SlideShare a Scribd company logo
ใบความรู้ที่ใบความรู้ที่ใบความรู้ที่ใบความรู้ที่ 1111.1.1.1.1
รายวิชา งรายวิชา งรายวิชา งรายวิชา ง 32221322213222132221 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซีการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซีการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซีการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5555
หน่วยการเรียนรู้ที่หน่วยการเรียนรู้ที่หน่วยการเรียนรู้ที่หน่วยการเรียนรู้ที่ 1111 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาซีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาซีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาซีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาซี เรื่องเรื่องเรื่องเรื่อง ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง อธิบายภาษาคอมพิวเตอร์ได้
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึง ภาษาใดๆ ที่ผู้ใช้งานใช้สื่อสารกับคอมพิวเตอร์ หรือคอมพิวเตอร์
ด้วยกัน แล้วคอมพิวเตอร์สามารถทํางานตามคําสั่งนั้นได้ คํานี้มักใช้เรียกแทนภาษาโปรแกรม แต่ความ
เป็นจริงภาษาโปรแกรมคือส่วนหนึ่งของภาษาคอมพิวเตอร์เท่านั้น และมีภาษาอื่นๆ ที่เป็น
ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกเป็นสองกลุ่ม คือ
1) ภาษาระดับสูง (high level)
2) ภาษาระดับต่ํา (low level)
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์ ((((Computer Language)Computer Language)Computer Language)Computer Language) คือ ภาษาที่ใช้ หรือเกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ซึ่งมัก
ใช้ร่วมกับภาษาโปรแกรม แต่ภาษาคอมพิวเตอร์นั้นมีความหมายที่กว้างกว่า โดยไม่จําเป็นที่จะต้องเป็น
ภาษาโปรแกรม ซึ่งเป็นที่รู้กันว่าภาษาอย่าง HTML หรือ SQL ไม่ใช่ภาษาโปรแกรม แต่ถือว่าเป็น
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมภาษาโปรแกรมภาษาโปรแกรมภาษาโปรแกรม ((((Program Language)Program Language)Program Language)Program Language) คือ วิธีการมาตรฐานในการสื่อสารสําหรับแสดงคําสั่งไปยัง
คอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรมกําหนดไวยากรณ์และการตีความหมายจากโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เขียนขึ้น
ภาษาโปรแกรมทําให้โปรแกรมเมอร์สามารถระบุอย่างชัดเจนถึงข้อมูลที่คอมพิวเตอร์จะทํางาน และวิธีการ
ที่คอมพิวเตอร์จะประมวลผลข้อมูลเหล่านั้น ภาษาคอมพิวเตอร์มีการพัฒนาหรือมีวิวัฒนาการมาโดยลําดับ
เช่นเดียวกับคอมพิวเตอร์ โดยจะสามารถแบ่งออกเป็นยุคหรือเป็นรุ่นของภาษา (Generation) ซึ่งในยุค
หลังๆ จะมีการพัฒนาภาษาให้มีความสะดวกในการอ่านและเขียนง่ายขึ้นกว่าภาษาในยุคแรกๆ เนื่องจาก
จะมีโครงสร้างภาษาใกล้เคียงกับภาษาอังกฤษ เราสามารถแบ่งภาษาคอมพิวเตอร์ออกได้เป็น 5 ยุค ดังนี้
1111.... ภาษาเครื่องภาษาเครื่องภาษาเครื่องภาษาเครื่อง ((((Machine LanguageMachine LanguageMachine LanguageMachine Language)))) เป็นภาษาที่เกิดขึ้นในยุคแรกสุด และเป็นภาษาเดียวที่เครื่อง
คอมพิวเตอร์จะสามารถเข้าใจคําสั่งได้ ภาษาเครื่องจะแทนข้อมูลหรือคําสั่งในโปรแกรมด้วยกลุ่มของ
ตัวเลข 0 และ 1 หรือที่เรียกว่าเลขฐานสอง ซึ่งจะสัมพันธ์กับการเปิด (On) และการปิด (Off) ของ
สัญญาณไฟฟ้าภายในเครื่องคอมพิวเตอร์
2.2.2.2. ภาษาแอสแซมบลีภาษาแอสแซมบลีภาษาแอสแซมบลีภาษาแอสแซมบลี ((((Assembly Language)Assembly Language)Assembly Language)Assembly Language) เป็นภาษาที่มีการใช้สัญลักษณ์ข้อความ (Mnemonic
codes) แทนกลุ่มของเลขฐานสอง เพื่อให้ง่ายต่อการเขียนและการจดจํามากกว่าภาษาเครื่อง แต่
เนื่องจากคอมพิวเตอร์รู้จักเฉพาะภาษาเครื่องเท่านั้น ดังนั้นภาษาแอสแซมบลี จึงต้องใช้ตัวแปลภาษาที่
เรียกว่า “แอสแซมเบลอร์ (Assembler)” เพื่อแปลคําสั่งภาษาแอสแซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง นอกจากนี้
ผู้ที่จะเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี ได้จะต้องมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของฮาร์ดแวร์เป็นอย่างดี
เนื่องจากต้องยุ่งเกี่ยวกับการใช้งานหน่วยความจําที่เป็นรีจิสเตอร์ภายใน
