SlideShare a Scribd company logo
เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก   1



                  เฉลยข้อสอบโควตา ม.ขอนแก่น ปี                                    𝟐𝟓𝟓𝟎
                                      วิชา คณิตศาสตร์(วิทย์)
                                   สอบวันที่ 𝟒 พฤศจิกายน 𝟐𝟓𝟓𝟎
ตอนที่ 𝟏 ข้อสอบแบบปรนัยแบบ 𝟒 ตัวเลือก จานวน 𝟏𝟒 ข้อ (ข้อ 𝟏 − 𝟏𝟒) ข้อละ 𝟐 คะแนน
 𝟏. ให้ 𝒑 แทนประพจน์ "สาหรับจานวนจริง 𝒙 ทุกตัว ถ้า 𝒙 < 2 แล้ว 𝒙 𝟐 < 4"
     ให้ 𝒒 แทนประพจน์ "สาหรับจานวนจริง 𝒙 ทุกตัว มีจานวนจริง 𝒚 บางตัวที่ 𝒙 𝟐 𝒚 = 𝒙"
ประพจน์ในข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็นเท็จ
 [𝟏] ~𝒑 ⇒ 𝒒                                         𝟐 ~𝒑 ⇒ ~𝒒
 [𝟑] 𝒒 ⇒ ~𝒑                                         𝟒 ~𝒒 ⇒ ~𝒑


เฉลย
 𝑝 แทนประพจน์ ∀𝑥 ∈ ℝ [𝑥 < 2 ⇒ 𝑥 2 < 4] เป็นเท็จครับ
เพราะ มีจานวนจริงบางตัวที่ 𝑥 < 2 แล้ว 𝑥 2 ≮ 4
เช่น 𝑥 = −3 จะได้ −3 < 2 แต่ 𝑥 2 = (−3)2 = 9 ≮ 4 ดังนั้น 𝑝 จึงเป็นเท็จคับ
 𝑞 แทนประพจน์ ∀𝑥∃𝑦[𝑥 2 𝑦 = 𝑥]
กรณี 𝑥 = 0 เราเลือก 𝑦 ตัวไหนก็ได้ เพราะ 02 𝑦 = 0 เสมอ
กรณี 𝑥 ≠ 0 เราเลือก 𝑦 = 1𝑥 จะทาให้ 𝑥 2 ∙ 1𝑥 = 𝑥
                       1                  1
เช่น 𝑥 = −2 เลือก 𝑦 = (−2) จะได้ (−2)2 ∙ (−2) = −2
ดังนั้นทุกจานวนจริง 𝑥 เราสามารถหา 𝑦 ได้เสมอคับ ดังนั้นจะได้ 𝑞 เป็นจริง
เมื่อพิจารณา ข้อ [1] ~𝑝 ⇒ 𝑞 ≡ ~𝐹 ⇒ 𝑇 ≡ 𝑇 ⇒ 𝑇 ≡ 𝑇
             ข้อ [2] ~𝑝 ⇒ ~𝑞 ≡ ~𝐹 ⇒ ~𝑇 ≡ 𝑇 ⇒ 𝐹 ≡ 𝐹
             ข้อ [3] 𝑞 ⇒ ~𝑝 ≡ 𝑇 ⇒ ~𝐹 ≡ 𝑇 ⇒ 𝑇 ≡ 𝑇
             ข้อ [4] ~𝑞 ⇒ ~𝑝 ≡ ~𝑇 ⇒ ~𝐹 ≡ 𝐹 ⇒ 𝑇 ≡ 𝑇
ตอบข้อ [𝟐]

วิเคราะห์ : ข้อนี้ต้องการตรวจสอบเราเรื่องตรรกศาสตร์คับ ต้องเข้าใจประพจน์บ่งชี้ปริมาณ

จะเป็นจริงหรือเท็จเมื่อไหร่ ไม่ค่อยออกบ่อยเท่าไหร่ แต่ก็ถือว่าไม่ยากคับ สู้ๆ
เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก       2


                                                                 𝟑
 𝟐. ถ้า 𝑨 = {𝒑|𝒑 เป็นจานวนเฉพาะ และ 𝒑 หาร 𝟓𝟎𝟒 − 𝟐𝒑                   ลงตัว} แล้ว ผลบวกของสมาชิกของเซต 𝑨 คือ
ข้อใดต่อไปนี้
[𝟏] 𝟗                 𝟐   𝟏𝟎            [𝟑]    𝟏𝟏                𝟒     𝟏𝟐



เฉลย
 วิธีที่ 1 ข้อนีเราสามารถทาแบบเลือกสุมไปเรือยๆได้ เพราะเราเห็นตัวเลือกแล้ว มีคามากสุดคือ 12 เอง แสดงว่าจานวน
               ้                     ่     ่                                  ่
เฉพาะนั้นไม่เยอะมาก เอาหละเรามาลองสุ่มตัวเลขกันดู
 𝑝 = 2 ; จะได้ [504 − 2(2)]3 = [504 − 4]3 = 5003 พบว่า 𝑝|5003 ว้าวใช้ได้
𝑝 = 3 ; จะได้ [504 − 2(3)]3 = [504 − 6]3 = 4983 พบว่า 𝑝|4983 ว้าวใช้ได้อีกแล้ว
𝑝 = 5 ; จะได้ [504 − 2(5)]3 = [504 − 10]3 = 4943 พบว่า 𝑝 ∤ 4943 ตัวนี้ไม่ลงตัวคับ
𝑝 = 7 ; จะได้ [504 − 2(7)]3 = [504 − 14]3 = 4903 พบว่า 𝑝|4903 ว้าวใช้ได้อีกแล้ว
ดังนั้น 𝑝 ทั้งหมดคือ 2, 3, 7 บวกกันได้ 12 คับตัวเลือกข้อนี้สุดๆ แล้วคับ
                              3     3       2         2       3
 วิธีที่ 2 เนืองจาก (𝐴 − 𝐵) = 𝐴 − 3𝐴 𝐵 + 3𝐴𝐵 − 𝐵
              ่
หรือเราท่องกันจนชินปากว่า (หน้า − หลัง)3 = หน้า3 − 3หน้า2 หลัง + 3หน้าหลัง2 − หลัง3
                                2
ถ้ายังจากันไม่ได้ก็ นา 𝐴 − 𝐵        𝐴− 𝐵 =        𝐴2 − 2𝐴𝐵 + 𝐵2           𝐴 − 𝐵 อันนี้เป็นกาลังสองคงคุ้นกันนะคับ
เอาหล่ะ คราวนี้เราจะมาพิจารณา
    504 − 2𝑝 3 = 5043 − 3 504 2 2𝑝 + 3 504 (2𝑝)2 − (2𝑝)3
เนื่องจาก 𝑝|3 504 2 2𝑝 (เพราะมีตัวประกอบคือ 𝑝 อยู่ด้วยคับ)
           𝑝|3(504)(2𝑝)2 (เพราะมีตัวประกอบคือ 𝑝 อยู่ด้วยคับ)
           𝑝|(2𝑝)3 (เพราะมีตัวประกอบคือ 𝑝 อยู่ด้วยคับ)
โดยหลักการของการหารลงตัว เรามีข้อสังเกตอยู่ว่า
ถ้า 𝑎 𝑏 ± 𝑐 ± 𝑑 ± ⋯ ± 𝑦 ± 𝑧 และ 𝑎 𝑏, 𝑎 𝑐, 𝑎 𝑑, … , 𝑎|𝑦 เราสามารถสรุปได้ว่า 𝑎|𝑧
นั่นคือ 𝑝|5043 จะได้ว่า 𝑝|504 (เนื่องจากว่า ถ้า 𝑎 𝑏 𝑛 แล้ว 𝑎 𝑏 สาหรับทุก 𝑛 ที่เป็นจานวนเต็มบวกคับ )
เราจึงหาจานวนเฉพาะทั้งหมดที่หาร 504 ได้ทั้งหมด 3 ตัวคือ 2, 3, 7 โดยได้มาจากการแยกตัวประกอบ
504 = 23 ⋅ 32 ⋅ 7
ตอบข้อ [4]
วิเคราะห์ : ข้อนี้ถ้าน้องคนไหนอ่อนเรื่องทฤษฎีจานวนสักหน่อย ก็แย่เหมือนกัน โดยเฉพาะเรื่องการหารลง

ตัวนี่ข้อสอบขาดไม่ได้ เห็นออกกันอยู่ทุกปี คับ ถ้าไม่คล่องทฤษฎีก็ไปอ่านมาซะนะ
เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก   3


 𝟑. จานวนเต็มบวกจานวนหนึ่งมีสี่หลัก และหารด้วย 𝟗𝟎 ลงตัว ถ้าจานวนนี้มีตัวเลขหลักพันเป็น 𝟐 และหลัก

ร้อยเป็น 𝟏 แล้วหลักสิบคือข้อใด

[𝟏] 𝟔                  𝟐       𝟕           [𝟑]   𝟖                 𝟒   𝟗


เฉลย จากข้อมูลเราสามารถเขียนจานวนนี้คือ 2 1 𝑎 𝑏
แต่เนื่องจาก 90|21𝑎𝑏 เราจะเห็นได้ว่า 𝑏 = 0 ได้เพียงอย่างเดียว
ดังนั้น เราจึงพิจารณาเพียง 9|21𝑎 โดยวิธีตั้งหารยาวเราจะได้ 𝑎 = 6
หลักสิบจึงเป็น 6
ตอบข้อ [1] ข้อนี้ง่ายจริงๆคับ ถ้าเป็นเราสอบต้องเก็บคะแนนข้อนี้ให้ได้นะ
วิเคราะห์ : ข้อนี้ถือว่าออกมาให้กินคะแนนฟรีๆ (พะนะ !) ไม่ยากเลย แค่รู้จักคาว่า "หารลงตัว "




 𝟒. เมตริกซ์ในข้อใดต่อไปนี้มีรูปขั้นบันไดแบบแถว (𝑹𝒐𝒘 𝒆𝒄𝒉𝒆𝒍𝒐𝒏 𝒇𝒐𝒓𝒎)


         𝟏    𝟐    𝟑       𝟒                                               𝟏   𝟐   𝟑   𝟒
 [𝟏]     𝟎    𝟓    𝟔       𝟕                                       𝟐       𝟎   𝟎   𝟏   𝟐
         𝟎    𝟎    𝟎       𝟏                                               𝟎   𝟏   𝟎   𝟔

         𝟏    𝟐    𝟑       𝟒                                               𝟏   𝟎   𝟎   𝟎
 [𝟑]     𝟎    𝟎    𝟏       𝟕                                       𝟒       𝟎   𝟎   𝟎   𝟎
         𝟎    𝟎    𝟎       𝟎                                               𝟎   𝟎   𝟏   𝟎

เฉลย เมตริกซ์ในรูปขั้นบันไดแถว (𝑅𝑜𝑤 𝑒𝑐𝑕𝑒𝑙𝑜𝑛 𝑓𝑜𝑟𝑚) คือเมตริกซ์ที่มีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
1. เป็นเมตริกซ์ที่มีตัวนาในแต่ละแถว เป็น 1
2. สมาชิกที่อยู่หน้าตัวนาทุกตัวต้องเป็น 0
3. ตัวนา 1 ในแต่ละคอลัมน์ต้องอยู่แบบเยื้องมาทางขวามือ (ห้ามอยู่ตรงกัน) เช่น


 1 3 4            5                    0   1 3 4                       1 2 3 4             5
 0 1 7            −1               ,   0   0 1 1               ,       0 1 1 4             5
 0 0 1            −3                   0   0 0 1                       0 0 0 1             2
เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก   4


4. แถวที่มีสมาชิกเป็น 0 หมด (ถ้ามี) แถวนั้นต้องอยู่ล่างสุด
             1 0       0 1
เช่น         0 1       0 0
             0 0       0 0

จากตัวเลือกของข้อนี้ เราจะได้ข้อ [3] เป็น 𝑅𝑜𝑤 𝑒𝑐𝑕𝑒𝑙𝑜𝑛 𝑓𝑜𝑟𝑚
จริงๆแล้วถ้าใครไม่รู้จัก 𝑅𝑜𝑤 𝑒𝑐𝑕𝑒𝑙𝑜𝑛 𝑓𝑜𝑟𝑚 ก็ไม่แปลกครับ เนื้อหานี้อยู่ใน 𝑀𝑎𝑡𝑕𝑒𝑚𝑎𝑡𝑖𝑐𝑠 𝐼 ของคณะ
วิทยาศาสตร์ น้องๆปี 1 ทุกคนต้องได้เรียน ครับ แต่เพื่อเตรียมความพร้อมของน้อง ม . 6 จึงเอามาออกสอบมั้งคับ
ตอบข้อ [3]
วิเคราะห์ : ข้อนี้ต้องการตรวจสอบนิยามของ            𝑅𝑜𝑤 𝑒𝑐𝑕𝑒𝑙𝑜𝑛 𝑓𝑜𝑟𝑚 ใครอ่านมาก็ได้ ใครไม่ได้อ่านมาก็ตัว

ใครตัวมันคับ เพราะน้อยนักน้อยหน้าจะออกแบบนี้




 𝟓. กาหนดให้ 𝑻 = 𝟏, 𝟐, 𝟑, 𝟒, 𝟓, 𝟔 และความสัมพันธ์ 𝒓 = {(𝒙, 𝒚) ∈ 𝑻 × 𝑻|𝒙 > 5 หรือ 𝒚 ≤ 𝟐}
และ 𝒔 = {(𝒙, 𝒚) ∈ 𝑻 × 𝑻|𝒙 ≤ 𝟓 หรือ 𝒚 > 2} ข้อใดต่อไปนี้ผิด
 [𝟏] 𝑹 𝒓 − 𝑹 𝒔 = ∅                                            𝟐      𝑫𝒓 ∪ 𝑫𝒔 = 𝑻
 [𝟑] 𝒓 ∪ 𝒔 = 𝑻 × 𝑻                                            𝟒      𝒓∩ 𝒔= ∅
เฉลย อย่างแรกเราต้องหา 𝑟 ก่อนนะ
แต่พี่อยากให้น้องทบทวนก่อนว่า 𝑇 × 𝑇 (อ่านว่า 𝑇 ครอส 𝑇 ) มีสมาชิกกี่ตัว ก็มีเท่ากับ 𝑛(𝑇) ∙ 𝑛 𝑇 ครับ
เท่ากับ 6 ∙ 6 = 36 ซึ่งได้แก่
{ 1, 1 , 1, 2 , 1, 3 , … , 1, 6 , 2, 1 , 2, 2 , … , (6, 6)}
จากโจทย์โดเมนของ 𝑟 ต้องมากกว่า 5 ดังนั้นคู่ลาดับที่สอดคล้อง คือ
 6, 1 , 6, 2 , 6, 3 , 6, 4 , 6, 5 , 6, 6 ∈ 𝑟 มี 6 ตัวใช่ป่ะ
จากเรนจ์ของ 𝑟 ต้องน้อยกว่าหรือเท่ากับ 2 ดังนั้นคู่ลาดับที่สอดคล้อง คือ
 1, 1 , 1, 2 , 2, 1 , 2, 2 , 3, 1 , 3, 2 , 4, 1 , 4, 2 , 5, 1 , 5, 2 , 6, 1 , (6, 2) ∈ 𝑟
ดังนั้นนาสองเซตมายูเนียนกัน จะพบว่ามีบางสมาชิกซ้ากัน (ในเซตเราถือว่าเอามาตัวเดียวพอ)
จะได้ 𝑟 = { 1, 1 , 1, 2 , 2, 1 , 2, 2 , 3, 1 , 3, 2 , 4, 1 , 4, 2 , 5, 1 , 5, 2 , 6, 1 , 6, 2 ,
  6, 3 , 6, 4 , 6, 5 , (6, 6)}
ดังนั้น 𝐷 𝑟 = 1, 2, 3, 4, 5, 6 , 𝑅 𝑟 = {1, 2, 3, 4, 5, 6}         (เท่ากันเยย)
คราวนี้เรามาดูของ 𝑠 กันบ้างนะครับ
เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก        5


