SlideShare a Scribd company logo
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2558
ชื่อโครงงาน รสนิยมของกาแฟ
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาว กัณฐิกา อุดมวัฒนาวรกุล เลขที่ 17 ชั้น ม.6 ห้อง 4
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2558
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
นางสาว กัณฐิกา อุดมวัฒนาวรกุล เลขที่ 17
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) : รสนิยมของกาแฟ
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) : Coffee’s taste
ประเภทโครงงาน : โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน : นางสาว กัณฐิกา อุดมวัฒนาวรกุล
ชื่อที่ปรึกษา : ครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน : 30 กันยายน 2558 – 13 ธันวาคม 2558
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
เนื่องจากปัจจุบันวงการกาแฟกาลังได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก เห็นได้จากร้านกาแฟที่มีจานวน
เพิ่มขึ้นมากมาย ไม่ว่าจะเป็นในตัวเมืองหรือนอกเมือง ซึ่งแต่ละร้านก็จะตกแต่งให้ดูสวย น่ารัก บรรยากาศดี
เพื่อดึงดูดใจลูกค้าให้ไปใช้บริการ และเนื่องด้วยเทคโนโลยีในปัจจุบันทาให้ทุกอย่างง่ายขึ้นสาหรับลูกค้าบาง
ท่านที่อยากจะไปนั่งดื่มกาแฟ หรือหาสถานที่นั่งทางานสงบๆ แต่ไม่รู้จะไปร้านไหนดี เพียงแค่ค้นหาคาว่า ร้าน
กาแฟ ในอินเทอร์เน็ตก็จะมีร้านกาแฟปรากฏขึ้นมามากมาย อีกทั้งยังมีบรรดานักชิมได้รีวิวร้านกาแฟนั้นๆ ไว้
แล้ว ทาให้เราตัดสินใจได้ง่ายมากขึ้นนั่นเอง
จากข้างต้นเราก็รู้แล้วว่า กาแฟได้รับความนิยมมากจริงๆ แต่เคยรู้หรือไม่ว่ากาแฟที่เราดื่มทุกวันนี้ กว่า
จะได้มาเป็นกาแฟแบบนี้ มันผ่านกรรมวิธีอย่างไรบ้าง ประวัติความเป็นมาอย่างไร และนี่ก็เป็นเหตุผลที่ทาให้
ข้าพเจ้าได้ทาโครงงานนี้เพื่อศึกษาเรื่องกาแฟ เริ่มตั้งแต่ประวัติ ประเภท การปลูก ไปจนถึงกาแฟที่ขายในร้าน
ด้วย เพื่อที่จะทาให้เรารู้ลึกซึ้งเกี่ยวกับกาแฟมากขึ้นนั่นเอง
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาของกาแฟ
2. เพื่อศึกษากรรมวิธีในการผลิตกาแฟ
3. เพื่อศึกษาประเภทของกาแฟ
4. เพื่อศึกษาค่านิยมของคนไทยที่มีอิทธิพลต่อกาแฟ
3
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
โครงงานนี้ศึกษาและอธิบายเกี่ยวกับกาแฟโดยเฉพาะ ไม่ว่าจะเป็นประวัติ ประเภท ประโยชน์
กรรมวิธี จนกระทั่งค่านิยมของคนไทยที่นิยมดื่มกาแฟกันเป็นจานวนมาก ซึ่งจะศึกษาโดยละเอียดและเรียบ
เรียงให้มีเนื้อหาที่กะทัดรัด เข้าใจง่าย
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