3.3.3.3. ภาษาชั้นสูงภาษาชั้นสูงภาษาชั้นสูงภาษาชั้นสูง ((((HighHighHighHigh----levellevellevellevel Language)Language)Language)Language) เรียกอีกอย่างว่าภาษารุ่นที่ 3 (3rd Generation
Languages หรือ 3GLs) เป็นภาษาที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อให้สามารถเขียนและอ่านโปรแกรมได้ง่ายขึ้น
เนื่องจากมีลักษณะเหมือนภาษาอังกฤษทั่วๆ ไป และที่สําคัญคือ ผู้เขียนโปรแกรมไม่จําเป็นต้องมีความรู้
เกี่ยวกับระบบฮาร์ดแวร์ ตัวอย่างของภาษาประเภทนี้ ได้แก่ ภาษาฟอร์แทน (FORTRAN) โคบอล
(COBOL) เบสิก (BASIC) ปาสคาล (PASCAL) ซี (C) เอดา (ADA) เป็นต้น อย่างไรก็ตามโปรแกรมที่ถูก
เขียนด้วยภาษาประเภทนี้จะทํางานได้ก็ต่อเมื่อมีการแปลงให้เป็นภาษาเครื่องเสียก่อน ซึ่งวิธีการแปลง
ภาษาชั้นสูงให้เป็นภาษาเครื่องนั้น จะทําได้โดยใช้โปรแกรมที่เรียกว่า “คอมไพล์เลอร์ (Compiler)” หรือ
“อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter)” อย่างใดอย่างหนึ่ง โดยภาษาชั้นสูงแต่ละภาษาจะมีตัวแปลภาษาเฉพาะ
เป็นของตนเองใช้แทนกันไม่ได้
3.13.13.13.1 คอมไพเลคอมไพเลคอมไพเลคอมไพเลอร์อร์อร์อร์ จะทําการแปลโปรแกรมทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องทีเดียว การแปลนี้จะ
เป็นการตรวจสอบไวยากรณ์ของภาษา ถ้ามีข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์ของภาษาเกิดขึ้น (Syntax error) ก็
จะแจ้งให้ทราบ เป็นข้อความไดแอคนอสติค (Diagnostic Message) เพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมแก้ไขให้
ถูกต้อง แล้วจึงค่อยแปลคําสั่งใหม่ โปรแกรมที่ยังไม่ผ่านการแปลจะเรียกว่า Source Program หรือ
Source module แต่ถ้าผ่านการแปลเรียบร้อยแล้วและไม่มีข้อผิดพลาดใดๆ จะเรียกโปรแกรมส่วนนี้ว่า
Object Program หรือ Object module
3.23.23.23.2 อินเอินเอินเอินเตอร์พรีเตอร์ตอร์พรีเตอร์ตอร์พรีเตอร์ตอร์พรีเตอร์ เป็นตัวแปลภาษาที่จะทําการแปลโปรแกรมภาษาชั้นสูงทีละคําสั่ง ให้เป็น
ภาษาเครื่องและทําการ Execute หรือทํางานคําสั่งนั้นทันทีทันใดก่อนที่จะทําการแปลในบรรทัดถัดไป ถ้า
ในระหว่างการแปลเกิดพบข้อผิดพลาดที่บรรทัดใดก็จะฟ้อง ให้ทําการแก้ไขทีละบรรทัดนั้นทันที
แปลภาษาได้แก่ ภาษาเบสิก ภาษาเพิร์ล เป็นต้น
4.4.4.4. ภาษาชั้นสูงมากภาษาชั้นสูงมากภาษาชั้นสูงมากภาษาชั้นสูงมาก ((((Very highVery highVery highVery high----level Languagelevel Languagelevel Languagelevel Language) เรียกได้อีกอย่างว่าภาษาในรุ่นที่ 4 (4GLs:
Fourth Generation Languages) ภาษานี้เป็นภาษาที่อยู่ในระดับที่สูงกว่าภาษารุ่นที่ 3 มีลักษณะของ
ภาษาในรุ่นที่เป็นธรรมชาติคล้ายๆ กับภาษาพูดของมนุษย์จะช่วย ในเรื่องของการสร้างแบบฟอร์มบน
หน้าจอเพื่อจัดการเกี่ยวกับข้อมูล รวมไปถึงการออกรายงาน ซึ่งจะมีการจัดการที่ง่ายมากไม่ยุ่งยากเหมือน
ภาษารุ่นที่ 3 ตัวอย่างของภาษาในรุ่นที่ 4 ได้แก่ Informix-4GL, Focus, Sybase, InGres เป็นต้น
5.5.5.5. ภาษาธรรมชาติภาษาธรรมชาติภาษาธรรมชาติภาษาธรรมชาติ ((((Natural Language)Natural Language)Natural Language)Natural Language) เป็นภาษาในยุคที่ 5 ที่มีรูปแบบเป็นแบบ
Nonprocedural เช่นเดียวกับภาษารุ่นที่ 4 ภาษา ธรรมชาตินี้ ถูกสร้างขึ้นมาจากเทคโนโลยีทางด้าน
ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) ซึ่งเป็นงานที่อยู่ในสาขาปัญญาประดิษฐ์สาขาปัญญาประดิษฐ์สาขาปัญญาประดิษฐ์สาขาปัญญาประดิษฐ์ ((((Artificial Intelligence)Artificial Intelligence)Artificial Intelligence)Artificial Intelligence)
ในการที่พยายามทําให้คอมพิวเตอร์เปรียบเสมือนกับเป็นผู้เชี่ยวชาญคนหนึ่ง ที่สามารถคิดและตัดสินใจได้
เช่นเดียวกับมนุษย์ การที่เรียกว่าภาษาธรรมชาติ เพราะมนุษย์สามารถใช้ภาษาพูดป้อนเข้าไปใน
คอมพิวเตอร์ได้โดยตรง ซึ่งอาจมีรูปแบบที่ไม่แน่นอนตายตัว แล้วคอมพิวเตอร์ก็จะแปลคําสั่งเหล่านั้น ให้
อยู่ในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ ถ้าคําถามใดไม่กระจ่างก็จะมีการถามกลับเพื่อให้เข้าใจคําถาม เมื่อ
เข้าใจคําถามแล้วคอมพิวเตอร์ก็จะสามารถตอบคําถามของมนุษย์ได้อย่างถูกต้อง พร้อมทั้งมีข้อแนะนํา
ต่างๆ เพื่อช่วยในการตัดสินใจของมนุษย์ได้อีกด้วย