จาก 𝑠 =      𝑥, 𝑦 ∈ 𝑇 × 𝑇 𝑥 ≤ 5 หรือ 𝑦 > 2}
โดเมนของ 𝑠 น้อยกว่าหรือเท่ากับ 5
จะได้คู่ลาดับที่สอดคล้อง คือ    1, 1 , 1, 2 , 1, 3 , … , 1, 6 ,
         2, 1 ,   2, 2 , 2, 3 , … , 2, 6 ,
         3, 1 ,   3, 2 , 3, 3 , … , 3, 6 ,
           ⋮                           ⋮
        5, 1 ,    5, 2 , 5, 3 , … , (5, 6) ∈ 𝑠
หรือ เรนจ์ของ 𝑠   มากกว่า 2 จะได้ คู่ลาดับที่สอดคล้อง คือ
         1, 3 , 1, 4 , 1, 5 , 1, 6 ,
         2, 3 , 2, 4 , 2, 5 , 2, 6 ,
          ⋮                      ⋮
         6, 3 , 6, 4 , 6, 5 , (6, 6) ∈ 𝑠


จับสมาชิกของ 𝑠 ทั้งหมดมารวมกันจะได้ จะได้
 𝑠 = { 1, 1 ,     1, 2 , 1, 3 , … , 1, 6 ,
       2, 1 ,     2, 2 , 2, 3 , … , 2, 6 ,
       3, 1 ,     3, 2 , 3, 3 , … , 3, 6 ,
         ⋮                             ⋮
       5, 1 ,     5, 2 , 5, 3 , … , 5, 6 ,
       6, 3 ,     6, 4 , 6, 5 , (6, 6)}

 𝐷 𝑠 = 1, 2, 3, 4, 5, 6 , 𝑅 𝑠 = {1, 2, 3, 4, 5, 6}
ดังนั้นตอนนี้สรุปว่า 𝐷 𝑟 = 𝑅 𝑟 = 𝐷 𝑠 = 𝑅 𝑠 = {1, 2, 3, 4, 5, 6} = 𝑇
พิจารณาตัวเลือกแต่ละข้อคับ
    1 𝑅 𝑟 − 𝑅 𝑠 = ∅ ถูกแล้วคับ
    2 𝐷 𝑟 ∪ 𝐷 𝑠 = 𝑇 มันถูกอีกแล้ว
   [3] 𝑟 ∪ 𝑠 = 𝑇 × 𝑇 ถูกต้องนะค้าบ ลองยูเนียนกันดูได้ครบทุกตัวคับ
    4     𝑟 ∩ 𝑠 = ∅ ผิดคับ เพราะมีตั้งหลายตัวที่ซ้ากัน เป็นไปบ่ได้ดอกที่จะเป็นเซตว่าง อย่างน้อยๆก็มี (1,1) ล่ะเอ้า
จริงๆแล้วตอนหาโดเมนกับเรนจ์ ข้อนี้เราไม่จาเป็นกระจาย จนกระจุยออกมาหมดเปลือกเหมือนอย่างพี่ก็ได้คับ เพราะโดเมน
กับเรนจ์สุดๆก็มี 6 ตัว แต่อย่างไรก็ตามเราก็ต้องหามันอยู่ดี เพราะข้อ 3 , [4] เราต้องรู้ว่ามันมีอะไรบ้าง
ตอบข้อ [4]
วิเคราะห์ : ข้อนี้ออกจะยาวสักหน่อย แต่ถ้าได้ฝึกทาบ่อยๆ พี่ป๋อ ณัฐวุฒิ ยังเรียกพี่คับ มันออกจะถึกสักหน่อย
แต่ก็คุ้มเพราะมีแค่เรื่องเซต และผลคูณคาร์ทีเซียน เรียนกันมาตั้งแต่ ม.𝟒 (แต่ก็คืนอาจารย์ไปหมดแล้ว)
เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก   6


  𝟔. ถ้ากราฟของสมการ 𝒚 = 𝒇(𝒙) เป็นฟังก์ชันเพิ่มและ 𝒄 เป็นจานวนจริงใดๆ แล้วกราฟของสมการในข้อใด
ต่อไปนี้ไม่เป็นฟังก์ชันเพิ่ม
 [𝟏] 𝒚 = 𝒇(𝒙 − 𝒄)                                                𝟐    𝒚= 𝒇 𝒙 + 𝒄
 [𝟑] 𝒚 = 𝒇 −𝒙 − 𝒄                                                𝟒    𝒚 = −𝒇 −𝒙 + 𝒄


เฉลย เรามาดูนิยามของฟังก์ชันเพิ่มและฟังก์ชันลดกันก่อนนะครับ

ฟังก์ชันเพิ่ม

                สาหรับทุกค่า 𝑥1 , 𝑥2 ที่อยู่ในโดเมนของ 𝑓      ถ้า 𝑥1 > 𝑥2 แล้ว 𝑓 𝑥1 > 𝑓 𝑥2

(จาไว้ว่า เครื่องหมายเหมือนกัน )

นิยามของฟังก์ชันเพิ่มอาจนิยามได้อีกแบบคือ ถ้า 𝑥1 < 𝑥2 แล้ว 𝑓 𝑥1 < 𝑓 𝑥2


ฟังก์ชันลด
                  สาหรับทุกค่า 𝑥1 , 𝑥2 ที่อยู่ในโดเมนของ 𝑓      ถ้า 𝑥1 > 𝑥2 แล้ว 𝑓 𝑥1 < 𝑓 𝑥2


(จาไว้ว่า เครื่องหมายต่าง )

นิยามของฟังก์ชันลดอาจนิยามได้อีกแบบคือ ถ้า 𝑥1 < 𝑥2 แล้ว 𝑓 𝑥1 > 𝑓 𝑥2

ข้อนี้ขอเสนอวิธีเช็ค ง่ายๆ โดยสมมติฟังก์ชันที่เป็นฟังก์ชันเพิ่มมาสัก 1 ตัว

คือ 𝑦 = 𝑓 𝑥 = 𝑥 + 1 เราจะแสดงว่า 𝑓 เป็นฟังก์ชันเพิ่มดังนี้

ให้     𝑥1 > 𝑥2

บวกด้วย 1 ทั้งสองข้างอสมการ จะได้           𝑥1 + 1 > 𝑥2 + 1

ดังนั้น 𝑓 𝑥1 > 𝑓 𝑥2               (เพราะจากโจทย์ 𝑥1 + 1 = 𝑓(𝑥1 ) และ 𝑥2 + 1 = 𝑓(𝑥2 ) )

นั่นคือ 𝑓 เป็นฟังก์ชันเพิ่มครับ

ตรวจสอบตัวเลือกข้อ 1 ครับ

ให้ 𝑐 = 1 (ให้เป็นอะไรก็ได้ เพราะเป็นค่าคงที่ใดๆ)

พิจารณา 𝑦 = 𝑓 𝑥 − 1 = 𝑥 − 1 + 1 = 𝑥

ได้ฟังก์ชันนี้คือ 𝑦 = 𝑓(𝑥) = 𝑥 เมื่อตรวจสอบโดยนิยามข้างต้นจะได้ 𝑓 เป็นฟังก์ชันเพิ่มครับ
เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก   7




ตรวจสอบข้อ [2] ให้ 𝑐 = 1 เหมือนเดิม

 𝑦 = 𝑓 𝑥 + 𝑐 = 𝑥 + 1 + 1 = 𝑥 + 2 จะได้ 𝑦 = 𝑓(𝑥) = 𝑥 + 2

เมื่อตรวจสอบโดยนิยามของฟังก์ชันเพิ่มจะได้ 𝑓 เป็นฟังก์ชันเพิ่มครับ

ตรวจสอบข้อ 3 ให้ 𝑐 = 1

 𝑦 = 𝑓 −𝑥 − 𝑐 = −𝑥 + 1 − 1 = −𝑥 จะได้ 𝑦 = 𝑓(𝑥) = −𝑥 เป็นฟังก์ชันลดครับ วิธีการพิสูจน์เป็นดังนี้

ให้ 𝑥1 > 𝑥2

คูณด้วย −1 ตลอดอสมการนี้ จะได้ −𝑥1 < −𝑥2 นั่นคือ 𝑓 𝑥1 < 𝑓(𝑥2 )

จะได้ 𝑓 เป็นฟังก์ชันลดครับ

ส่วนข้อ [4] นั้นเป็นฟังก์ชันเพิ่มครับ ลองทาดูคล้ายๆกับตัวอย่างข้างบนครับ

ตอบข้อ [3]
วิเคราะห์ : ข้อสอบประเภทนี้ไม่ค่อยออกครับ แต่ก็ออกมาเพื่อทดสอบความรู้เรื่องนิยามฟังก์ชันเพิ่มฟังก์ชัน
ลดครับ นิยามก็ไม่ยากที่จะจดจาครับ เพราะฉะนั้นข้อนี้ก็ไม่ยากเกินไปครับ



𝟕. กาหนดให้วงกลมอยู่ในครอดรันต์ที่ 𝟏 มีรัศมีเท่ากับ 𝟑 หน่วย และสัมผัสแกน 𝑿 และแกน 𝒀 ที่จุด 𝑨 และ 𝑩

ตามลาดับ ถ้า 𝑳 เป็นเส้นตรงที่ตัดแกน 𝑿 และแกน 𝒀 ที่จุด 𝑨 และ 𝑩 ตามลาดับ แล้วระยะห่างระหว่างจุด
ศูนย์กลางของวงกลมกับเส้นตรง 𝑳 คือข้อใดต่อไปนี้
            𝟐                                               𝟑 𝟐
 [𝟏]    𝟐
                หน่วย                                 𝟐      𝟐
                                                                    หน่วย
 [𝟑] 𝟐 𝟐 หน่วย                                        𝟒    𝟑 𝟐 หน่วย
เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก   8


เฉลย




จากภาพเราจะได้จุดศูนย์วงกลมคือ (3,3)
  วิธีที่ 1 เนื่องจาก ∆𝐴𝑂𝐵 เป็นสามเหลี่ยมมุมฉาก
เราสามารถหาความยาว 𝐵𝐴 ได้จากทฤษฎีบทปีทากอรัส นั่นคือ
                                         2
                                    𝐵𝐴       = 32 + 32 = 9 + 9 = 18
                                             𝐵𝐴 = 18 = 3 2
เนื่องจาก พท.∆𝐴𝑂𝐵 คือ
                         1              1          1
                           ∙ ฐาน ∙ สูง = ∙ 𝐵𝐴 ∙ 𝑕 = ∙ 3 2 ∙ 𝑕 ______(1)
                         2              2          2



แต่เนื่องจาก พท.∆𝐴𝑂𝐵 (มองในทางกลับด้านกันนะ)
                            1              1          1
                        =     ∙ ฐาน ∙ สูง = ∙ 𝐵𝐴 ∙ 𝑕 = ∙ 3 ∙ 3 _______(2)
                            2              2          2

ดังนั้น 1 = (2)
                                         1          1
                                           ∙3 2∙ 𝑕 = ∙3∙3
                                         2          2
ดังนั้น
                                                    3       3 2
                                               𝑕=       =
                                                    2        2
เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก   9




 วิธีที่ 1   (สาหรับคนที่ชื่นชอบเรขาคณิตวิเคราะห์)
จากภาพเราจะหาสมการเส้นตรง 𝐿 จากจุดผ่าน 𝐴(3, 0) และ 𝐵(0, 3)
หาความชัน
                                           𝑦2 − 𝑦1 3 − 0   3
                                     𝑚=           =      =   = −1
                                           𝑥2 − 𝑥1 0 − 3 −3

เนื่องจากสมการทั่วไปของเส้นตรง คือ 𝑦 = 𝑚𝑥 + 𝑐 เมื่อ 𝑥, 𝑦 คือจุดผ่าน และ 𝑚 คือ ความชัน
เราเลือกจุดผ่านเส้นตรงมา 1 จุด คือ (3, 0) (อันนี้เราสามารถเลือก (0, 3) ก็ได้)
จะได้ 0 = (−1)(3) + 𝑐 นั่นคือ 𝑐 = 3 เราจะได้สมการเส้นตรงคือ 𝑦 = −𝑥 + 3

 การหาสมการเส้นตรงทาได้อีกวิธีคือ แทนค่าในสูตร 𝑦 − 𝑦1 = 𝑚(𝑥 − 𝑥1 ) เมื่อ (𝑥1 , 𝑦1 ) คือจุดผ่าน เราจะ

 ได้สมการเส้นตรง       𝑦 − 0 = (−1)(𝑥 − 3) = −𝑥 + 3 ⟹ 𝑦 = −𝑥 + 3



จากสูตรของระยะห่างระหว่างเส้นตรง 𝐴𝑥 + 𝐵𝑦 + 𝑐 = 0 กับจุด (𝑥1 , 𝑦1 ) คือ

                                                     𝐴𝑥1 + 𝐵𝑦1 + 𝐶
                                             𝑑=
                                                         𝐴2 + 𝐵 2

ดังนั้นระยะห่างระหว่างเส้นตรง 𝑥 + 𝑦 − 3 = 0 กับจุด 3, 3 คือ

                                      1 3 + 1 3 −3                  3       3 2
                                                               =        =
                                             12 + 12                2        2