- ประวัติความเป็นมา
กาแฟถูกค้นพบครั้งแรกโดยเด็กเลี้ยงแพะชาวอาบิสซีเนีย (ประเทศเอธิโอเปียในปัจจุบัน)
ในช่วงก่อนศตวรรษที่ 16 กาแฟถูกปลูกโดยชาวอาหรับเท่านั้น ชาวอาหรับหวงแหนพันธุ์กาแฟมาก จึงส่งออก
เฉพาะเมล็ดกาแฟที่คั่วสุกแล้วเท่านั้น แต่ในที่สุดเมล็ดกาแฟก็ออกมาสู่โลกกว้าง โดยการลักลอบนาออกมาโดย
ชาวอินเดียที่ไปแสวงบุญที่เมกกะ และก็ได้แพร่ขยายไปยังชวา เนเธอร์แลนด์ และทั่วยุโรปในที่สุด สาหรับทวีป
อเมริกานั้น ต้นกาแฟถูกนาไปอย่างยากลาบาก โดยทหารเรือฝรั่งเศสในต้นศตวรรษที่ 18 ในครั้งแรกนั้น มีต้น
กาแฟที่เหลือรอดชีวิตบนเรือมาขึ้นฝั่งอเมริกาได้เพียง 1 ต้น และก็ได้แพร่ขยายเพิ่มขึ้น จนปัจจุบันดินแดนแห่ง
นี้ ได้กลายเป็นดินแดนที่ปลูกกาแฟมากที่สุดในโลก
- ประเภทของกาแฟ
กาแฟดา : ชงด้วยวิธีการหยดน้า เสิร์ฟโดยไม่ใส่นม อาจเติมน้าตาลได้
เอสเพรสโซ : กาแฟที่มีรสแก่และเข้ม ซึ่งมีวิธีการชงโดยใช้แรงอัดไอน้าผ่านเมล็ดกาแฟคั่วที่
บดละเอียด เอสเพรสโซเป็นกาแฟที่นิยมมากที่สุดในแถบประเทศยุโรปตอนใต้ โดยเฉพาะประเทศอิตาลีและ
ฝรั่งเศส รสชาติเข้มข้นและหนักแน่นอันเป็นเอกลักษณ์นี้เอง ทาให้คอกาแฟดื่มเอสเพรสโซโดยไม่ปรุงด้วย
น้าตาลหรือนม และมักจะเสิร์ฟเป็นชอต (แก้วแบบจอก) เพื่อให้ปริมาณไม่มากจนเกินไป
คาปูชิโน : เป็นหนึ่งในเครื่องดื่มประเภทกาแฟซึ่งมีต้นกาเนิดมาจากประเทศอิตาลี คาปูชิโนมี
ส่วนประกอบหลักคือ เอสเพรสโซ และ นม ในประเทศอิตาลี ผู้คนมักดื่มคาปูชิโนเป็นอาหารเช้าโดยเฉพาะ
โดยอาจมีขนมปังแผ่นหรือคุกกี้ประกอบ ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่าวิถีชีวิตของชาวอิตาลีมักไม่ค่อยรับประทาน
อาหารเช้าแบบเป็นกิจลักษณะ คาปูชิโนและขนมปังเบาๆ แต่สาหรับต่างประเทศรวมถึงประเทศไทย การดื่ม
คาปูชิโน ดื่มได้ทุกเวลาโดยไม่ถือว่าเป็นเรื่องแปลก
ลาเต้ : เป็นภาษาอิตาลีแปลว่านม กาแฟลาเต้เริ่มเป็นที่นิยมนอกประเทศอิตาลีในช่วงต้น
ทศวรรษที่ 1980 ในการชงกาแฟลาเต้โดยบาริสต้า จะใช้วิธีขยับข้อมือเล็กน้อยขณะที่รินนมและโฟมนมลงบน
กาแฟ ทาให้เกิดลวดลายต่าง ๆ เรียกว่า ลาเต้อาร์ต (latte art) หรือศิลปะฟองนมในถ้วยกาแฟ
มอคค่า : เป็นกาแฟอราบิก้าชนิดหนึ่ง ซึ่งปลูกอยู่บริเวณท่าเรือมอคค่าในประเทศเยเมน กาแฟ
มอคค่ามีสีและกลิ่นคล้ายชอคโกแลต อันเป็นเอกลักษณ์ที่ทาให้กาแฟมอคค่าเป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย
อเมริกาโน่ : อเมริกาโนมีความแก่พอ ๆ กับกาแฟธรรมดา แต่มีกลิ่นและรสชาติที่เข้มอันมาจาก
เอสเพรสโซ อเมริกาโนเหมาะสาหรับผู้ที่ชื่นชอบกาแฟดา แต่ไม่แก่และหนักถึงขั้นเอสเพรสโซ คอกาแฟส่วน