More Related Content

More from dechathon

บทเรียนที่ 1
บทเรียนที่ 1บทเรียนที่ 1
บทเรียนที่ 1
dechathon
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.4
ใบกิจรรมที่ 1.4ใบกิจรรมที่ 1.4
ใบกิจรรมที่ 1.4dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.3
ใบกิจรรมที่ 1.3ใบกิจรรมที่ 1.3
ใบกิจรรมที่ 1.3dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.2
ใบกิจรรมที่ 1.2ใบกิจรรมที่ 1.2
ใบกิจรรมที่ 1.2dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.5
ใบกิจรรมที่ 1.5ใบกิจรรมที่ 1.5
ใบกิจรรมที่ 1.5dechathon
 
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซี
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซีวิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซี
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซีdechathon
 
สาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้นสาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
dechathon
 
Unit5 16
Unit5 16Unit5 16
Unit5 16
dechathon
 

More from dechathon (20)

บทเรียนที่ 1
บทเรียนที่ 1บทเรียนที่ 1
บทเรียนที่ 1
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1
 
ใบกิจรรมที่ 1.4
ใบกิจรรมที่ 1.4ใบกิจรรมที่ 1.4
ใบกิจรรมที่ 1.4
 
ใบกิจรรมที่ 1.3
ใบกิจรรมที่ 1.3ใบกิจรรมที่ 1.3
ใบกิจรรมที่ 1.3
 
ใบกิจรรมที่ 1.2
ใบกิจรรมที่ 1.2ใบกิจรรมที่ 1.2
ใบกิจรรมที่ 1.2
 
ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1
 
ใบกิจรรมที่ 1.5
ใบกิจรรมที่ 1.5ใบกิจรรมที่ 1.5
ใบกิจรรมที่ 1.5
 
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซี
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซีวิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซี
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซี
 
สาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้นสาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
 