ตอบข้อ [2]
วิเคราะห์ : ข้อสอบประเภทนี้ถือว่าไม่ยากเพราะเลือกทาได้ตั้งสองวิธี ใครถนัดแบบไหนก็ทาแบบนั้นครับ
ถึงแม้ว่าวิธีที่สอง จะยาวไปหน่อย แต่วิธีแรกก็อาจใช้ไม่ได้ ถ้า ∆𝑨𝑩𝑶 ไม่เป็นสามเหลี่ยมมุมฉากในขณะที่
วิธีที่สองทาได้หมดครับ เพราะฉะนั้นควรฝึกทั้งสองวิธี จะได้เก่งๆจริงมั้ย  ในเรื่องเรขาคณิตวิเคราะห์
จาเป็นต้องจาสูตรพื้นฐานต่างๆ ให้ได้หมดไม่งั้นจะทาไม่ได้เลยครับ
เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก   10




 𝟖. วงรีรูปหนึ่งมีความยาวของแกนเอกเท่ากับความยาวของเลตัสเรกตัมของพาราโบลา 𝒙 𝟐 − 𝟒𝒙 − 𝟖𝒚 +
                                                 𝟏
 𝟐𝟖 = 𝟎 ถ้าวงรีนี้มีความเยื้องศูนย์กลางเท่ากับ       แล้วความยาวของแกนโทของวงรีนี้ คือข้อใดต่อไปนี้
                                                 𝟐
 [𝟏] 𝟐 หน่วย                                         𝟐   𝟐 𝟑 หน่วย
 [𝟑] 𝟒 หน่วย                                         𝟒   𝟒 𝟑 หน่วย



เฉลย พิจารณาพาราโบลา เราต้องการความยาวลาตัสเรกตัม นั่นคือ 4𝑐

ขั้นแรกพยายามจัดรูปให้อยู่ในรูปมาตรฐาน คือ (𝑥 − 𝑕)2 = 4𝑐 𝑦 − 𝑘 จาก

                                        𝑥 2 − 4𝑥 − 8𝑦 + 28 = 0

                                           𝑥 2 − 4𝑥 = 8𝑦 − 28




                                       (𝑥 − 2)2 − 4 = 8𝑦 − 28

                                          (𝑥 − 2)2 = 8𝑦 − 24

                                         (𝑥 − 2)2 = 8(𝑦 − 3)

ดังนั้น 4𝑐 = 8 นั่นคือ 4𝑐 = 8 เป็นค่า เลตัสเรกตัม (𝐿𝑅) ดังนั้นความยาวแกนเอกคือ 8 นั่นคือ
                                                                     𝑐
2𝑎 = 8 จะได้ 𝑎 = 4      จากสูตรความเยื้องศูนย์กลางของวงรี คือ 𝑒 =        (อันนี้ต้องจาหน่อยนะครับ)
                                                                     𝑎

ดังนั้น
                                          1  𝑐 𝑐
                                            = = ⇒ 𝑐=2
                                          2  𝑎 4

จากความสัมพันธ์ระหว่าง 𝑎, 𝑏 , 𝑐 ของวงรีคือ 𝑎2 = 𝑏2 + 𝑐 2

( 𝑎 เป็นใหญ่ในวงรี 𝑐 เป็นใหญ่ใน 𝑕𝑦𝑝𝑒𝑟 ถ้าใน 𝑕𝑦𝑝𝑒𝑟 จะได้ 𝑐 2 = 𝑎2 + 𝑏2 )

ดังนั้น 42 = 𝑏2 + 22 จะได้ 𝑏 = 2 3 ดังนั้นความยาวแกนโทคือ 2𝑏 = 4 3
เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก            11


ตอบข้อ [4]

วิเคราะห์ : ข้อสอบประเภทนี้ทดสอบเรื่องวงรีและพาราโบลาครับ ทุกสมการเราต้องจาให้ได้ครับ
โดยเฉพาะสมการมาตรฐาน เพราะข้อสอบนิยมออกสอบแบบผสมผสานกันอย่างมากครับ
และอย่าได้คิดว่าจาเรื่อง วงกลม พาราโบลา วงรี และไฮเปอร์แล้วจะทาได้ เราต้องจาเรื่องเรขาคณิตวิเคราะห์
ด้วย โดยเฉพาะเรื่องเส้นตรง และสูตรต่างๆ ต้องหาเทคนิคจาให้ได้



                                                                                   𝟐 𝒙 −𝟐               𝟐𝒙
 𝟗. กาหนดให้ ℝ แทนเซตของจานวนจริงและ 𝑨 = 𝒙 ∈ ℝ 𝟓 𝟗                                          = 𝟔𝟐𝟓 𝟐 } ผลบวกสมาชิกของ 𝑨

คือข้อใดต่อไปนี้

                            −𝟐                                                 𝟏
[𝟏] −𝟏                  𝟐                  [𝟑]      𝟎                   𝟒
                             𝟓                                                 𝟓
เฉลย การแก้สมการหรืออสมการ ที่อยู่ในรูปเอกซ์โปเนนเชียล เราจาเป็นที่จะต้องทาฐานให้เท่ากันครับ
                        𝟐 𝒙 −𝟐             𝟐𝒙                𝟐𝒙               𝟐𝒙             𝟐 ∙𝟐 𝟐𝒙             𝟐𝒙+𝟐
                   𝟓𝟗            = 𝟔𝟐𝟓 𝟐        = (𝟓 𝟒 ) 𝟐        = (𝟓) 𝟒∙𝟐        = (𝟓) 𝟐             = (𝟓) 𝟐

เมื่อฐานเท่ากันแล้ว เราจะนาเลขชี้กาลังมาเท่ากันครับ จะได้ว่า

                                                                  𝟗 𝟐 𝒙 − 𝟐 = 𝟐 𝟐𝒙+𝟐

                                                 𝟐 𝟐𝒙+𝟐 − 𝟗 𝟐 𝒙 + 𝟐 = 0

                                                𝟒 ∙ 𝟐 𝟐𝒙 − 𝟗 𝟐 𝒙 + 𝟐 = 0_____(1)

ต่อไปให้ 𝐵 = 2 𝑥 แทนใน (1)

                                                        4𝐵2 − 9𝐵 + 2 = 0

                                                   4𝐵 − 1           𝐵−2 =0

                                                                               1
                                                                            𝐵 = ,2
                                                                               4

กรณี 𝐵 = 1 ⇒ 2 𝑥 = 1 = 2−2 ⇒ 𝑥 = −2
         4         4


กรณี 𝐵 = 2 ⇒ 2 𝑥 = 2 ⇒ 𝑥 = 1

ดังนั้นผลบวกคาตอบ คือ −2 + 1 = −1
เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก    12


ตอบข้อ [1]

วิเคราะห์ : ข้อสอบประเภทนี้ออกสอบทุกปีครับ อยู่ที่ว่าจะเอาคาตอบไปทาอะไรครับ เรื่องเอกซ์โปรเนี่ยมัน
ยากตรงที่ทาฐานให้เท่ากัน และแปลงเป็นสมการกาลังสอง แล้วแยกตัวประกอบออกมา หาคาตอบครับ
เรื่องการแยกตัวประกอบก็มีความสาคัญมากเหมือนกันครับ จาเป็นต้องมีพื้นฐานเรื่องนี้มาก



                             −𝟒
 𝟏𝟎. ค่าของ 𝒄𝒐𝒔 𝒂𝒓𝒄𝒕𝒂𝒏            คือข้อใดต่อไปนี้
                              𝟑


      −𝟒               −𝟑                        𝟑                        𝟒
[𝟏]                𝟐                    𝟑                             𝟒
      𝟓                 𝟓                        𝟓                        𝟓


เฉลย อย่างแรกเราต้องนึกถึง
                                                     𝑐𝑜𝑠(𝑎𝑟𝑐𝑐𝑜𝑠 𝑥) = 𝑥

                                            −𝟒
ดังนั้นเราต้องหาค่า 𝑦 ที่ทาให้ 𝒂𝒓𝒄𝒕𝒂𝒏       𝟑
                                                     = 𝒂𝒓𝒄𝒄𝒐𝒔 𝒚

             −4                                      −4        4
ให้ 𝑎𝑟𝑐𝑡𝑎𝑛    3
                  = 𝜃 แสดงว่า 𝑡𝑎𝑛𝜃 =                 3
                                                          = − 3 เราจึงเขียนสามเหลี่ยมมุมฉากได้สองรูปดังนี้
เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก          13


สังเกตเห็นว่ารูปทั้งสองให้ค่า 𝑡𝑎𝑛𝜃 = − 4 ทั้งคู่ แต่เราต้องเลือกมาพิจารณาเพียงรูปเดียวเท่านั้น สิ่งจะกาหนดได้ว่าเรา
                                       3

                                      −𝟒
จะเลือกรูปไหนคือ 𝜽 = 𝒂𝒓𝒄𝒕𝒂𝒏            𝟑
                                            แต่ − 2𝜋 < 𝑎𝑟𝑐𝑡𝑎𝑛 𝑥 < 2𝜋 นั่นคือ เรนจ์ของ 𝑎𝑟𝑐𝑡𝑎𝑛 𝑥 มีค่าอยู่ระหว่าง

ครอดรันต์ที่ 1 หรือ 4 เท่านั้น แต่ 𝑡𝑎𝑛 𝜃 มีเครื่องหมายลบ ทาให้ 𝜃 ต้องอยู่ในครอดรันต์ที่ 4 นั่นคือเราต้องเลือกรูปที่ 1

มาพิจารณานั่นเอง เพราะ 𝑐𝑜𝑠 𝜃 = 3 เป็นบวก สอดคล้องกับที่ 𝜃 อยู่ในครอดรันต์ที่ 4
                               5

ถ้ายังไม่เข้าใจเรื่องเครื่องหมายของค่าฟังก์ชันเหล่านี้ ให้ไปอ่านในหัวข้อ หลักการลดทอนมุมทางตรีโกณมิติ ในหัวข้อถัดจาก

ข้อ 12

          ทบทวน − 2𝜋 ≤ 𝑎𝑟𝑐𝑠𝑖𝑛 𝑥 ≤ 2𝜋 , 0 ≤ 𝑎𝑟𝑐𝑐𝑜𝑠 𝑥 ≤ 𝜋 , − 2𝜋 < 𝑎𝑟𝑐𝑡𝑎𝑛 𝑥 < 2𝜋 จาได้มั้ยเอ่ย


เมื่อได้สามเหลี่ยมมุมฉากรูปที่ 1 มาแล้ว ก็อย่าได้ให้สูญเปล่า เราจึงพิจารณาได้ดังนี้
                                                    −4               3
                                           𝑎𝑟𝑐𝑡𝑎𝑛      = 𝜃 = 𝑎𝑟𝑐𝑐𝑜𝑠⁡ )
                                                                   (
                                                    3                5

นั่นคือ
                                                    −4                          3         3
                                𝑐𝑜𝑠 𝑎𝑟𝑐𝑡𝑎𝑛                = 𝑐𝑜𝑠 𝑎𝑟𝑐𝑐𝑜𝑠                =
                                                    3                           5         5

ตอบข้อ [1]

วิเคราะห์ : ข้อสอบข้อนี้อาจต้องใช้ความรู้เรื่องโดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชัน               𝒂𝒓𝒄𝒕𝒂𝒏 มาช่วย ตรงนี้สาคัญ

มากครับ ถ้ายังไม่เข้าใจ ควรทาความเข้าใจให้ถ่องแท้ซะ เพราะข้อสอบออกบ่อยมากๆ แทบทุกปี มีข้อสอบ
แบบนี้แต่เปลี่ยนฟังก์ชันไปเรื่อยๆ อาจเป็น 𝒔𝒊𝒏, 𝒄𝒐𝒔, 𝒕𝒂𝒏 มันไม่ยากถ้าหากเราใส่ใจมันสักนิด
เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก         14


                                                           𝟐               𝟐
𝟏𝟏. กาหนดให้ 𝒖 และ 𝒗 เป็นเวกเตอร์ซึ่ง 𝒖 + 𝒗                    + 𝒖− 𝒗          = 𝟐𝟐 และ 𝒖 =         𝟑 ถ้ามุมระหว่าง

 𝒖 และ 𝒗 เป็น 𝟔𝟎° แล้วค่าของ 𝒖 ∙ 𝒗 คือข้อใดต่อไปนี้


 [𝟏]        𝟐                                  𝟐           𝟔

 [𝟑]        𝟏𝟐                                𝟒            𝟏𝟖
เฉลย
จากสูตรการดอทกันของเวกเตอร์
                                      𝑢 ∙ 𝑣 = 𝑢 𝑣 𝑐𝑜𝑠𝜃____________(1)


เมื่อ 𝜃 เป็นมุมระหว่าง 𝑢 และ 𝑣
เนื่องจาก
                         2            2
                  𝑢+ 𝑣       + 𝑢− 𝑣       = 𝑢 2+2 𝑢∙ 𝑣 + 𝑣                     2
                                                                                   + 𝑢   2
                                                                                             −2 𝑢∙ 𝑣 + 𝑣   2

                                          =2 𝑢 2+2 𝑣 2
                                          = 22



ดังนั้นเราจะได้
                                                       2             2
                                                   𝑢           + 𝑣       = 11
แต่ 𝑢 = 3

ดังนั้น 3 + 𝑣 2 = 11 ⇒ 𝑣 = 8

จาก (1)
                                                                                                1
                     𝑢 ∙ 𝑣 = 𝑢 𝑣 𝑐𝑜𝑠𝜃 = 3 ∙ 8 ∙ 𝑐𝑜𝑠60° = 3 ∙ 8 ∙                                  = 6
                                                                                                2

ตอบข้อ [2]

วิเคราะห์ : ข้อสอบข้อนี้ถ้าจานิยามของการดอท และสูตรกาลังสองของเวกเตอร์ก็ทาได้แล้วครับ ถือว่าไม่
ยาก แต่ก็ออกสอบทุกปีเหมือนกัน
เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก        15


                                       𝟏𝟎
                             𝟏+ 𝟑𝒊
𝟏𝟐. ถ้า 𝒛 =                                 แล้ว ตัวผกผันของการบวกของ 𝒛 คือข้อใดต่อไปนี้
                             𝟏− 𝟑𝒊


            𝟏                𝟑                                                𝟏                   𝟑
 [𝟏] − 𝟐 +                       𝒊                                   𝟐   − 𝟐−                         𝒊
                         𝟐                                                                    𝟐


        𝟏            𝟑                                                   𝟏            𝟑
 [𝟑]        +                𝒊                                      𝟒        −            𝒊
        𝟐        𝟐                                                       𝟐        𝟐
เฉลย พิจารณา