ใหญ่นิยมดื่มอเมริกาโนโดยไม่ปรุงด้วยนมหรือน้าตาล แม้ที่มาของชื่อจะหมายถึงกาแฟสไตล์อเมริกา แต่
อเมริกาโนก็มิได้เป็นกาแฟที่ชาวอเมริกานิยมดื่ม จนกระทั่งยุครุ่งเรืองของร้านกาแฟแฟรนไชส์ สตาร์บัคส์ ในปี
พ.ศ. 2533 แต่ถึงกระนั้นอเมริกาโนก็ไม่จัดเป็นกาแฟที่ได้รับความนิยมมากนัก
กาแฟขาว : เป็นชาสมุนไพรชนิดหนึ่ง ค้นพบที่เมืองเบรุต นิยมดื่มกันมากในประเทศเลบานอน
และซีเรีย และนิยมทานคู่กับ ขนมหวาน ในประเทศทางยุโรปบางประเทศ จะกล่าวถึง ไวต์คอฟฟี ในลักษณะ
4
ของกาแฟใส่นม ในขณะเดียวกันไวต์คอฟฟีในสหรัฐอเมริกาจะหมายถึง กาแฟที่กลั่นไว้นานจนมีสีคล้ายกับสี
เหลือง
- กรรมวิธีในการผลิตกาแฟ
การบ่ม : กาแฟหลายๆ ประเภทจะมีคุณภาพดีขึ้นเมื่อผ่านการบ่ม รสเปรี้ยวของมันจะลดลง
ในขณะที่ความกลมกลืนของรสชาติโดยรวมก็จะเพิ่มขึ้น ผู้ผลิตหลายๆ รายมักจะขายเมล็ดกาแฟออกไป
หลังจากได้บ่มเอาไว้แล้วถึง 3 ปี
การคั่ว : กระบวนการคั่วเป็นขั้นตอนที่ขาดไม่ได้ในการที่จะได้กาแฟรสชาติดีสักถ้วยหนึ่ง. เมื่อถูก
คั่ว เมล็ดกาแฟสีเขียวก็จะพองออกจนเกือบจะมีขนาดเป็นสองเท่าของของเดิม พร้อมทั้งเปลี่ยนสีและความ
หนาแน่นไป เมื่อเมล็ดได้รับความร้อน มันจะค่อยๆ เปลี่ยนเป็นสีเหลืองและในที่สุดก็จะกลายเป็นสีน้าตาล
อ่อนๆ ในการคั่วแบบอ่อนๆ กาแฟจะเก็บรสชาติดั้งเดิมไว้ได้ดีกว่า รสชาติดั้งเดิมนี้จะขึ้นอยู่กับดินและสภาพ
อากาศในที่ที่ต้นกาแฟได้เติบโตขึ้นมา
การบด : ความละเอียดของกากที่ได้จากการบดมีผลอย่างมากต่อรสชาติ ยิ่งบดกาแฟละเอียด
เท่าไร ก็จะยิ่งได้รสชาติที่เข้มข้นและครบบริบูรณ์มากขึ้นเท่านั้น เหตุผลหลักที่บางคนไม่บดละเอียดมากนัก คือ
เพื่อไม่ให้กากสามารถผ่านตัวกรองชนิดหยาบๆ ออกไปได้ (เช่น cafetiere) การผลิตกากกาแฟพร้อมชงมีสาม
วิธีด้วยกัน คือ การโม่ การสับ และการบดเป็นผง
การชง : การชงกาแฟมีหลากหลายวิธี ซึ่งสามารถแบ่งเป็นประเภทตามการให้น้ากับกากกาแฟ
ได้สี่ประเภทหลักๆ ดังนี้ การต้มเดือด การใช้ความดัน การใช้แรงโน้มถ่วง และการจุ่ม
- ความนิยมในการดื่มกาแฟของคนไทย
ในอดีตการดื่มกาแฟในสังคมไทยถือเป็นวัฒนธรรมเฉพาะของกลุ่มชนชั้นสูง ก่อนจะแพร่ขยายลง
สู่ชนชั้นกลางและประชาชนทั่วไปในเวลาต่อมา ดังจะเห็นว่ามีร้านกาแฟเล็กๆ ปรากฏตัวขึ้นทั่วไปในบริเวณ
ชุมชนและย่านตลาดต่างๆ การมานั่งดื่มกาแฟ อ่านหนังสือพิมพ์ กินขนมปังปิ้ง พร้อมวิเคราะห์เหตุบ้าน
การเมือง กลายเป็นกิจกรรมยามเช้าของผู้ที่อยู่อาศัยในละแวกเดียวกัน กิจวัตรประจาวันเช่นนี้ได้พัฒนา
กลายเป็น “วัฒนธรรมท้องถิ่น” ที่เราเรียกกันว่า “สภากาแฟ” ไปในที่สุด
นับแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน วัฒนธรรมการจิบกาแฟของคนไทยได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จากสภากาแฟ
เล็กๆ ตามหมู่บ้านก็พัฒนาเติบโตขึ้นเป็น “ธุรกิจ” ที่ขยายวงกว้าง โดยเฉพาะในช่วงทศวรรษที่ผ่านมานี้มีปัจจัย
หลายอย่างที่เป็นแรงกระตุ้นให้ธุรกิจกาแฟขยายตัว อาทิเช่น การเข้ามาเปิดตลาดในเมืองไทยของ
“สตารบัคส์” กาแฟแบรนด์ดังระดับโลก ที่ช่วยให้คนไทยมีความรู้ความเข้าใจ และมีรสนิยมการดื่มกาแฟที่
พัฒนาขึ้น รวมถึงได้สร้างสรรค์วัฒนธรรมการดื่มกาแฟ (Coffee Culture) จนร้านกาแฟกลายเป็นพื้นที่ที่ 3
(Third place) ที่เปิดกว้างให้ “คนเมืองยุคใหม่” ได้มาแลกเปลี่ยนประสบการณ์ พูดคุย และใช้เป็นสถานที่
ทางานอีกแห่ง
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. กาหนดหัวข้อเรื่องที่ต้องการศึกษา
2. เขียนโครงร่างของโครงงานเรื่องที่ต้องการศึกษา
3. ค้นคว้าหาและเก็บข้อมูลเรื่องที่ต้องการศึกษา
5
4. รวบรวมข้อมูล
5. วิเคราะห์ข้อมูล
6. ตรวจสอบและแก้ไขข้อผิดพลาด
7. นาเสนอโครงงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. คอมพิวเตอร์
2. โปรแกรม Microsoft Power Point
3. อินเทอร์เน็ต
4. รูปเล่มนาเสนอโครงงาน
งบประมาณ
รูปเล่มโครงงานประมาณ 80 บาท
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน กัณฐิกา
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล กัณฐิกา
3 จัดทาโครงร่างงาน กัณฐิกา
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน กัณฐิกา
5 ปรับปรุงทดสอบ กัณฐิกา
6 การทาเอกสารรายงาน กัณฐิกา
7 ประเมินผลงาน กัณฐิกา
8 นาเสนอโครงงาน กัณฐิกา
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1. ได้รู้ประวัติความเป็นมาของกาแฟ
2. เข้าใจกรรมวิธีในการผลิตกาแฟ
3. รู้ประเภทของกาแฟ
4. ได้รู้ว่านิยมของคนไทยดื่มกาแฟกันเป็นจานวนมาก
สถานที่ดาเนินการ
1. โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
2. บ้านผู้จัดทา
3. ห้องสมุดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
6
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
- กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
- กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา และวัฒนธรรม
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
Coffee. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.anatomy.dent.chula.ac.th/coffee.html. ๑๘
ธันวาคม ๒๕๕๘.
จากวัฒนธรรมนาเข้า สู่แบรนด์สินค้าส่งออก : ว่าด้วยเรื่องของ “กาแฟ” กับ “ชีวิตคนไทย”.
(ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.tcdc.or.th/src/15144/. ๑๘ ธันวาคม ๒๕๕๘.