Unit 4 13
Unit 4 13Unit 4 13
Unit 4 13
 
Unit 4 11
Unit 4 11Unit 4 11
Unit 4 11
 
Unit 4 12
Unit 4  12Unit 4  12
Unit 4 12
 
Unit5 16
Unit5 16Unit5 16
Unit5 16
 
Unit5 14
Unit5 14Unit5 14
Unit5 14
 
Unit3 10
Unit3 10Unit3 10
Unit3 10
 
Unit3 9
Unit3 9Unit3 9
Unit3 9
 
Unit3 8
Unit3 8Unit3 8
Unit3 8
 
Unit2 7
Unit2 7Unit2 7
Unit2 7
 
Unit2 6
Unit2 6Unit2 6
Unit2 6
 

ใบความรู้ที่ 1 ภาษาคอมพิวเตอร์

  • 1. ใบความรู้ที่ใบความรู้ที่ใบความรู้ที่ใบความรู้ที่ 1111.1.1.1.1 รายวิชา งรายวิชา งรายวิชา งรายวิชา ง 32221322213222132221 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซีการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซีการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซีการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5555 หน่วยการเรียนรู้ที่หน่วยการเรียนรู้ที่หน่วยการเรียนรู้ที่หน่วยการเรียนรู้ที่ 1111 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาซีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาซีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาซีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาซี เรื่องเรื่องเรื่องเรื่อง ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง อธิบายภาษาคอมพิวเตอร์ได้ ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึง ภาษาใดๆ ที่ผู้ใช้งานใช้สื่อสารกับคอมพิวเตอร์ หรือคอมพิวเตอร์ ด้วยกัน แล้วคอมพิวเตอร์สามารถทํางานตามคําสั่งนั้นได้ คํานี้มักใช้เรียกแทนภาษาโปรแกรม แต่ความ เป็นจริงภาษาโปรแกรมคือส่วนหนึ่งของภาษาคอมพิวเตอร์เท่านั้น และมีภาษาอื่นๆ ที่เป็น ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกเป็นสองกลุ่ม คือ 1) ภาษาระดับสูง (high level) 2) ภาษาระดับต่ํา (low level) ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์ ((((Computer Language)Computer Language)Computer Language)Computer Language) คือ ภาษาที่ใช้ หรือเกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ซึ่งมัก ใช้ร่วมกับภาษาโปรแกรม แต่ภาษาคอมพิวเตอร์นั้นมีความหมายที่กว้างกว่า โดยไม่จําเป็นที่จะต้องเป็น ภาษาโปรแกรม ซึ่งเป็นที่รู้กันว่าภาษาอย่าง HTML หรือ SQL ไม่ใช่ภาษาโปรแกรม แต่ถือว่าเป็น ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรมภาษาโปรแกรมภาษาโปรแกรมภาษาโปรแกรม ((((Program Language)Program Language)Program Language)Program Language) คือ วิธีการมาตรฐานในการสื่อสารสําหรับแสดงคําสั่งไปยัง คอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรมกําหนดไวยากรณ์และการตีความหมายจากโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เขียนขึ้น ภาษาโปรแกรมทําให้โปรแกรมเมอร์สามารถระบุอย่างชัดเจนถึงข้อมูลที่คอมพิวเตอร์จะทํางาน และวิธีการ ที่คอมพิวเตอร์จะประมวลผลข้อมูลเหล่านั้น