                                               1 + 3𝑖 (1 + 3𝑖)               1 + 2 3𝑖 + ( 3𝑖)2
                                                                         =
                                               1 − 3𝑖 (1 + 3𝑖)                        1 − ( 3𝑖)2

                                                                1 + 2 3𝑖 − 3
                                                            =
                                                                  1 − (−3)

                                                                1 + 2 3𝑖 − 3
                                                            =
                                                                     4

                                                                    −2 + 2 3𝑖
                                                              =
                                                                        4

                                                                    −1   3𝑖
                                                                =      +
                                                                    2    2

        อืมมม…..ต้องยกกาลัง 10 เชียวรึเนี่ยว จะยกยังไงไหวเนี่ย เพราะมันต้องยาวขึ้นเรื่อยๆแน่

เราต้องเปลี่ยนให้อยู่ในรูปเชิงขั้วก่อนถึงจะง่ายครับ 555 + +

มาดูวิธีทาให้อยู่ในรูปเชิงขั้วก่อนครับ (ต้องจาซะหน่อยนะ) และจะชี้ให้เห็นด้วยว่า ถ้าไม่คูณด้วยสังยุค เพื่อจัดรูปก่อนจะยาว

กว่าที่จัดรูปมากน้อยแค่ไหน มาดูกันเลย

พิจารณา ให้ 𝑧1 = 1 + 3𝑖 = 𝑎 + 𝑏𝑖

                                     𝑏    3                  𝜋
                𝑡𝑎𝑛𝜃 =                 =    ดังนั้น 𝜃 = 60° = (อยู่ในครอดรันต์ที่ 1 ,                     𝑎 เป็น + และ 𝑏 เป็น+)
                                     𝑎   1                   3

และ 𝑟 =          𝑎2 + 𝑏 2 =                  12 + ( 3)2 = 4 = 2

ดังนั้น 𝑧1 = 𝑟 𝑐𝑜𝑠𝜃 + 𝑖𝑠𝑖𝑛𝜃 = 2(𝑐𝑜𝑠 3𝜋 + 𝑖𝑠𝑖𝑛 3𝜋 )

การหามุมถ้าใครยังสงสัยให้ไปดูที่ หลักการหามุมเพื่อเขียนจานวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว ในหัวข้อหลังจากข้อนี้
เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก   16


ให้ 𝑧2 = 1 − 3𝑖 = 𝑎 + 𝑏𝑖

                         𝑏 − 3                    5𝜋
           𝑡𝑎𝑛𝜃 =          =   ดังนั้น 𝜃 = 300° =    (อยู่ในครอดรันต์ที่ 4, 𝑎 เป็น + และ 𝑏 เป็น−)
                         𝑎   1                    3

และ 𝑟 =          𝑎2 + 𝑏 2 =       12 + (− 3)2 = 4 = 2

                                                      5𝜋                 5𝜋
ดังนั้น 𝑧1 = 𝑟 𝑐𝑜𝑠𝜃 + 𝑖𝑠𝑖𝑛𝜃 = 2[𝑐𝑜𝑠                    3
                                                              + 𝑖𝑠𝑖𝑛      3
                                                                                  ]

จากสูตรการหารจานวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้วจะได้

          𝑧1   𝑟1                                                        2              𝜋 5𝜋         𝜋 5𝜋
             =    𝑐𝑜𝑠 𝜃1 − 𝜃2 + 𝑖𝑠𝑖𝑛 𝜃1 − 𝜃2                         =            𝑐𝑜𝑠     −   + 𝑖𝑠𝑖𝑛   −
          𝑧2   𝑟2                                                        2              3   3        3   3

                                                              4𝜋         4𝜋
                                               = 𝑐𝑜𝑠 −           + 𝑖𝑠𝑖𝑛(− )
                                                              3          3

                                                           4𝜋         4𝜋
                                                = 𝑐𝑜𝑠         + 𝑖𝑠𝑖𝑛(− )
                                                           3          3
            𝑧1 10
ต่อไปหา     𝑧2
                    โดยสูตรของเดอร์มัวร์ 𝑧 𝑛 = 𝑟 𝑛 (𝑐𝑜𝑠( 𝑛𝜃) + 𝑖𝑠𝑖𝑛(𝑛𝜃))

ดังนั้น
                                  𝑧1    10                           4𝜋             4𝜋
                                             = 110 [𝑐𝑜𝑠 10 ∙            + 𝑖𝑠𝑖𝑛(−10 ∙ )]
                                  𝑧2                                 3              3

                                                           40𝜋         40𝜋
                                                = 𝑐𝑜𝑠          − 𝑖𝑠𝑖𝑛(     )
                                                            3           3

เนื่องจาก 40𝜋 = 13𝜋 + 3𝜋 ตกอยู่ในครอดรันต์ที่ 3 ดังนั้น 𝑐𝑜𝑠                40𝜋            1           40𝜋        3
                                                                                      = − 2 และ 𝑠𝑖𝑛         =−
           3                                                                  3                        3         2

ดังนั้น

                                                      𝑧1   10     1   3
                                                                =− +    𝑖
                                                      𝑧2          2  2

โจทย์ต้องการตัวผกผันการบวก ซึ่งก็คือ เมื่อนามาบวกกับตัวมันแล้วได้เอกลักษณ์ คือ
                              1        3                        𝑧1 10
ดังนั้นเราจึงได้ตัวผกผันคือ   2
                                −   2
                                           𝑖 ซึ่งนามาบวกกับ     𝑧2
                                                                         แล้วได้ 0

ต่อไปนี้ขอเสนออีกวิธีหนึ่งซึ่งเกริ่นไว้ตั้งแต่ตอนแรกด้วยการคูณด้วยสังยุคของตัวมันเอง

ให้ 𝑧 ′ = −1 +      3𝑖
          2         2
                         ทาให้อยู่ในรูปเชิงขั้วแล้วยกกาลัง 10 เราจะได้ว่า
เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก   17


                                                               2             2
                            −1       3                   −1             3                   2𝜋
                         𝑎=    , 𝑏=    , 𝑟=                        +             = 1, 𝜃 =
                            2       2                    2             2                    3

                                            2𝜋            2𝜋
ดังนั้น 𝑧′ = 𝑟 𝑐𝑜𝑠𝜃 + 𝑖𝑠𝑖𝑛𝜃 = 𝑐𝑜𝑠            3
                                                 + 𝑖𝑠𝑖𝑛    3

นามายกกาลัง 10 โดยใช้สูตรของเดอร์มัวร์จะได้

                                                      2𝜋             2𝜋   1  3𝑖
                       𝑧 = (𝑧′)10 = 𝑐𝑜𝑠 10 ∙             + 𝑖𝑠𝑖𝑛 10 ∙    =− +
                                                      3              3    2  2

ตัวผกผันการบวกของ 𝑧10 คือ 1 −        3𝑖
                          2          2

เห็นไหมล่ะว่าสังยุคมีประโยชน์มากนะครับวิธีที่สองง่ายกว่าเยอะเลยครับ

ตอบข้อ [4]

วิเคราะห์ : ข้อสอบข้อนี้ถือว่ายากครับพ่อแม่พี่น้องครับ เพราะต้องใช้ความรู้หลายอย่างเลย รวมถึงตรีโกณ
ด้วยครับ แต่ถ้าจาหลักการและฝึกทาบ่อยๆ จะจาได้เองครับ เป็นอัตโนมัติเชียวแหละไม่ต้องกังวล ข้อนี้ถือว่า
ต้องใช้เวลามากพอสมควร (ถ้าทามาถูกวิธีก็ไม่ยาวหรอกครับ) แต่ถ้าได้หลักการเหล่าแล้ว เรื่องตรีโกณก็จะ
เบาขึ้นมากครับ




หลักการหามุมเพื่อเขียนจานวนเชิงซ้อนให้อยู่ในรูปเชิงขั้ว

จาก 𝒛 = 𝒂 + 𝒃𝒊 ให้อยู่ในรูป 𝒛 = 𝒓(𝒄𝒐𝒔𝜽 + 𝒊𝒔𝒊𝒏𝜽)

เนื่องจากเราทราบกันดีแล้วว่า เราสามารถหา 𝒓 ได้จาก 𝒓 =              𝒂𝟐 + 𝒃𝟐

แต่ที่เป็นปัญหาคือ เราจะหา 𝜃 มาใส่ได้ถูกต้องหรือไม่

เราจะศึกษาจากตัวอย่างต่อไปนี้

ตัวอย่างที่ 1 จงเขียน 𝑧 = − 3 + 𝑖 ให้อยู่ในรูปเชิงขั้ว
เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก    18



เริ่มแรกเลย จากโจทย์ 𝑎 = − 3 , 𝑏 = 1 และ 𝑟 = (− 3)2 + 12 = 2

และจาก 𝑡𝑎𝑛𝜃 = 𝑏𝑎 = −1 โดยที่ 𝜃 เป็นมุมทีวัดจากแกน 𝑋
                    3

และ 𝑎 เป็นหน่วยความยาวที่วัดจากแกน 𝑋 , 𝑏 เป็นหน่วยความยาวที่วัดจากแกน 𝑌 พิจารณาดังภาพ




ต่อไปพิจารณาสามเหลี่ยมมุมฉากที่เกิดขึ้นครับ เป็นสามเหลี่ยมที่มีความยาวด้านตรงข้ามมุม 𝜃 เป็น 1 และความยาวด้าน

ประชิดมุมเป็น 3 ดังนั้น 𝜃 = 30° = 6𝜋 แต่มุมที่เราจะระบุในเชิงขั้ว เป็นมุมที่วัดจากแกน 𝑋 ทางบวกในทิศทวนเข็ม

นาฬิกา ตามลูกศรเส้นปะดังภาพ ดังนั้น 𝜃 ที่เราจะใส่ในเชิงขั้ว คือ 𝜃 = 𝜋 − 6𝜋 = 5𝜋 = 150°
                                                                             6

( 𝜋 คือครึ่งรอบวงกลม = 180° นาไปลบ 𝜃 ออก จะได้มุมที่ต้องการครับ)

                                             5𝜋            5𝜋
ดังนั้น 𝑧 = 𝑟 𝑐𝑜𝑠𝜃 + 𝑖𝑠𝑖𝑛𝜃 = 2[𝑐𝑜𝑠            6
                                                  + 𝑖𝑠𝑖𝑛   6
                                                                ]


ตัวอย่างที่ 2 จงเขียน 𝑧 = 3 − 3 3𝑖 ให้อยู่ในรูปเชิงขั้ว

เริ่มแรกเลย จากโจทย์ 𝑎 = 3 , 𝑏 = −3 3 และ 𝑟 = 32 + (−3 3)2 = 6

และจาก 𝑡𝑎𝑛𝜃 = 𝑏𝑎 = −33 3 โดยที่ 𝜃 เป็นมุมทีวัดจากแกน 𝑋

และ 𝑎 เป็นหน่วยความยาวที่วัดจากแกน 𝑋 , 𝑏 เป็นหน่วยความยาวที่วัดจากแกน 𝑌 พิจารณาดังภาพ
เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก        19




ต่อไปพิจารณาสามเหลี่ยมมุมฉากที่เกิดขึ้นครับ เป็นสามเหลี่ยมที่มีความยาวด้านตรงข้ามมุม 𝜃 เป็น 3 3 และความยาว

ด้านประชิดมุมเป็น 3 ดังนั้น 𝜃 = 60° = 3𝜋 แต่มุมที่เราจะระบุในเชิงขั้ว เป็นมุมที่วัดจากแกน 𝑋 ทางบวกในทิศทวนเข็ม

นาฬิกา ตามลูกศรเส้นปะดังภาพ ดังนั้น 𝜃 (ที่เราจะใส่ในเชิงขั้ว)คือ 𝜃 = 2𝜋 − 3𝜋 = 5𝜋 = 300°
                                                                               3

(2𝜋 คือรอบวงกลม 1 รอบ = 360° นาไปลบ 𝜃 ออก จะได้มุมที่ต้องการครับ)

         ถ้าใครอ่านทั้งสองตัวอย่างยังไม่รู้เรื่อง ผมมีอีกวิธีครับ จากตัวอย่างที่ 1 จะเขียน 𝑧 = − 3 + 𝑖 ในรูปเชิงขั้ว

ขั้นแรกให้เรานึกถึง 𝑡𝑎𝑛𝜃 = 𝑏𝑎 =     1                                                       𝜋
                                         (ยังไม่ต้องคิดเครื่องหมายใดๆทั้งสิ้น ) จะได้ 𝜃 =
                                     3                                                      6

แต่เนื่องจาก 𝜃 ตกอยู่ในครอดรันต์ที่ 2 (ตอนนี้คิดเครื่องหมายของ 𝑎 และ 𝑏 ทาให้ได้ 𝜃 อยู่ใน 𝑄2 ) ดังภาพ
เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก      20


หลังจากนั้นให้เราไล่มุมเริ่มจาก

                           ตัวเลขที่ปรากฏ 1, 5, 7, 11 คือ ตัวเลขเรียงถัดไป และมี ห .ร.ม กับ กับ 6 เป็น 1

                           (หรือคิดง่ายๆ ตัวเลขที่เอาเลขอะไรไปตัดกับ 6 ไม่ได้นั่นเอง)


                                              𝜋   5𝜋   7𝜋   11𝜋
                                                ⟹    ⟹    ⟹
                                              6   6    6     6



                                               𝑄1        𝑄2        𝑄3        𝑄3

หมายความว่า ถ้ามุมตกอยู่ในครอดรันต์ที่ 2 ( 𝑄2 ) เราจะได้ว่า 𝜃 = 5𝜋 ครับ ถ้าตกอยู่ในครอดรันต์ที่ 3 ก็กลายเป็นมุม7𝜋
                                                                6                                              6

นั่นเองครับ (แนะนาว่าให้ไล่ 1, 2, 3, 4, ,5, … ไปเรื่อยๆและดูว่าตัวเลขตัวไหนที่เอาอะไรตัดกับ 6 ไม่ได้)

ตัวอย่างที่ 2(วิธีที่ 2) จงเขียน 𝑧 = 3 − 3 3𝑖 ให้อยู่ในรูปเชิงขั้ว
ขั้นแรกให้เรานึกถึง 𝑡𝑎𝑛𝜃 = 𝑏𝑎 = −33 3 = 3 (ยังไม่ต้องคิดเครื่องหมายใดๆทั้งสิ้น คิดแค่ 𝑡𝑎𝑛 𝜃 = 3) จะได้
       𝜋
   𝜃 = 3 แต่เนื่องจาก 𝜃 ตกอยู่ในครอดรันต์ที่ 4 (ตอนนี้คิดเครื่องหมายของ 𝑎 และ 𝑏 ทาให้ได้ 𝜃 อยู่ใน 𝑄2 ) ดังภาพ