More Related Content

Similar to 2558 project

2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
kasama suwanna
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Pukkad Kcn
 
2558 project อภิสิทธิ์
2558 project  อภิสิทธิ์2558 project  อภิสิทธิ์
2558 project อภิสิทธิ์
artaphs
 
2561 project 41
2561 project 412561 project 41
รวมโครงงานหลัก 1 (1)
รวมโครงงานหลัก 1 (1)รวมโครงงานหลัก 1 (1)
รวมโครงงานหลัก 1 (1)
Supanan Fom
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ploypoll
 
โครงร าง
โครงร างโครงร าง
โครงร างnampeungnsc
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
Paphatsara Rueancome
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_nnnsb
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
wisita42
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
dewdrw
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
dewdrw
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
dewdrw
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
kanokwanintra1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Supharat Rungsri
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Panpreeya Kawturn
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานAutcharapun Kanya
 

Similar to 2558 project (20)

2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2558 project อภิสิทธิ์
2558 project  อภิสิทธิ์2558 project  อภิสิทธิ์
2558 project อภิสิทธิ์
 
ปก
ปกปก
ปก
 
ปกP
ปกPปกP
ปกP
 
2561 project 41
2561 project 412561 project 41
2561 project 41
 
รวมโครงงานหลัก 1 (1)
รวมโครงงานหลัก 1 (1)รวมโครงงานหลัก 1 (1)
รวมโครงงานหลัก 1 (1)
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร าง
โครงร างโครงร าง
โครงร าง
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 

2558 project

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2558 ชื่อโครงงาน รสนิยมของกาแฟ ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว กัณฐิกา อุดมวัฒนาวรกุล เลขที่ 17 ชั้น ม.6 ห้อง 4 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม นางสาว กัณฐิกา อุดมวัฒนาวรกุล เลขที่ 17 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) : รสนิยมของกาแฟ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) : Coffee’s taste ประเภทโครงงาน : โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน : นางสาว กัณฐิกา อุดมวัฒนาวรกุล ชื่อที่ปรึกษา : ครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน : 30 กันยายน 2558 – 13 ธันวาคม 2558 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) เนื่องจากปัจจุบันวงการกาแฟกาลังได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก เห็นได้จากร้านกาแฟที่มีจานวน เพิ่มขึ้นมากมาย ไม่ว่าจะเป็นในตัวเมืองหรือนอกเมือง ซึ่งแต่ละร้านก็จะตกแต่งให้ดูสวย