ภาษาคอมพิวเตอร์มีการพัฒนาหรือมีวิวัฒนาการมาโดยลําดับ เช่นเดียวกับคอมพิวเตอร์ โดยจะสามารถแบ่งออกเป็นยุคหรือเป็นรุ่นของภาษา (Generation) ซึ่งในยุค หลังๆ จะมีการพัฒนาภาษาให้มีความสะดวกในการอ่านและเขียนง่ายขึ้นกว่าภาษาในยุคแรกๆ เนื่องจาก จะมีโครงสร้างภาษาใกล้เคียงกับภาษาอังกฤษ เราสามารถแบ่งภาษาคอมพิวเตอร์ออกได้เป็น 5 ยุค ดังนี้ 1111.... ภาษาเครื่องภาษาเครื่องภาษาเครื่องภาษาเครื่อง ((((Machine LanguageMachine LanguageMachine LanguageMachine Language)))) เป็นภาษาที่เกิดขึ้นในยุคแรกสุด และเป็นภาษาเดียวที่เครื่อง คอมพิวเตอร์จะสามารถเข้าใจคําสั่งได้ ภาษาเครื่องจะแทนข้อมูลหรือคําสั่งในโปรแกรมด้วยกลุ่มของ ตัวเลข 0 และ 1 หรือที่เรียกว่าเลขฐานสอง ซึ่งจะสัมพันธ์กับการเปิด (On) และการปิด (Off) ของ สัญญาณไฟฟ้าภายในเครื่องคอมพิวเตอร์
  • 2. 2.2.2.2. ภาษาแอสแซมบลีภาษาแอสแซมบลีภาษาแอสแซมบลีภาษาแอสแซมบลี ((((Assembly Language)Assembly Language)Assembly Language)Assembly Language) เป็นภาษาที่มีการใช้สัญลักษณ์ข้อความ (Mnemonic codes) แทนกลุ่มของเลขฐานสอง เพื่อให้ง่ายต่อการเขียนและการจดจํามากกว่าภาษาเครื่อง แต่ เนื่องจากคอมพิวเตอร์รู้จักเฉพาะภาษาเครื่องเท่านั้น ดังนั้นภาษาแอสแซมบลี จึงต้องใช้ตัวแปลภาษาที่ เรียกว่า “แอสแซมเบลอร์ (Assembler)” เพื่อแปลคําสั่งภาษาแอสแซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง นอกจากนี้ ผู้ที่จะเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี ได้จะต้องมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของฮาร์ดแวร์เป็นอย่างดี เนื่องจากต้องยุ่งเกี่ยวกับการใช้งานหน่วยความจําที่เป็นรีจิสเตอร์ภายใน 3.3.3.3. ภาษาชั้นสูงภาษาชั้นสูงภาษาชั้นสูงภาษาชั้นสูง ((((HighHighHighHigh----levellevellevellevel Language)Language)Language)Language) เรียกอีกอย่างว่าภาษารุ่นที่ 3 (3rd Generation Languages หรือ 3GLs) เป็นภาษาที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อให้สามารถเขียนและอ่านโปรแกรมได้ง่ายขึ้น เนื่องจากมีลักษณะเหมือนภาษาอังกฤษทั่วๆ ไป และที่สําคัญคือ ผู้เขียนโปรแกรมไม่จําเป็นต้องมีความรู้ เกี่ยวกับระบบฮาร์ดแวร์ ตัวอย่างของภาษาประเภทนี้ ได้แก่ ภาษาฟอร์แทน (FORTRAN) โคบอล (COBOL) เบสิก (BASIC) ปาสคาล (PASCAL) ซี (C) เอดา (ADA) เป็นต้น อย่างไรก็ตามโปรแกรมที่ถูก เขียนด้วยภาษาประเภทนี้จะทํางานได้ก็ต่อเมื่อมีการแปลงให้เป็นภาษาเครื่องเสียก่อน ซึ่งวิธีการแปลง ภาษาชั้นสูงให้เป็นภาษาเครื่องนั้น จะทําได้โดยใช้โปรแกรมที่เรียกว่า “คอมไพล์เลอร์ (Compiler)” หรือ “อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter)” อย่างใดอย่างหนึ่ง โดยภาษาชั้นสูงแต่ละภาษาจะมีตัวแปลภาษาเฉพาะ เป็นของตนเองใช้แทนกันไม่ได้ 3.13.13.13.1 คอมไพเลคอมไพเลคอมไพเลคอมไพเลอร์อร์อร์อร์ จะทําการแปลโปรแกรมทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องทีเดียว