ การเขียนอัลกอริทึมโดยใช้สัญลักษณ์รูปภาพแสดงขั้นตอนการ ทํางานของโปรแกรมเพื่อให้ง่ายต่อความเข้าใจ จากโจทย์สามารถเขียนผังงาน ได้ดังนี้ START READ X READ Y COMPUTE SUM= X+Y PRINT SUM STOP START STOP INPUT X,Y PRINT SUM SUM= X+Y
  • 3. 3333.... เขียนโปรแกรมเขียนโปรแกรมเขียนโปรแกรมเขียนโปรแกรม ((((codingcodingcodingcoding)))) จากการนําอัลกอริทึมจากขั้นตอนที่ ภาษาซี จากโจทย์มาเขียนโปรแกรมภาษาซีได้ดังนี้ 4444.... ทดสอบโปรแกรมและแก้ไขโปรแกรมทดสอบโปรแกรมและแก้ไขโปรแกรมทดสอบโปรแกรมและแก้ไขโปรแกรมทดสอบโปรแกรมและแก้ไขโปรแกรม หลังจากเขียนโปรแกรมะต้องทําการทดสอบความถูกต้องของโปรแกรมที่เขียนขึ้น โปรแกรมว่ามีหรือไม่ และตรวจสอบจนกว่าจะไพบที่ผิดอีก จุดผิดพลาดของโปรแกรมเรียกว่า บัก แก้ไขข้อผิดพลาดให้ถูกต้องเรียกว่า ดีบัก จากโจทย์สามารถทดสอบโปรแกรม ได้ดังนี้ จากการนําอัลกอริทึมจากขั้นตอนที่ 2 มาเขียนโปรแกรมให้ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์( ภาษาซี จากโจทย์มาเขียนโปรแกรมภาษาซีได้ดังนี้ ทดสอบโปรแกรมและแก้ไขโปรแกรมทดสอบโปรแกรมและแก้ไขโปรแกรมทดสอบโปรแกรมและแก้ไขโปรแกรมทดสอบโปรแกรมและแก้ไขโปรแกรม หลังจากเขียนโปรแกรมะต้องทําการทดสอบความถูกต้องของโปรแกรมที่เขียนขึ้น เพื่อหาจุดผิดพลาดของ โปรแกรมว่ามีหรือไม่ และตรวจสอบจนกว่าจะไพบที่ผิดอีก จุดผิดพลาดของโปรแกรมเรียกว่า บัก แก้ไขข้อผิดพลาดให้ถูกต้องเรียกว่า ดีบัก(Debug) จากโจทย์สามารถทดสอบโปรแกรม ได้ดังนี้ (syntax) ของ เพื่อหาจุดผิดพลาดของ โปรแกรมว่ามีหรือไม่ และตรวจสอบจนกว่าจะไพบที่ผิดอีก จุดผิดพลาดของโปรแกรมเรียกว่า บัก(Bug) ส่วนการ
  • 4. 5555.... การจัดทําเอกสารคู่มือโปรแกรมการจัดทําเอกสารคู่มือโปรแกรมการจัดทําเอกสารคู่มือโปรแกรมการจัดทําเอกสารคู่มือโปรแกรม เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบให้ผลลัพธ์การทํางานถูกต้องแล้ว จะต้องเอกสารคู่มือประกอบการใช้ โปรแกรม โดยมีรายละเอียดเกี่ยวกับโปรแกรม เช่น ชื่อโปรแกรม ตัวแปรที่ใช้รับข้อมูล การพิมพ์ผลลัพธ์ โปรแกรม เป็นต้น จากโจทย์สามารถจัดทําเอกสารคู่มือโปรแกรม ได้ดังนี้ ชื่อโปรแกรม หาค่าผลบวกของเลขจํานวนเต็ม 2 จํานวน ตัวแปรที่ใช้ x เก็บค่าจํานวนเต็มที่ 1 y เก็บค่าจํานวนเต็มที่ 2 sum เก็บค่าผลบวกของตัวเลขจํานวนเต็มทั้ง2 จํานวน ชนิดของข้อมูล x,y,sum เป็นข้อมูลชนิดเลขจํานวนเต็ม(integer) วิธีการแก้ปัญหา ใช้สมการ sum=x+y