น่ารัก บรรยากาศดี เพื่อดึงดูดใจลูกค้าให้ไปใช้บริการ และเนื่องด้วยเทคโนโลยีในปัจจุบันทาให้ทุกอย่างง่ายขึ้นสาหรับลูกค้าบาง ท่านที่อยากจะไปนั่งดื่มกาแฟ หรือหาสถานที่นั่งทางานสงบๆ แต่ไม่รู้จะไปร้านไหนดี เพียงแค่ค้นหาคาว่า ร้าน กาแฟ ในอินเทอร์เน็ตก็จะมีร้านกาแฟปรากฏขึ้นมามากมาย อีกทั้งยังมีบรรดานักชิมได้รีวิวร้านกาแฟนั้นๆ ไว้ แล้ว ทาให้เราตัดสินใจได้ง่ายมากขึ้นนั่นเอง จากข้างต้นเราก็รู้แล้วว่า กาแฟได้รับความนิยมมากจริงๆ แต่เคยรู้หรือไม่ว่ากาแฟที่เราดื่มทุกวันนี้ กว่า จะได้มาเป็นกาแฟแบบนี้ มันผ่านกรรมวิธีอย่างไรบ้าง ประวัติความเป็นมาอย่างไร และนี่ก็เป็นเหตุผลที่ทาให้ ข้าพเจ้าได้ทาโครงงานนี้เพื่อศึกษาเรื่องกาแฟ เริ่มตั้งแต่ประวัติ ประเภท การปลูก ไปจนถึงกาแฟที่ขายในร้าน ด้วย เพื่อที่จะทาให้เรารู้ลึกซึ้งเกี่ยวกับกาแฟมากขึ้นนั่นเอง วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาของกาแฟ 2. เพื่อศึกษากรรมวิธีในการผลิตกาแฟ 3. เพื่อศึกษาประเภทของกาแฟ 4. เพื่อศึกษาค่านิยมของคนไทยที่มีอิทธิพลต่อกาแฟ
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) โครงงานนี้ศึกษาและอธิบายเกี่ยวกับกาแฟโดยเฉพาะ ไม่ว่าจะเป็นประวัติ ประเภท ประโยชน์ กรรมวิธี จนกระทั่งค่านิยมของคนไทยที่นิยมดื่มกาแฟกันเป็นจานวนมาก ซึ่งจะศึกษาโดยละเอียดและเรียบ เรียงให้มีเนื้อหาที่กะทัดรัด เข้าใจง่าย หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) - ประวัติความเป็นมา กาแฟถูกค้นพบครั้งแรกโดยเด็กเลี้ยงแพะชาวอาบิสซีเนีย (ประเทศเอธิโอเปียในปัจจุบัน) ในช่วงก่อนศตวรรษที่ 16 กาแฟถูกปลูกโดยชาวอาหรับเท่านั้น ชาวอาหรับหวงแหนพันธุ์กาแฟมาก จึงส่งออก เฉพาะเมล็ดกาแฟที่คั่วสุกแล้วเท่านั้น แต่ในที่สุดเมล็ดกาแฟก็ออกมาสู่โลกกว้าง โดยการลักลอบนาออกมาโดย ชาวอินเดียที่ไปแสวงบุญที่เมกกะ และก็ได้แพร่ขยายไปยังชวา เนเธอร์แลนด์ และทั่วยุโรปในที่สุด สาหรับทวีป อเมริกานั้น ต้นกาแฟถูกนาไปอย่างยากลาบาก โดยทหารเรือฝรั่งเศสในต้นศตวรรษที่ 18 ในครั้งแรกนั้น มีต้น กาแฟที่เหลือรอดชีวิตบนเรือมาขึ้นฝั่งอเมริกาได้เพียง 1 ต้น และก็ได้แพร่ขยายเพิ่มขึ้น จนปัจจุบันดินแดนแห่ง นี้ ได้กลายเป็นดินแดนที่ปลูกกาแฟมากที่สุดในโลก - ประเภทของกาแฟ กาแฟดา : ชงด้วยวิธีการหยดน้า เสิร์ฟโดยไม่ใส่นม อาจเติมน้าตาลได้ เอสเพรสโซ : กาแฟที่มีรสแก่และเข้ม ซึ่งมีวิธีการชงโดยใช้แรงอัดไอน้าผ่านเมล็ดกาแฟคั่วที่ บดละเอียด เอสเพรสโซเป็นกาแฟที่นิยมมากที่สุดในแถบประเทศยุโรปตอนใต้ โดยเฉพาะประเทศอิตาลีและ ฝรั่งเศส รสชาติเข้มข้นและหนักแน่นอันเป็นเอกลักษณ์นี้เอง ทาให้คอกาแฟดื่มเอสเพรสโซโดยไม่ปรุงด้วย น้าตาลหรือนม และมักจะเสิร์ฟเป็นชอต (แก้วแบบจอก) เพื่อให้ปริมาณไม่มากจนเกินไป คาปูชิโน : เป็นหนึ่งในเครื่องดื่มประเภทกาแฟซึ่งมีต้นกาเนิดมาจากประเทศอิตาลี คาปูชิโนมี ส่วนประกอบหลักคือ เอสเพรสโซ และ นม ในประเทศอิตาลี ผู้คนมักดื่มคาปูชิโนเป็นอาหารเช้าโดยเฉพาะ โดยอาจมีขนมปังแผ่นหรือคุกกี้ประกอบ ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่าวิถีชีวิตของชาวอิตาลีมักไม่ค่อยรับประทาน