หลังจากนั้นให้เราไล่มุมเริ่มจาก

                                                    𝜋   2𝜋   4𝜋   5𝜋
                                                      ⟹    ⟹    ⟹
                                                    3   3    3    3



                                                    𝑄1        𝑄2        𝑄3        𝑄4
เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก      21


เราจะได้ว่า มุมที่เราต้องการคือ 𝜃 = 5𝜋
                                    3


หลักการลดทอนมุมทางตรีโกณมิติ

เริ่มต้นจากการท่องว่า 𝐴𝐿𝐿 ⟹ 𝑠𝑖𝑛 ⟹ 𝑡𝑎𝑛 ⟹ 𝑐𝑜𝑠 ดูภาพประกอบนะครับ




คาอธิบาย : ครอดรันต์ที่ 1 𝐴𝐿𝐿 ทุกฟังก์ชันถ้ามุมตกอยู่ในครอดรันต์นี้ ค่าที่ได้จะมีค่าเป็นบวกหมดครับ ไม่ว่าจะเป็น

𝑠𝑖𝑛, 𝑐𝑜𝑠, 𝑡𝑎𝑛, 𝑠𝑒𝑐, 𝑐𝑜𝑠𝑒𝑐, 𝑐𝑜𝑡

                                                                                      1
ครอดรันต์ที่ 2 𝑠𝑖𝑛 และส่วนกลับของ 𝑠𝑖𝑛 คือ 𝑐𝑜𝑠𝑒𝑐 ที่เป็นบวก เพราะ 𝑠𝑖𝑛 𝜃 =         𝑐𝑜𝑠𝑒𝑐 𝜃


                                                                                  1
ครอดรันต์ที่ 3 𝑡𝑎𝑛 และส่วนกลับของ 𝑡𝑎𝑛 คือ 𝑐𝑜𝑡 ที่เป็นบวก เพราะ 𝑡𝑎𝑛 𝜃 =          𝑠𝑖𝑛 𝜃


                                                                                 1
ครอดรันต์ที่ 4 𝑐𝑜𝑠 และส่วนกลับของ 𝑐𝑜𝑠 คือ 𝑠𝑒𝑐 ที่เป็นบวก เพราะ 𝑐𝑜𝑠 𝜃 =          𝑠𝑒𝑐 𝜃


                        4𝜋
เมื่อเราต้องการหา 𝑐𝑜𝑠    3
                             ให้เราหาก่อนว่า 4𝜋 ตกอยู่ในครอดรันต์ใด
                                             3

         4                            1
พิจารณา 3 เราสามารถเขียนเป็น 1 + 3



                                              1
                                         1+
                                              3
                                                        เพราะ 1 คือผลหาร และ 1 คือ เศษที่เกิดจากการหาร
เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก          22


ดังนั้น

                                 4𝜋      𝜋                                                      𝜋
                                    = 𝜋+
                                 3       3
                                                                  มุมนี้อยู่ในแนวราบ



จากสูตร       𝑐𝑜𝑠(ราบ ± 𝜃) = ±𝑐𝑜𝑠 𝜃
                                                         จะได้บวกหรือลบขึ้นอยู่กับว่ามุมตกอยู่ในควอดรันต์ที่เท่าไหร่


                            4𝜋                       𝜋
เนื่องจากเราพิจารณา 𝑐𝑜𝑠     3
                                 = 𝑐𝑜𝑠 𝜋 +
                                                 3




                                                 𝜋
                                             
                                             3


                                                                                   4𝜋                    𝜋
ดังนั้นมุมตกอยู่ในควอดรันต์ที่ 3 𝑡𝑎𝑛 กับ 𝑐𝑜𝑡 เท่านั้นที่เป็นบวก ดังนั้น 𝑐𝑜𝑠         3
                                                                                         = 𝑐𝑜𝑠 𝜋 + 3 =
          𝜋       −1
−𝑐𝑜𝑠          =
          3       2

นอกจากนี้เรายังสามารถพิจารณามุมอื่นๆได้อีกด้วย มีสูตรดังต่อไปนี้

                                            𝑐𝑜𝑠(ราบ ± 𝜃) = ±𝑐𝑜𝑠 𝜃

                                            𝑠𝑖𝑛(ราบ ± 𝜃) = ±𝑠𝑖𝑛 𝜃

                                           𝑡𝑎𝑛(ราบ ± 𝜃) = ±𝑡𝑎𝑛 𝜃

                                            𝑐𝑜𝑡(ราบ ± 𝜃) = ±𝑐𝑜𝑡 𝜃

                                            𝑠𝑒𝑐(ราบ ± 𝜃) = ±𝑠𝑒𝑐 𝜃

                                         𝑐𝑒𝑠𝑒𝑐(ราบ ± 𝜃) = ±𝑐𝑜𝑠𝑒𝑐 𝜃

                                            𝑐𝑜𝑠(ราบ ± 𝜃) = ±𝑐𝑜𝑠 𝜃

เครื่องหมาย บวกหรือลบที่ได้ขึ้นอยู่กับว่ามุมตกอยู่ในครอดรันต์ที่เท่าใด และมุมในแนวราบในที่นี้คือ 0, 𝜋, 2𝜋, 3𝜋, …
เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก        23


𝟏𝟑. ถ้าให้ 𝑨 = {𝟏, 𝟐, 𝟑} และ 𝑩 = {𝟏, 𝟐, 𝟑, 𝟒, 𝟓} แล้ว จานวนของฟังก์ชันจาก 𝑨 ไปยัง 𝑩 ที่เป็นฟังก์ชัน

เพิ่มคือข้อใดต่อไปนี้
 [𝟏] 𝟏𝟎                                         𝟐       𝟏𝟐

 [𝟑] 𝟏𝟒                                         𝟒 𝟏𝟔
เฉลย    นิยามของฟังก์ชันเพิ่ม คือ ถ้า 𝑥1 < 𝑥2 แล้ว 𝑓 𝑥1 < 𝑓(𝑥2 )

เราสามารถแยกเป็นกรณีเพื่อพิจารณาได้ดังนี้
กรณี 𝑓 1 = 1 (นั่นคือ ให้ 𝑓 ส่ง 1 ไปที่ 1)
จะทาให้ 𝑓(2) ส่งไปที่ 2 หรือ 3 หรือ 4 (ส่งไปที่ 5 ไม่ได้นะ เพราะจะไม่เหลือค่าให้ส่ง 3 อย่าลืมว่าเงื่อนไขเราต้องการ
ฟังก์ชันเพิ่ม) ดูจากภาพ
                                                                1
                                            1                   2
                                            2                   3
                                            3                   4
                                                                5


เราไม่สามารถหาตัวที่ส่งไป 3 ไปได้ สมมติถ้า 𝑓(3) = 2 จะส่งผลทาให้ฟังก์ชันที่ได้ไม่เป็นฟังก์ชันเพิ่มครับ เพราะ 2 < 3
แต่ 𝑓(2) ≮ 𝑓(3)

ต่อไปพิจารณาถ้า 𝑓(2) = 2 จะได้ว่า 𝑓 3 เลือกส่งได้ 3 วิธี ถ้าเราจะจาแนกเป็นแผนภาพก็ได้ดังนี้ครับ



                                1                                   1                                   1

             1                                      1               2               1                   2
                                2
             2                                      2               3               2                   3
                                3
                                4                   3               4               3                   4
             3
                                5                                   5                                   5




𝑓(2) = 3 จะได้ว่า 𝑓 3 เลือกส่งได้ 2 วิธี ถ้าเราจะจาแนกเป็นแผนภาพก็ได้ดังนี้ครับ

                                                    1                              1
                            1                       2           1                  2
                            2                       3           2                  3
                            3                       4           3                  4
                                                    5                              5
เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก   24


𝑓(2) = 4 จะได้ว่า 𝑓 3 เลือกส่งได้ 1 วิธี ถ้าเราทาเป็นแผนภาพก็ได้ดังนี้ครับ

                                                              1
                                            1                 2
                                            2                 3
                                            3                 4
                                                              5



รวมทั้งหมด คือ 3 + 2 + 1 = 6 วิธี

กรณี 𝑓 1 = 2 (นั่นคือ ให้ 𝑓 ส่ง 1 ไปที่ 1)
จะทาให้ 𝑓(2) ส่งไปที่ 3 หรือ 4
         𝑓(2) = 3 จะได้ว่า 𝑓 3 เลือกส่งได้ 2 วิธี ถ้าเราจะจาแนกเป็นแผนภาพก็ได้ดังนี้ครับ

                                                1                             1
                           1                    2            1                2
                           2                    3            2                3
                           3                    4            3                4
                                                5                             5

𝑓(2) = 3 จะได้ว่า 𝑓 3 เลือกส่งได้ 1 วิธี ถ้าเราจะจาแนกเป็นแผนภาพก็ได้ดังนี้ครับ

                                                                 1
                                             1                   2
                                             2                   3
                                             3                   4
                                                                 5



รวมทั้งหมด คือ 2 + 1 = 3 วิธี
เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก   25


กรณี 𝑓 1 = 3 จะได้ 𝑓 2 = 4, 𝑓 3 = 5 ทาได้ 1 วิธีถ้าเราจะจาแนกเป็นแผนภาพก็ได้ดังนี้ครับ

                                                          1
                                       1                  2
                                       2                  3
                                       3                  4
                                                          5




เราจะรวมทุกกรณีได้ 6 + 3 + 1 = 10 วิธี
ตอบข้อ [1]
วิเคราะห์ : ข้อสอบแนวนี้นาฟังก์ชันมาประยุกต์ใช้กับเรื่องการเรียงสับเปลี่ยน และการจัดหมู่ ถือว่าเป็น
ข้อสอบที่แวกแนวอีกแบบ แต่ถ้าเข้าใจพื้นฐานเรื่องการนับเบื้องตันก็ไม่น่าเป็นห่วงหรอกครับ แค่ส่วนใหญ่
เรื่องนี้มักเป็นไม้เบื่อไม้เมากับเด็กเลยทีเดียว ฮ่าๆๆๆ




14. กาหนดตารางแจกแจงความถี่ต่อไปนี้

                             คะแนน                                 ความถี่
                            21 − 30                                  90
                            31 − 40                                   𝐴
                            41 − 50                                  50
                            51 − 60                                   𝐵
                            61 − 70                                  10


ถ้าคะแนนในตาแหน่งเปอร์เซ็นไทล์ที่ 𝟓𝟎 คือ 𝟒𝟎. 𝟓 แล้วค่าของ 𝑨 − 𝑩 คือข้อใดต่อไปนี้
[𝟏] −𝟒𝟎              𝟐   − 𝟑𝟎              𝟑   𝟑𝟎              𝟒   𝟒𝟎

เฉลย พิจารณาตารางแจกแจงความถี่และความถี่สะสมได้ดังนี้นะครับ


             คะแนน                              ความถี่                          ความถี่สะสม
           21 − 30                                  90                              90
           31 − 40                                   𝐴                            90 + 𝐴
           41 − 50                                  50                            140 + 𝐴
           51 − 60                                   𝐵                          140 + 𝐴 + 𝐵
           61 − 70                                  10                          150 + 𝐴 + 𝐵
เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก           26




                                                     𝑘𝑁
ทบทวนก่อนนะครับ ตาแหน่งเปอร์เซ็นไทล์ที่ 𝑘 คือ 𝑃 𝑘 = 100
                              𝑘𝑁
ตาแหน่งเดไซล์ ที่ 𝑘 คือ 𝐷 𝑘 = 10 (เพิ่มให้นะครับ แต่อย่าลืมว่าเป็นตาแหน่งของข้อมูลที่มีการแจกแจงความถี่แล้วเท่านั้น
นะ ถ้าข้อมูลยังไม่แจกแจงความถี่ เราต้องใช้อีกสูตร ลองกลับไปทบทวนดูว่ามันเป็นอย่างไรนะ)
                                  𝑘𝑁
ตาแหน่งคลอไทล์ที่ 𝑘 คือ 𝑄 𝑘 =      4
                                       ต่อไปเป็นสูตรคานวณหาเปอร์เซ็นไทล์ เดไซล์ และคลอไทล์ นะครับ
                                                           𝑘𝑁
                                                        𝐼 100 − 𝐹 𝑃
                                               𝑃𝑘 = 𝐿 +
                                                              𝑓𝑃



                                                          𝑘𝑁
                                                        𝐼 10 − 𝐹 𝐷
                                               𝐷𝑘 = 𝐿 +
                                                             𝑓𝐷



                                                                𝑘𝑁
                                                            𝐼       − 𝐹𝑄
                                                                4
                                               𝑄𝑘 = 𝐿 +
                                                                   𝑓𝑄



เมื่อ 𝑃 𝑘 , 𝐷 𝑘 , และ 𝑄 𝑘 คือ ค่าของเปอร์เซ็นไทล์ เดไซล์ และ คลอไทล์ ตามลาดับ
           𝐿 คือ ขอบล่างของชั้นที่มี 𝑃 𝑘 , 𝐷 𝑘 , และ 𝑄 𝑘 ทั้งนี้เราจะรู้เมื่อหาตาแหน่งออกมาแล้วนะครับ
           𝐼 คือ ความกว้างอันตรภาคชั้น
           𝑘𝑁       𝑘𝑁       𝑘𝑁
          100 10
                ,        ,คือตาแหน่งของเปอร์เซ็นไทล์ เดไซล์ และคลอไทล์ตามลาดับ
                             4
         𝐹 𝑃 , 𝐹 𝐷 , 𝐹 𝑄 คือ ความถี่สะสมของอันตรภาคชั้นที่มีค่าต่ากว่าอันตรภาคชั้นที่มีเปอร์เซ็นไทล์ เดไซล์ และคลอไทล์
อยู่ตามลาดับ
         𝑓𝑝 คือ ความถี่ในชั้นที่มี 𝑃 𝑘 , 𝐷 𝑘 , และ 𝑄 𝑘 อยู่ตามลาดับ
         𝑁 คือจานวนข้อมูลทั้งหมดที่มี เราอาจเอามาจากความถี่สะสมในชั้นสุดท้ายก็ได้นะ

จากโจทย์ ตาแหน่งเปอร์เซ็นไทล์ที่ 50 คือ 𝑃50 = 50 150+𝐴+𝐵 =            150+𝐴+𝐵
                                                  100                      2

ดังนั้น
                                                                𝑘𝑁
                                                             𝐼 100 − 𝐹 𝑃
                                       𝑃50   = 40.5 = 40.5 +
                                                                   𝑓𝑃
                                                     150 + 𝐴 + 𝐵
                                               10         2      − (90 + 𝐴)
                                  = 40.5 +
                                                             50
เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก   27