การแปลนี้จะ เป็นการตรวจสอบไวยากรณ์ของภาษา ถ้ามีข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์ของภาษาเกิดขึ้น (Syntax error) ก็ จะแจ้งให้ทราบ เป็นข้อความไดแอคนอสติค (Diagnostic Message) เพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมแก้ไขให้ ถูกต้อง แล้วจึงค่อยแปลคําสั่งใหม่ โปรแกรมที่ยังไม่ผ่านการแปลจะเรียกว่า Source Program หรือ Source module แต่ถ้าผ่านการแปลเรียบร้อยแล้วและไม่มีข้อผิดพลาดใดๆ จะเรียกโปรแกรมส่วนนี้ว่า Object Program หรือ Object module 3.23.23.23.2 อินเอินเอินเอินเตอร์พรีเตอร์ตอร์พรีเตอร์ตอร์พรีเตอร์ตอร์พรีเตอร์ เป็นตัวแปลภาษาที่จะทําการแปลโปรแกรมภาษาชั้นสูงทีละคําสั่ง ให้เป็น ภาษาเครื่องและทําการ Execute หรือทํางานคําสั่งนั้นทันทีทันใดก่อนที่จะทําการแปลในบรรทัดถัดไป ถ้า ในระหว่างการแปลเกิดพบข้อผิดพลาดที่บรรทัดใดก็จะฟ้อง ให้ทําการแก้ไขทีละบรรทัดนั้นทันที แปลภาษาได้แก่ ภาษาเบสิก ภาษาเพิร์ล เป็นต้น 4.4.4.4. ภาษาชั้นสูงมากภาษาชั้นสูงมากภาษาชั้นสูงมากภาษาชั้นสูงมาก ((((Very highVery highVery highVery high----level Languagelevel Languagelevel Languagelevel Language) เรียกได้อีกอย่างว่าภาษาในรุ่นที่ 4 (4GLs: Fourth Generation Languages) ภาษานี้เป็นภาษาที่อยู่ในระดับที่สูงกว่าภาษารุ่นที่ 3 มีลักษณะของ ภาษาในรุ่นที่เป็นธรรมชาติคล้ายๆ กับภาษาพูดของมนุษย์จะช่วย ในเรื่องของการสร้างแบบฟอร์มบน หน้าจอเพื่อจัดการเกี่ยวกับข้อมูล รวมไปถึงการออกรายงาน ซึ่งจะมีการจัดการที่ง่ายมากไม่ยุ่งยากเหมือน ภาษารุ่นที่ 3 ตัวอย่างของภาษาในรุ่นที่ 4 ได้แก่ Informix-4GL, Focus, Sybase, InGres เป็นต้น
  • 3. 5.5.5.5. ภาษาธรรมชาติภาษาธรรมชาติภาษาธรรมชาติภาษาธรรมชาติ ((((Natural Language)Natural Language)Natural Language)Natural Language) เป็นภาษาในยุคที่ 5 ที่มีรูปแบบเป็นแบบ Nonprocedural เช่นเดียวกับภาษารุ่นที่ 4 ภาษา ธรรมชาตินี้ ถูกสร้างขึ้นมาจากเทคโนโลยีทางด้าน ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) ซึ่งเป็นงานที่อยู่ในสาขาปัญญาประดิษฐ์สาขาปัญญาประดิษฐ์สาขาปัญญาประดิษฐ์สาขาปัญญาประดิษฐ์ ((((Artificial Intelligence)Artificial Intelligence)Artificial Intelligence)Artificial Intelligence) ในการที่พยายามทําให้คอมพิวเตอร์เปรียบเสมือนกับเป็นผู้เชี่ยวชาญคนหนึ่ง ที่สามารถคิดและตัดสินใจได้ เช่นเดียวกับมนุษย์ การที่เรียกว่าภาษาธรรมชาติ เพราะมนุษย์สามารถใช้ภาษาพูดป้อนเข้าไปใน คอมพิวเตอร์ได้โดยตรง ซึ่งอาจมีรูปแบบที่ไม่แน่นอนตายตัว แล้วคอมพิวเตอร์ก็จะแปลคําสั่งเหล่านั้น ให้ อยู่ในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ ถ้าคําถามใดไม่กระจ่างก็จะมีการถามกลับเพื่อให้เข้าใจคําถาม เมื่อ เข้าใจคําถามแล้วคอมพิวเตอร์ก็จะสามารถตอบคําถามของมนุษย์ได้อย่างถูกต้อง พร้อมทั้งมีข้อแนะนํา ต่างๆ เพื่อช่วยในการตัดสินใจของมนุษย์ได้อีกด้วย