อาหารเช้าแบบเป็นกิจลักษณะ คาปูชิโนและขนมปังเบาๆ แต่สาหรับต่างประเทศรวมถึงประเทศไทย การดื่ม คาปูชิโน ดื่มได้ทุกเวลาโดยไม่ถือว่าเป็นเรื่องแปลก ลาเต้ : เป็นภาษาอิตาลีแปลว่านม กาแฟลาเต้เริ่มเป็นที่นิยมนอกประเทศอิตาลีในช่วงต้น ทศวรรษที่ 1980 ในการชงกาแฟลาเต้โดยบาริสต้า จะใช้วิธีขยับข้อมือเล็กน้อยขณะที่รินนมและโฟมนมลงบน กาแฟ ทาให้เกิดลวดลายต่าง ๆ เรียกว่า ลาเต้อาร์ต (latte art) หรือศิลปะฟองนมในถ้วยกาแฟ มอคค่า : เป็นกาแฟอราบิก้าชนิดหนึ่ง ซึ่งปลูกอยู่บริเวณท่าเรือมอคค่าในประเทศเยเมน กาแฟ มอคค่ามีสีและกลิ่นคล้ายชอคโกแลต อันเป็นเอกลักษณ์ที่ทาให้กาแฟมอคค่าเป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย อเมริกาโน่ : อเมริกาโนมีความแก่พอ ๆ กับกาแฟธรรมดา แต่มีกลิ่นและรสชาติที่เข้มอันมาจาก เอสเพรสโซ อเมริกาโนเหมาะสาหรับผู้ที่ชื่นชอบกาแฟดา แต่ไม่แก่และหนักถึงขั้นเอสเพรสโซ คอกาแฟส่วน ใหญ่นิยมดื่มอเมริกาโนโดยไม่ปรุงด้วยนมหรือน้าตาล แม้ที่มาของชื่อจะหมายถึงกาแฟสไตล์อเมริกา แต่ อเมริกาโนก็มิได้เป็นกาแฟที่ชาวอเมริกานิยมดื่ม จนกระทั่งยุครุ่งเรืองของร้านกาแฟแฟรนไชส์ สตาร์บัคส์ ในปี พ.ศ. 2533 แต่ถึงกระนั้นอเมริกาโนก็ไม่จัดเป็นกาแฟที่ได้รับความนิยมมากนัก กาแฟขาว : เป็นชาสมุนไพรชนิดหนึ่ง ค้นพบที่เมืองเบรุต นิยมดื่มกันมากในประเทศเลบานอน และซีเรีย และนิยมทานคู่กับ ขนมหวาน ในประเทศทางยุโรปบางประเทศ จะกล่าวถึง ไวต์คอฟฟี ในลักษณะ
  • 4. 4 ของกาแฟใส่นม ในขณะเดียวกันไวต์คอฟฟีในสหรัฐอเมริกาจะหมายถึง กาแฟที่กลั่นไว้นานจนมีสีคล้ายกับสี เหลือง - กรรมวิธีในการผลิตกาแฟ การบ่ม : กาแฟหลายๆ ประเภทจะมีคุณภาพดีขึ้นเมื่อผ่านการบ่ม รสเปรี้ยวของมันจะลดลง ในขณะที่ความกลมกลืนของรสชาติโดยรวมก็จะเพิ่มขึ้น ผู้ผลิตหลายๆ รายมักจะขายเมล็ดกาแฟออกไป หลังจากได้บ่มเอาไว้แล้วถึง 3 ปี การคั่ว : กระบวนการคั่วเป็นขั้นตอนที่ขาดไม่ได้ในการที่จะได้กาแฟรสชาติดีสักถ้วยหนึ่ง. เมื่อถูก คั่ว เมล็ดกาแฟสีเขียวก็จะพองออกจนเกือบจะมีขนาดเป็นสองเท่าของของเดิม พร้อมทั้งเปลี่ยนสีและความ หนาแน่นไป เมื่อเมล็ดได้รับความร้อน มันจะค่อยๆ เปลี่ยนเป็นสีเหลืองและในที่สุดก็จะกลายเป็นสีน้าตาล อ่อนๆ ในการคั่วแบบอ่อนๆ กาแฟจะเก็บรสชาติดั้งเดิมไว้ได้ดีกว่า รสชาติดั้งเดิมนี้จะขึ้นอยู่กับดินและสภาพ อากาศในที่ที่ต้นกาแฟได้เติบโตขึ้นมา การบด : ความละเอียดของกากที่ได้จากการบดมีผลอย่างมากต่อรสชาติ ยิ่งบดกาแฟละเอียด เท่าไร ก็จะยิ่งได้รสชาติที่เข้มข้นและครบบริบูรณ์มากขึ้นเท่านั้น เหตุผลหลักที่บางคนไม่บดละเอียดมากนัก คือ เพื่อไม่ให้กากสามารถผ่านตัวกรองชนิดหยาบๆ ออกไปได้ (เช่น cafetiere) การผลิตกากกาแฟพร้อมชงมีสาม วิธีด้วยกัน คือ การโม่ การสับ และการบดเป็นผง การชง : การชงกาแฟมีหลากหลายวิธี ซึ่งสามารถแบ่งเป็นประเภทตามการให้น้ากับกากกาแฟ ได้สี่ประเภทหลักๆ ดังนี้ การต้มเดือด การใช้ความดัน การใช้แรงโน้มถ่วง และการจุ่ม - ความนิยมในการดื่มกาแฟของคนไทย ในอดีตการดื่มกาแฟในสังคมไทยถือเป็นวัฒนธรรมเฉพาะของกลุ่มชนชั้นสูง ก่อนจะแพร่ขยายลง สู่ชนชั้นกลางและประชาชนทั่วไปในเวลาต่อมา