                                         150 + 𝐴 + 𝐵 − 2(90 + 𝐴)
                                                   2
                                = 40.5 +
                                                   5
                                              150 + 𝐴 + 𝐵 − 180 − 2𝐴)
                                  = 40.5 +
                                                         2
                                                    (−30 − 𝐴 + 𝐵)
                                        = 40.5 +
                                                          2
ดังนั้น
                          (−30 − 𝐴 + 𝐵)
          40.5 = 40.5 +                 ===≫ −30 − 𝐴 + 𝐵 = 0 ===≫ 𝐴 − 𝐵 = −30
                                2
ตอบข้อ [2]
วิเคราะห์ : ข้อสอบแนวนี้จาสูตรได้ก็ได้แหละครับกุญแจสาคัญอยู่ที่สูตร เพราะมันเยอะซะจนปวดหัวไปหมด
พยายามจาแบบมีหลักการ แล้วแยกแยะให้ดีระหว่างข้อมูลที่แจกแจงและไม่แจกแจงความถี่ เพราะสูตร
บางอย่างไม่เหมือนกันครับ




ตอนที่ 2 ข้อสอบแบบปรนัยแบบ 4 ตัวเลือก จานวน 14 ข้อ (ข้อ 15-28) ข้อละ 3 คะแนน

15. ให้ 𝒑, 𝒒, 𝒓 และ 𝒔 เป็นประพจน์ใดๆ
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก) ถ้า ~𝒑 ↔ 𝒔 ∧ ∼ 𝒓 → 𝒒 → (𝒓 ∨∼ 𝒔) มีค่าความจริงเป็นเท็จ แล้วค่าความจริงของ
ให้ 𝒑, 𝒒, 𝒓 และ 𝒔 เป็นจริง เท็จ เท็จ และ จริงตามลาดับ
ข) ถ้า (𝒑 →∼ 𝒒) ∨ 𝒓 มีค่าความจริงเป็นเท็จ แล้ว 𝒑 ↔ 𝒓 → (𝒒 ∨ 𝒔) มีค่าความจริงเป็นจริง
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
 [𝟏] ก) ถูก และ ข) ถูก                                    𝟐   ก) ถูก และ ข) ผิด

 [𝟑] ก) ผิด และ ข) ถูก                                    𝟒   ก) ผิด และ ข) ผิด

เฉลย เรื่องนี้มีหัวใจอยู่ที่ค่าความจริงการเชื่อมประพจน์ ของ ∧, , →, ↔, ∼ ครับ เราอาจเห็นเป็นตารางให้ดูตาราง
เทียบกันหลักการจาต่อไปนี้ คือ
∧ เป็นจริง เพียงกรณีเดียว คือ 𝑇 ∧ 𝑇 นอกนั้นเป็นเท็จหมด ไม่ว่าจะเป็น 𝐹 ∧ 𝑇, 𝑇 ∧ 𝐹, 𝐹 ∧ 𝐹 เชื่อมกันเป็นเท็จ
หมด เราจึงจาเป็นต้องจาให้ได้เพียงกรณีเดียวพอครับ เพราะนอกนั้นก็จาว่ามันเป็นเท็จหมดครับ
∨ เป็นเท็จ เพียงกรณีเดียวคือ 𝐹 ∨ 𝐹 นอกนั้นอีก 3 กรณีที่เหลือเป็นจริงหมดครับ น้องลองคิดเอานะว่ามีอะไรบ้าง
→ เป็นเท็จ กรณีเดียว คือ 𝑇 → 𝐹 นอกนั้นเป็นจริงหมด
เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก         28


↔ เป็นจริง 2 กรณีเมื่อค่าความจริงเหมือนกัน ได้แก่ 𝑇 ↔ 𝑇, 𝐹 ↔ 𝐹 เป็นจริงเพียง 2 กรณีนี้ ถ้าต่างกันก็เป็นเท็จนั่นเอง
จากโจทย์เราจะได้ว่า




จากแผนภาพข้างบนอธิบายได้ว่า เนื่องจากการเชื่อมด้วย → เป็นเท็จกรณีเดียวคือ 𝑇 → 𝐹 ใส่ 𝑇 และ 𝐹 ในบรรทัดที่สอง
ดังภาพ พิจารณา ขวามือ การเชื่อมด้วย ∨ เป็นเท็จกรณีเดียวคือ 𝐹 ∨ 𝐹 ดังนั้น 𝑟 ≡ 𝐹 (อ่านว่า 𝑟 เป็น เท็จนะ) และจะ
ได้ ∼ 𝑠 ≡ 𝐹 ด้วย ดังนั้น 𝑠 ≡ 𝑇 พิจารณาซ้ายมือ การเชื่อมด้วย ∧ เป็นจริงได้เมื่อเชื่อมด้วย 𝑇 ∧ 𝑇 นาค่าความจริงที่
ได้จากขวามือมาใส่ทางซ้ายมือ จะได้ ∼ 𝑟 ≡ 𝑇 (เพราะ 𝑟 ≡ 𝐹 มาก่อนครับ) แต่การเชื่อมกันด้วย ∧ เป็นจริงได้เพียงกรณี
เดียวดังนั้น 𝑞 ≡ 𝑇 นาค่าความจริงของ 𝑠 จากฝั่งขวามือมาใส่ แต่เนื่องจากการเชื่อมกันด้วย ↔ เป็นจริงได้เมื่อเชื่อมกัน
ด้วยค่าความจริงที่เหมือนกัน ดังนั้นจะได้ ∼ 𝑝 ≡ 𝑇 นั่นคือ 𝑝 ≡ 𝐹
ตอนนี้เราได้ค่าความจริงของประพจน์แต่ละตัวหมดแล้วนะครับ พบว่าข้อความ ก) ไม่เป็นจริงเพราะ 𝑞 ≡ 𝑇 ครับ
พิจารณาข้อ ข)      (𝑝 →∼ 𝑞) ∨ 𝑟

                                             (𝑝 →∼ 𝑞) ∨ 𝑟
                                                           𝐹

                                                   𝐹           𝐹


                                              𝑇        𝐹

                                                           𝑇


ดังนั้น 𝑝 ≡ 𝑇, 𝑞 ≡ 𝑇, 𝑟 ≡ 𝐹 นาค่าความจริงไปแทนใน 𝑝 ↔ 𝑟 → 𝑞 ∨ 𝑠 จะได้ดังนี้
เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก              29




ถึงแม้ว่าจะไม่รู้ค่าความจริงของ 𝑠 แต่เราต้องสามารถสรุปได้ว่า การเชื่อมด้วย ∨ ถ้ามี 𝑇 อยู่ข้างใดข้างหนึ่งเมื่อเชื่อมแล้วจะ
ได้จริงเสมอนะครับ ดังนั้น ข) เป็นจริงครับ
ตอบข้อ [3]
วิเคราะห์ : ข้อสอบข้อนี้หัวใจอยู่ที่ค่าความจริงของการเชื่อมประพจน์อย่างที่บอกแต่แรกครับ และ
ตรรกศาสตร์เกือบทั้งบทใช้พื้นฐานนี้อย่างมากเลย เพราะฉะนั้นถามตัวเองก่อนว่าจาค่าความจริงของการ
เชื่อมประพจน์ได้หรือยัง ถ้ายัง … ก็ทาความเข้าใจซะ ก่อนที่จะสายไป



𝟏𝟕. กาหนดให้ 𝒙 เป็นจานวนเต็มบวกที่มีค่ามากที่สุดที่หาร 𝟏𝟔, 𝟒𝟎 และ 𝟏𝟎𝟎 แล้วมีเศษเหลือเท่ากัน และ 𝒚
เป็นจานวนเต็มบวกที่น้อยที่สุดที่หารด้วย 𝟏𝟔, 𝟒𝟎 และ 𝟏𝟎𝟎 แล้วมีเศษเหลือเป็น 𝟏 ค่าของ 𝒚 − 𝒙 คือข้อใด
[𝟏] 𝟑𝟖𝟗                  𝟐   𝟒𝟎𝟎               𝟑    𝟒𝟖𝟗                  𝟒    𝟓𝟎𝟎

เฉลย ให้ 𝑥 เป็นจานวนเต็มที่หาร 16, 40 และ 100 แล้วมีเศษเหลือเท่ากัน ดังนั้นเราสามารถเขียนสมการได้ว่า

(สมการนี้เราต้องเขียนเป็นนะครับเวลาโจทย์ให้มา)

                                            16 = 𝑥𝑘1 + 𝑟__________(1)

                                            40 = 𝑥𝑘2 + 𝑟__________(2)

                                            100 = 𝑥𝑘3 + 𝑟__________(3)

สาหรับบางจานวนเต็ม 𝑘1 , 𝑘2 , 𝑘3 พิจารณาการลบกันของสมการเป็นคู่ๆดังนี้

(2) − (1); 24 = 𝑥(𝑘2 − 𝑘1 )

(3) − (2); 60 = 𝑥(𝑘3 − 𝑘2 )

(3) − (1); 84 = 𝑥(𝑘3 − 𝑘1 )
เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก   30


จะได้ว่า 𝑥|24, 𝑥|60, 𝑥|84 (อ่านว่า 𝑥 หาร 24 ลงตัว, 𝑥 หาร 60 ลงตัว , 𝑥 หาร 84 ลงตัว)
ค่า 𝑥 ที่มากที่สุดคือ ห.ร.ม ของ 24, 60, 84 ซึ่งก็คือ 12
ให้ 𝑦 เป็นจานวนเต็มที่หารด้วย 16, 40 และ 100 แล้วมีเศษเหลือ 1 ดังนั้นเราสามารถเขียนสมการได้ดังนี้


                                           𝑦 = 16𝑘1 + 1__________(4)

                                           𝑦 = 40𝑘2 + 1__________(5)

                                           𝑦 = 100𝑘3 + 1__________(6)

สาหรับบางจานวนเต็ม 𝑘1 , 𝑘2 , 𝑘3 ดังนั้นเราจะได้ว่า

                                                     𝑦 − 1 = 16𝑘1

                                                     𝑦 − 1 = 40𝑘2

                                                   𝑦 − 1 = 100𝑘3

ดังนั้น 16|𝑦 − 1, 40|𝑦 − 1, 100|𝑦 − 1

 𝑦 − 1 ที่น้อยที่สุดคือ ค.ร.น ของ 16, 40 และ 100 ซึ่งก็คือ 400 ดังนั้น 𝑦 − 1 = 400 นั่นคือ 𝑦 = 401

โจทย์ต้องการหา 𝑦 − 𝑥 = 401 − 12 = 389

ตอบข้อ [1]

วิเคราะห์ : ข้อสอบข้อนี้เกี่ยวกับเรื่องทฤษฎีจานวน โดยเฉพราะเรื่อง การหาร , ค.ร.น, ห .ร.ม เพราะฉะนั้นถ้า
ยังไม่เข้าใจเรื่องดังกล่าวควรทบทวนด่วนแล้วนะครับ เพราะข้อสอบออกไม่ยากเลย เก็บคะแนนได้ง่ายๆ




𝟏𝟖. โดยกระบวนการดาเนินการตามแถว พบว่า


                          𝑥    2 −3 1            0 0      ~   1 0 0 −5 4 −3
                          2     𝑦 0 0            1 0          0 1 0 10 −7 6
                          4    −2 𝑧 0            0 1          0 0 1 9 −6 5
เฉลยคณิต 2551
เฉลยคณิต 2551
เฉลยคณิต 2551
เฉลยคณิต 2551
เฉลยคณิต 2551
เฉลยคณิต 2551
เฉลยคณิต 2551
เฉลยคณิต 2551
เฉลยคณิต 2551
เฉลยคณิต 2551
เฉลยคณิต 2551
เฉลยคณิต 2551
เฉลยคณิต 2551
เฉลยคณิต 2551
เฉลยคณิต 2551
เฉลยคณิต 2551
เฉลยคณิต 2551
เฉลยคณิต 2551
เฉลยคณิต 2551
เฉลยคณิต 2551
เฉลยคณิต 2551
เฉลยคณิต 2551
เฉลยคณิต 2551
เฉลยคณิต 2551
เฉลยคณิต 2551
เฉลยคณิต 2551
เฉลยคณิต 2551
เฉลยคณิต 2551
เฉลยคณิต 2551
เฉลยคณิต 2551
เฉลยคณิต 2551
เฉลยคณิต 2551

More Related Content

What's hot

ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวนชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
พิทักษ์ ทวี
 
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยO-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยWatcharinz
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555ครู กรุณา
 
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตแบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตkroojaja
 
เวกเตอร์_9วิชาสามัญ(55-58)
เวกเตอร์_9วิชาสามัญ(55-58)เวกเตอร์_9วิชาสามัญ(55-58)
เวกเตอร์_9วิชาสามัญ(55-58)
Thanuphong Ngoapm
 
เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53
เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53
เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53Seohyunjjang
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
คุณครูพี่อั๋น
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สองSathuta luamsai
 
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นเศษส่วน
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นเศษส่วนเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นเศษส่วน
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นเศษส่วน
kroojaja
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
ครู กรุณา
 
เฉลยคณิต 50
เฉลยคณิต 50เฉลยคณิต 50
เฉลยคณิต 50Chawasanan Yisu
 
เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54
เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54
เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54
อนุชิต ไชยชมพู
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
คุณครูพี่อั๋น
 
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
เซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์
 
7 วิชาสามัญ คณิต 57+เฉลย
7 วิชาสามัญ  คณิต 57+เฉลย7 วิชาสามัญ  คณิต 57+เฉลย
7 วิชาสามัญ คณิต 57+เฉลย
sm_anukul
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์Maikeed Tawun
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
dnavaroj
 

What's hot (20)

ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวนชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
 
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยO-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555
 
O-NET ม.6-ลำดับและอนุกรม
O-NET ม.6-ลำดับและอนุกรมO-NET ม.6-ลำดับและอนุกรม
O-NET ม.6-ลำดับและอนุกรม
 
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตแบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
 
เวกเตอร์_9วิชาสามัญ(55-58)
เวกเตอร์_9วิชาสามัญ(55-58)เวกเตอร์_9วิชาสามัญ(55-58)
เวกเตอร์_9วิชาสามัญ(55-58)
 
เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53
เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53
เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
 
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นเศษส่วน
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นเศษส่วนเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นเศษส่วน
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นเศษส่วน
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
 
เฉลยคณิต 50
เฉลยคณิต 50เฉลยคณิต 50
เฉลยคณิต 50
 
เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54
เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54
เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54
 
บทเรียน1 สถิติ
บทเรียน1  สถิติบทเรียน1  สถิติ
บทเรียน1 สถิติ
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
 
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
 
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่390 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
 
7 วิชาสามัญ คณิต 57+เฉลย
7 วิชาสามัญ  คณิต 57+เฉลย7 วิชาสามัญ  คณิต 57+เฉลย
7 วิชาสามัญ คณิต 57+เฉลย
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 

Similar to เฉลยคณิต 2551

Pat15503
Pat15503Pat15503
คณิต PAT1 มีนาคม 2555
คณิต PAT1 มีนาคม 2555คณิต PAT1 มีนาคม 2555
คณิต PAT1 มีนาคม 2555IRainy Cx'cx
 
exam57
exam57exam57
exam57sarwsw
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ ปี 2557
ข้อสอบคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ ปี 2557ข้อสอบคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ ปี 2557
ข้อสอบคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ ปี 2557jjrrwnd
 
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ 2559
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ 2559เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ 2559
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ 2559
ครู กรุณา
 
Ctms15912
Ctms15912Ctms15912
Ctms15912
Tippatai
 
60 vector 3 d-full
60 vector 3 d-full60 vector 3 d-full
60 vector 3 d-full
Sutthi Kunwatananon
 
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 27วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
Jirarat Cherntongchai
 
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 27วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2AreeyaNualjon
 
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 27วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2sarwsw
 
7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิต7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิตMashmallow Korn
 
Chapter 01 mathmatics tools (slide)
Chapter 01 mathmatics tools (slide)Chapter 01 mathmatics tools (slide)
Chapter 01 mathmatics tools (slide)
Atit Patumvan
 
ข้อสอบ O-NET ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ข้อสอบ O-NET  ความสัมพันธ์และฟังก์ชันข้อสอบ O-NET  ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ข้อสอบ O-NET ความสัมพันธ์และฟังก์ชันsawed kodnara
 
Pat1 ปี 52
Pat1 ปี 52Pat1 ปี 52
Pat1 ปี 52
thunnattapat
 
Pat15203
Pat15203Pat15203
Pat15203
Tippatai
 
Pat1;61
Pat1;61Pat1;61
Pat1;61
ThunwaratTrd
 
ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556
ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556
ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556Rungthaya
 
56มีนาคม pat 1
56มีนาคม pat 156มีนาคม pat 1
56มีนาคม pat 1aungdora57
 

Similar to เฉลยคณิต 2551 (20)

Math เฉลย
Math เฉลยMath เฉลย
Math เฉลย
 
Pat15503
Pat15503Pat15503
Pat15503
 
คณิต PAT1 มีนาคม 2555
คณิต PAT1 มีนาคม 2555คณิต PAT1 มีนาคม 2555
คณิต PAT1 มีนาคม 2555
 
exam57
exam57exam57
exam57
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ ปี 2557
ข้อสอบคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ ปี 2557ข้อสอบคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ ปี 2557
ข้อสอบคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ ปี 2557
 
math
mathmath
math
 
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ 2559
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ 2559เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ 2559
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ 2559
 
Ctms15912
Ctms15912Ctms15912
Ctms15912
 
60 vector 3 d-full
60 vector 3 d-full60 vector 3 d-full
60 vector 3 d-full
 
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 27วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
 
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 27วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
 
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 27วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
 
7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิต7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิต
 
Chapter 01 mathmatics tools (slide)
Chapter 01 mathmatics tools (slide)Chapter 01 mathmatics tools (slide)
Chapter 01 mathmatics tools (slide)
 
ข้อสอบ O-NET ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ข้อสอบ O-NET  ความสัมพันธ์และฟังก์ชันข้อสอบ O-NET  ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ข้อสอบ O-NET ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
Pat1 ปี 52
Pat1 ปี 52Pat1 ปี 52
Pat1 ปี 52
 
Pat15203
Pat15203Pat15203
Pat15203
 
Pat1;61
Pat1;61Pat1;61
Pat1;61
 
ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556
ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556
ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556
 
56มีนาคม pat 1
56มีนาคม pat 156มีนาคม pat 1
56มีนาคม pat 1
 

More from nampeungnsc

โครงร าง
โครงร างโครงร าง
โครงร างnampeungnsc
 
เฉลยภาษาไทย รหัสวิขา 01
เฉลยภาษาไทย รหัสวิขา 01เฉลยภาษาไทย รหัสวิขา 01
เฉลยภาษาไทย รหัสวิขา 01nampeungnsc
 
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯnampeungnsc
 

More from nampeungnsc (20)

Ice creamppt
Ice creampptIce creamppt
Ice creamppt
 
Icecream
IcecreamIcecream
Icecream
 
Ice cream
Ice creamIce cream
Ice cream
 
โครงร าง
โครงร างโครงร าง
โครงร าง
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
Social
SocialSocial
Social
 
Sci onet49
Sci onet49Sci onet49
Sci onet49
 
Sci
SciSci
Sci
 
Math onet49
Math onet49Math onet49
Math onet49
 
Math
MathMath
Math
 
Eng onet49
Eng onet49Eng onet49
Eng onet49
 
Eng
EngEng
Eng
 
เฉลยภาษาไทย รหัสวิขา 01
เฉลยภาษาไทย รหัสวิขา 01เฉลยภาษาไทย รหัสวิขา 01
เฉลยภาษาไทย รหัสวิขา 01
 