ดังจะเห็นว่ามีร้านกาแฟเล็กๆ ปรากฏตัวขึ้นทั่วไปในบริเวณ ชุมชนและย่านตลาดต่างๆ การมานั่งดื่มกาแฟ อ่านหนังสือพิมพ์ กินขนมปังปิ้ง พร้อมวิเคราะห์เหตุบ้าน การเมือง กลายเป็นกิจกรรมยามเช้าของผู้ที่อยู่อาศัยในละแวกเดียวกัน กิจวัตรประจาวันเช่นนี้ได้พัฒนา กลายเป็น “วัฒนธรรมท้องถิ่น” ที่เราเรียกกันว่า “สภากาแฟ” ไปในที่สุด นับแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน วัฒนธรรมการจิบกาแฟของคนไทยได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จากสภากาแฟ เล็กๆ ตามหมู่บ้านก็พัฒนาเติบโตขึ้นเป็น “ธุรกิจ” ที่ขยายวงกว้าง โดยเฉพาะในช่วงทศวรรษที่ผ่านมานี้มีปัจจัย หลายอย่างที่เป็นแรงกระตุ้นให้ธุรกิจกาแฟขยายตัว อาทิเช่น การเข้ามาเปิดตลาดในเมืองไทยของ “สตารบัคส์” กาแฟแบรนด์ดังระดับโลก ที่ช่วยให้คนไทยมีความรู้ความเข้าใจ และมีรสนิยมการดื่มกาแฟที่ พัฒนาขึ้น รวมถึงได้สร้างสรรค์วัฒนธรรมการดื่มกาแฟ (Coffee Culture) จนร้านกาแฟกลายเป็นพื้นที่ที่ 3 (Third place) ที่เปิดกว้างให้ “คนเมืองยุคใหม่” ได้มาแลกเปลี่ยนประสบการณ์ พูดคุย และใช้เป็นสถานที่ ทางานอีกแห่ง วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. กาหนดหัวข้อเรื่องที่ต้องการศึกษา 2. เขียนโครงร่างของโครงงานเรื่องที่ต้องการศึกษา 3. ค้นคว้าหาและเก็บข้อมูลเรื่องที่ต้องการศึกษา
  • 5. 5 4. รวบรวมข้อมูล 5. วิเคราะห์ข้อมูล 6. ตรวจสอบและแก้ไขข้อผิดพลาด 7. นาเสนอโครงงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. คอมพิวเตอร์ 2. โปรแกรม Microsoft Power Point 3. อินเทอร์เน็ต 4. รูปเล่มนาเสนอโครงงาน งบประมาณ รูปเล่มโครงงานประมาณ 80 บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน กัณฐิกา 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล กัณฐิกา 3 จัดทาโครงร่างงาน กัณฐิกา 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน กัณฐิกา 5 ปรับปรุงทดสอบ กัณฐิกา 6 การทาเอกสารรายงาน กัณฐิกา 7 ประเมินผลงาน กัณฐิกา 8 นาเสนอโครงงาน กัณฐิกา ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1. ได้รู้ประวัติความเป็นมาของกาแฟ 2. เข้าใจกรรมวิธีในการผลิตกาแฟ 3. รู้ประเภทของกาแฟ 4. ได้รู้ว่านิยมของคนไทยดื่มกาแฟกันเป็นจานวนมาก สถานที่ดาเนินการ 1. โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 2. บ้านผู้จัดทา 3. ห้องสมุดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
  • 6. 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง - กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี - กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา และวัฒนธรรม แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) Coffee. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.anatomy.dent.chula.ac.th/coffee.html. ๑๘ ธันวาคม ๒๕๕๘. จากวัฒนธรรมนาเข้า สู่แบรนด์สินค้าส่งออก : ว่าด้วยเรื่องของ “กาแฟ” กับ “ชีวิตคนไทย”. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.tcdc.or.th/src/15144/. ๑๘ ธันวาคม ๒๕๕๘.