Thai50
Thai50Thai50
Thai50
 
Social50
Social50Social50
Social50
 
Science50
Science50Science50
Science50
 
Mathematics50
Mathematics50Mathematics50
Mathematics50
 
English50
English50English50
English50
 
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
 
Onet50
Onet50Onet50
Onet50
 

เฉลยคณิต 2551

  • 1. เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก 1 เฉลยข้อสอบโควตา ม.ขอนแก่น ปี 𝟐𝟓𝟓𝟎 วิชา คณิตศาสตร์(วิทย์) สอบวันที่ 𝟒 พฤศจิกายน 𝟐𝟓𝟓𝟎 ตอนที่ 𝟏 ข้อสอบแบบปรนัยแบบ 𝟒 ตัวเลือก จานวน 𝟏𝟒 ข้อ (ข้อ 𝟏 − 𝟏𝟒) ข้อละ 𝟐 คะแนน 𝟏. ให้ 𝒑 แทนประพจน์ "สาหรับจานวนจริง 𝒙 ทุกตัว ถ้า 𝒙 < 2 แล้ว 𝒙 𝟐 < 4" ให้ 𝒒 แทนประพจน์ "สาหรับจานวนจริง 𝒙 ทุกตัว มีจานวนจริง 𝒚 บางตัวที่ 𝒙 𝟐 𝒚 = 𝒙" ประพจน์ในข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็นเท็จ [𝟏] ~𝒑 ⇒ 𝒒 𝟐 ~𝒑 ⇒ ~𝒒 [𝟑] 𝒒 ⇒ ~𝒑 𝟒 ~𝒒 ⇒ ~𝒑 เฉลย 𝑝 แทนประพจน์ ∀𝑥 ∈ ℝ [𝑥 < 2 ⇒ 𝑥 2 < 4] เป็นเท็จครับ เพราะ มีจานวนจริงบางตัวที่ 𝑥 < 2 แล้ว 𝑥 2 ≮ 4 เช่น 𝑥 = −3 จะได้ −3 < 2 แต่ 𝑥 2 = (−3)2 = 9 ≮ 4 ดังนั้น 𝑝 จึงเป็นเท็จคับ 𝑞 แทนประพจน์ ∀𝑥∃𝑦[𝑥 2 𝑦 = 𝑥] กรณี 𝑥 = 0 เราเลือก 𝑦 ตัวไหนก็ได้ เพราะ 02 𝑦 = 0 เสมอ กรณี 𝑥 ≠ 0 เราเลือก 𝑦 = 1𝑥 จะทาให้ 𝑥 2 ∙ 1𝑥 = 𝑥 1 1 เช่น 𝑥 = −2 เลือก 𝑦 = (−2) จะได้ (−2)2 ∙ (−2) = −2 ดังนั้นทุกจานวนจริง 𝑥 เราสามารถหา 𝑦 ได้เสมอคับ ดังนั้นจะได้ 𝑞 เป็นจริง เมื่อพิจารณา ข้อ [1] ~𝑝 ⇒ 𝑞 ≡ ~𝐹 ⇒ 𝑇 ≡ 𝑇 ⇒ 𝑇 ≡ 𝑇 ข้อ [2] ~𝑝 ⇒ ~𝑞 ≡ ~𝐹 ⇒ ~𝑇 ≡ 𝑇 ⇒ 𝐹 ≡ 𝐹 ข้อ [3] 𝑞 ⇒ ~𝑝 ≡ 𝑇 ⇒ ~𝐹 ≡ 𝑇 ⇒ 𝑇 ≡ 𝑇 ข้อ [4] ~𝑞 ⇒ ~𝑝 ≡ ~𝑇 ⇒ ~𝐹 ≡ 𝐹 ⇒ 𝑇 ≡ 𝑇 ตอบข้อ [𝟐] วิเคราะห์ : ข้อนี้ต้องการตรวจสอบเราเรื่องตรรกศาสตร์คับ ต้องเข้าใจประพจน์บ่งชี้ปริมาณ จะเป็นจริงหรือเท็จเมื่อไหร่ ไม่ค่อยออกบ่อยเท่าไหร่ แต่ก็ถือว่าไม่ยากคับ สู้ๆ
  • 2. เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก 2 𝟑 𝟐. ถ้า 𝑨 = {𝒑|𝒑 เป็นจานวนเฉพาะ และ 𝒑 หาร 𝟓𝟎𝟒 − 𝟐𝒑 ลงตัว} แล้ว ผลบวกของสมาชิกของเซต 𝑨 คือ ข้อใดต่อไปนี้ [𝟏] 𝟗 𝟐 𝟏𝟎 [𝟑] 𝟏𝟏 𝟒 𝟏𝟐 เฉลย วิธีที่ 1 ข้อนีเราสามารถทาแบบเลือกสุมไปเรือยๆได้ เพราะเราเห็นตัวเลือกแล้ว มีคามากสุดคือ 12 เอง แสดงว่าจานวน ้ ่ ่ ่ เฉพาะนั้นไม่เยอะมาก เอาหละเรามาลองสุ่มตัวเลขกันดู 𝑝 = 2 ; จะได้ [504 − 2(2)]3 = [504 − 4]3 = 5003 พบว่า 𝑝|5003 ว้าวใช้ได้ 𝑝 = 3 ; จะได้ [504 − 2(3)]3 = [504 − 6]3 = 4983 พบว่า 𝑝|4983 ว้าวใช้ได้อีกแล้ว 𝑝 = 5 ; จะได้ [504 − 2(5)]3 = [504 − 10]3 = 4943 พบว่า 𝑝 ∤ 4943 ตัวนี้ไม่ลงตัวคับ 𝑝 = 7 ; จะได้ [504 − 2(7)]3 = [504 − 14]3 = 4903 พบว่า 𝑝|4903 ว้าวใช้ได้อีกแล้ว ดังนั้น 𝑝 ทั้งหมดคือ 2, 3, 7 บวกกันได้ 12 คับตัวเลือกข้อนี้สุดๆ แล้วคับ 3 3 2 2 3 วิธีที่ 2 เนืองจาก (𝐴 − 𝐵) = 𝐴 − 3𝐴 𝐵 + 3𝐴𝐵 − 𝐵 ่ หรือเราท่องกันจนชินปากว่า (หน้า − หลัง)3 = หน้า3 − 3หน้า2 หลัง + 3หน้าหลัง2 − หลัง3 2 ถ้ายังจากันไม่ได้ก็ นา 𝐴 − 𝐵 𝐴− 𝐵 = 𝐴2 − 2𝐴𝐵 + 𝐵2 𝐴 − 𝐵 อันนี้เป็นกาลังสองคงคุ้นกันนะคับ เอาหล่ะ คราวนี้เราจะมาพิจารณา 504 − 2𝑝 3 = 5043 − 3 504 2 2𝑝 + 3 504 (2𝑝)2 − (2𝑝)3 เนื่องจาก 𝑝|3 504 2 2𝑝 (เพราะมีตัวประกอบคือ 𝑝 อยู่ด้วยคับ) 𝑝|3(504)(2𝑝)2 (เพราะมีตัวประกอบคือ 𝑝 อยู่ด้วยคับ) 𝑝|(2𝑝)3 (เพราะมีตัวประกอบคือ 𝑝 อยู่ด้วยคับ) โดยหลักการของการหารลงตัว เรามีข้อสังเกตอยู่ว่า ถ้า 𝑎 𝑏 ± 𝑐 ± 𝑑 ± ⋯ ± 𝑦 ± 𝑧 และ 𝑎 𝑏, 𝑎 𝑐, 𝑎 𝑑, … , 𝑎|𝑦 เราสามารถสรุปได้ว่า 𝑎|𝑧 นั่นคือ 𝑝|5043 จะได้ว่า 𝑝|504 (เนื่องจากว่า ถ้า 𝑎 𝑏 𝑛 แล้ว 𝑎 𝑏 สาหรับทุก 𝑛 ที่เป็นจานวนเต็มบวกคับ ) เราจึงหาจานวนเฉพาะทั้งหมดที่หาร 504 ได้ทั้งหมด 3 ตัวคือ 2, 3, 7 โดยได้มาจากการแยกตัวประกอบ 504 = 23 ⋅ 32 ⋅ 7 ตอบข้อ [4] วิเคราะห์ : ข้อนี้ถ้าน้องคนไหนอ่อนเรื่องทฤษฎีจานวนสักหน่อย ก็แย่เหมือนกัน โดยเฉพาะเรื่องการหารลง ตัวนี่ข้อสอบขาดไม่ได้ เห็นออกกันอยู่ทุกปี คับ ถ้าไม่คล่องทฤษฎีก็ไปอ่านมาซะนะ
  • 3. เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก 3 𝟑. จานวนเต็มบวกจานวนหนึ่งมีสี่หลัก และหารด้วย 𝟗𝟎 ลงตัว ถ้าจานวนนี้มีตัวเลขหลักพันเป็น 𝟐 และหลัก ร้อยเป็น 𝟏 แล้วหลักสิบคือข้อใด [𝟏] 𝟔 𝟐 𝟕 [𝟑] 𝟖 𝟒 𝟗 เฉลย จากข้อมูลเราสามารถเขียนจานวนนี้คือ 2 1 𝑎 𝑏 แต่เนื่องจาก 90|21𝑎𝑏 เราจะเห็นได้ว่า 𝑏 = 0 ได้เพียงอย่างเดียว ดังนั้น เราจึงพิจารณาเพียง 9|21𝑎 โดยวิธีตั้งหารยาวเราจะได้ 𝑎 = 6 หลักสิบจึงเป็น 6 ตอบข้อ [1] ข้อนี้ง่ายจริงๆคับ ถ้าเป็นเราสอบต้องเก็บคะแนนข้อนี้ให้ได้นะ วิเคราะห์ : ข้อนี้ถือว่าออกมาให้กินคะแนนฟรีๆ (พะนะ !) ไม่ยากเลย แค่รู้จักคาว่า "หารลงตัว " 𝟒. เมตริกซ์ในข้อใดต่อไปนี้มีรูปขั้นบันไดแบบแถว (𝑹𝒐𝒘 𝒆𝒄𝒉𝒆𝒍𝒐𝒏 𝒇𝒐𝒓𝒎) 𝟏 𝟐 𝟑 𝟒 𝟏 𝟐 𝟑 𝟒 [𝟏] 𝟎 𝟓 𝟔 𝟕 𝟐 𝟎 𝟎 𝟏 𝟐 𝟎 𝟎 𝟎 𝟏 𝟎 𝟏 𝟎 𝟔 𝟏 𝟐 𝟑 𝟒 𝟏 𝟎 𝟎 𝟎 [𝟑] 𝟎 𝟎 𝟏 𝟕 𝟒 𝟎 𝟎 𝟎 𝟎 𝟎 𝟎 𝟎 𝟎 𝟎 𝟎 𝟏 𝟎 เฉลย เมตริกซ์ในรูปขั้นบันไดแถว (𝑅𝑜𝑤 𝑒𝑐𝑕𝑒𝑙𝑜𝑛 𝑓𝑜𝑟𝑚) คือเมตริกซ์ที่มีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ 1. เป็นเมตริกซ์ที่มีตัวนาในแต่ละแถว เป็น 1 2. สมาชิกที่อยู่หน้าตัวนาทุกตัวต้องเป็น 0 3. ตัวนา 1 ในแต่ละคอลัมน์ต้องอยู่แบบเยื้องมาทางขวามือ (ห้ามอยู่ตรงกัน) เช่น 1 3 4 5 0 1 3 4 1 2 3 4 5 0 1 7 −1 , 0 0 1 1 , 0 1 1 4 5 0 0 1 −3 0 0 0 1 0 0 0 1 2
  • 4. เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก 4 4. แถวที่มีสมาชิกเป็น 0 หมด (ถ้ามี) แถวนั้นต้องอยู่ล่างสุด 1 0 0 1 เช่น 0 1 0 0 0 0 0 0 จากตัวเลือกของข้อนี้ เราจะได้ข้อ [3] เป็น 𝑅𝑜𝑤 𝑒𝑐𝑕𝑒𝑙𝑜𝑛 𝑓𝑜𝑟𝑚 จริงๆแล้วถ้าใครไม่รู้จัก 𝑅𝑜𝑤 𝑒𝑐𝑕𝑒𝑙𝑜𝑛 𝑓𝑜𝑟𝑚 ก็ไม่แปลกครับ เนื้อหานี้อยู่ใน 𝑀𝑎𝑡𝑕𝑒𝑚𝑎𝑡𝑖𝑐𝑠 𝐼 ของคณะ วิทยาศาสตร์ น้องๆปี 1 ทุกคนต้องได้เรียน ครับ แต่เพื่อเตรียมความพร้อมของน้อง ม . 6 จึงเอามาออกสอบมั้งคับ ตอบข้อ [3] วิเคราะห์ : ข้อนี้ต้องการตรวจสอบนิยามของ 𝑅𝑜𝑤 𝑒𝑐𝑕𝑒𝑙𝑜𝑛 𝑓𝑜𝑟𝑚 ใครอ่านมาก็ได้ ใครไม่ได้อ่านมาก็ตัว ใครตัวมันคับ เพราะน้อยนักน้อยหน้าจะออกแบบนี้ 𝟓. กาหนดให้ 𝑻 = 𝟏, 𝟐, 𝟑, 𝟒, 𝟓, 𝟔 และความสัมพันธ์ 𝒓 = {(𝒙, 𝒚) ∈ 𝑻 × 𝑻|𝒙 > 5 หรือ 𝒚 ≤ 𝟐} และ 𝒔 = {(𝒙, 𝒚) ∈ 𝑻 × 𝑻|𝒙 ≤ 𝟓 หรือ 𝒚 > 2} ข้อใดต่อไปนี้ผิด [𝟏] 𝑹 𝒓 − 𝑹 𝒔 = ∅ 𝟐 𝑫𝒓 ∪ 𝑫𝒔 = 𝑻 [𝟑] 𝒓 ∪ 𝒔 = 𝑻 × 𝑻 𝟒 𝒓∩ 𝒔= ∅ เฉลย อย่างแรกเราต้องหา 𝑟 ก่อนนะ แต่พี่อยากให้น้องทบทวนก่อนว่า 𝑇 × 𝑇 (อ่านว่า 𝑇 ครอส 𝑇 ) มีสมาชิกกี่ตัว ก็มีเท่ากับ 𝑛(𝑇) ∙ 𝑛 𝑇 ครับ เท่ากับ 6 ∙ 6 = 36 ซึ่งได้แก่ { 1, 1 , 1, 2 , 1, 3 , … , 1, 6 , 2, 1 , 2, 2 , … , (6, 6)} จากโจทย์โดเมนของ 𝑟 ต้องมากกว่า 5 ดังนั้นคู่ลาดับที่สอดคล้อง คือ 6, 1 , 6, 2 , 6, 3 , 6, 4 , 6, 5 , 6, 6 ∈ 𝑟 มี 6 ตัวใช่ป่ะ จากเรนจ์ของ 𝑟 ต้องน้อยกว่าหรือเท่ากับ 2 ดังนั้นคู่ลาดับที่สอดคล้อง คือ 1, 1 , 1, 2 , 2, 1 , 2, 2 , 3, 1 , 3, 2 , 4, 1 , 4, 2 , 5, 1 , 5, 2 , 6, 1 , (6, 2) ∈ 𝑟 ดังนั้นนาสองเซตมายูเนียนกัน จะพบว่ามีบางสมาชิกซ้ากัน (ในเซตเราถือว่าเอามาตัวเดียวพอ) จะได้ 𝑟 = { 1, 1 , 1, 2 , 2, 1 , 2, 2 , 3, 1 , 3, 2 , 4, 1 , 4, 2 , 5, 1 , 5, 2 , 6, 1 , 6, 2 , 6, 3 , 6, 4 , 6, 5 , (6, 6)} ดังนั้น 𝐷 𝑟 = 1, 2, 3, 4, 5, 6 , 𝑅 𝑟 = {1, 2, 3, 4, 5, 6} (เท่ากันเยย) คราวนี้เรามาดูของ 𝑠 กันบ้างนะครับ
  • 5. เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก 5 จาก 𝑠 = 𝑥, 𝑦 ∈ 𝑇 × 𝑇 𝑥 ≤ 5 หรือ 𝑦 > 2} โดเมนของ 𝑠 น้อยกว่าหรือเท่ากับ 5 จะได้คู่ลาดับที่สอดคล้อง คือ 1, 1 , 1, 2 , 1, 3 , … , 1, 6 , 2, 1 , 2, 2 , 2, 3 , … , 2, 6 , 3, 1 , 3, 2 , 3, 3 , … , 3, 6 , ⋮ ⋮ 5, 1 , 5, 2 , 5, 3 , … , (5, 6) ∈ 𝑠 หรือ เรนจ์ของ 𝑠 มากกว่า 2 จะได้ คู่ลาดับที่สอดคล้อง คือ 1, 3 , 1, 4 , 1, 5 , 1, 6 , 2, 3 , 2, 4 , 2, 5 , 2, 6 , ⋮ ⋮ 6, 3 , 6, 4 , 6, 5 , (6, 6) ∈ 𝑠 จับสมาชิกของ 𝑠 ทั้งหมดมารวมกันจะได้ จะได้ 𝑠 = { 1, 1 , 1, 2 , 1, 3 , … , 1, 6 , 2, 1 , 2, 2 , 2, 3 , … , 2, 6 , 3, 1 , 3, 2 , 3, 3 , … , 3, 6 , ⋮ ⋮ 5, 1 , 5, 2 , 5, 3 , … , 5, 6 , 6, 3 , 6, 4 , 6, 5 , (6, 6)} 𝐷 𝑠 = 1, 2, 3, 4, 5, 6 , 𝑅 𝑠 = {1, 2, 3, 4, 5, 6} ดังนั้นตอนนี้สรุปว่า 𝐷 𝑟 = 𝑅 𝑟 = 𝐷 𝑠 = 𝑅 𝑠 = {1, 2, 3, 4, 5, 6} = 𝑇 พิจารณาตัวเลือกแต่ละข้อคับ 1 𝑅 𝑟 − 𝑅 𝑠 = ∅ ถูกแล้วคับ 2 𝐷 𝑟 ∪ 𝐷 𝑠 = 𝑇 มันถูกอีกแล้ว [3] 𝑟 ∪ 𝑠 = 𝑇 × 𝑇 ถูกต้องนะค้าบ ลองยูเนียนกันดูได้ครบทุกตัวคับ 4 𝑟 ∩ 𝑠 = ∅ ผิดคับ เพราะมีตั้งหลายตัวที่ซ้ากัน เป็นไปบ่ได้ดอกที่จะเป็นเซตว่าง อย่างน้อยๆก็มี (1,1) ล่ะเอ้า จริงๆแล้วตอนหาโดเมนกับเรนจ์ ข้อนี้เราไม่จาเป็นกระจาย จนกระจุยออกมาหมดเปลือกเหมือนอย่างพี่ก็ได้คับ เพราะโดเมน กับเรนจ์สุดๆก็มี 6 ตัว แต่อย่างไรก็ตามเราก็ต้องหามันอยู่ดี เพราะข้อ 3 , [4] เราต้องรู้ว่ามันมีอะไรบ้าง ตอบข้อ [4] วิเคราะห์ : ข้อนี้ออกจะยาวสักหน่อย แต่ถ้าได้ฝึกทาบ่อยๆ พี่ป๋อ ณัฐวุฒิ ยังเรียกพี่คับ มันออกจะถึกสักหน่อย แต่ก็คุ้มเพราะมีแค่เรื่องเซต และผลคูณคาร์ทีเซียน เรียนกันมาตั้งแต่ ม.𝟒 (แต่ก็คืนอาจารย์ไปหมดแล้ว)
  • 6. เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก 6 𝟔. ถ้ากราฟของสมการ 𝒚 = 𝒇(𝒙) เป็นฟังก์ชันเพิ่มและ 𝒄 เป็นจานวนจริงใดๆ แล้วกราฟของสมการในข้อใด ต่อไปนี้ไม่เป็นฟังก์ชันเพิ่ม [𝟏] 𝒚 = 𝒇(𝒙 − 𝒄) 𝟐 𝒚= 𝒇 𝒙 + 𝒄 [𝟑] 𝒚 = 𝒇 −𝒙 − 𝒄 𝟒 𝒚 = −𝒇 −𝒙 + 𝒄 เฉลย เรามาดูนิยามของฟังก์ชันเพิ่มและฟังก์ชันลดกันก่อนนะครับ ฟังก์ชันเพิ่ม สาหรับทุกค่า 𝑥1 , 𝑥2 ที่อยู่ในโดเมนของ 𝑓 ถ้า 𝑥1 > 𝑥2 แล้ว 𝑓 𝑥1 > 𝑓 𝑥2 (จาไว้ว่า เครื่องหมายเหมือนกัน ) นิยามของฟังก์ชันเพิ่มอาจนิยามได้อีกแบบคือ ถ้า 𝑥1 < 𝑥2 แล้ว 𝑓 𝑥1 < 𝑓 𝑥2 ฟังก์ชันลด สาหรับทุกค่า 𝑥1 , 𝑥2 ที่อยู่ในโดเมนของ 𝑓 ถ้า 𝑥1 > 𝑥2 แล้ว 𝑓 𝑥1 < 𝑓 𝑥2 (จาไว้ว่า เครื่องหมายต่าง ) นิยามของฟังก์ชันลดอาจนิยามได้อีกแบบคือ ถ้า 𝑥1 < 𝑥2 แล้ว 𝑓 𝑥1 > 𝑓 𝑥2 ข้อนี้ขอเสนอวิธีเช็ค ง่ายๆ โดยสมมติฟังก์ชันที่เป็นฟังก์ชันเพิ่มมาสัก 1 ตัว คือ 𝑦 = 𝑓 𝑥 = 𝑥 + 1 เราจะแสดงว่า 𝑓 เป็นฟังก์ชันเพิ่มดังนี้ ให้ 𝑥1 > 𝑥2 บวกด้วย 1 ทั้งสองข้างอสมการ จะได้ 𝑥1 + 1 > 𝑥2 + 1 ดังนั้น 𝑓 𝑥1 > 𝑓 𝑥2 (เพราะจากโจทย์ 𝑥1 + 1 = 𝑓(𝑥1 ) และ 𝑥2 + 1 = 𝑓(𝑥2 ) ) นั่นคือ 𝑓 เป็นฟังก์ชันเพิ่มครับ ตรวจสอบตัวเลือกข้อ 1 ครับ ให้ 𝑐 = 1 (ให้เป็นอะไรก็ได้ เพราะเป็นค่าคงที่ใดๆ) พิจารณา 𝑦 = 𝑓 𝑥 − 1 = 𝑥 − 1 + 1 = 𝑥 ได้ฟังก์ชันนี้คือ 𝑦 = 𝑓(𝑥) = 𝑥 เมื่อตรวจสอบโดยนิยามข้างต้นจะได้ 𝑓 เป็นฟังก์ชันเพิ่มครับ
  • 7. เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก 7 ตรวจสอบข้อ [2] ให้ 𝑐 = 1 เหมือนเดิม 𝑦 = 𝑓 𝑥 + 𝑐 = 𝑥 + 1 + 1 = 𝑥 + 2 จะได้ 𝑦 = 𝑓(𝑥) = 𝑥 + 2 เมื่อตรวจสอบโดยนิยามของฟังก์ชันเพิ่มจะได้ 𝑓 เป็นฟังก์ชันเพิ่มครับ ตรวจสอบข้อ 3 ให้ 𝑐 = 1 𝑦 = 𝑓 −𝑥 − 𝑐 = −𝑥 + 1 − 1 = −𝑥 จะได้ 𝑦 = 𝑓(𝑥) = −𝑥 เป็นฟังก์ชันลดครับ วิธีการพิสูจน์เป็นดังนี้ ให้ 𝑥1 > 𝑥2 คูณด้วย −1 ตลอดอสมการนี้ จะได้ −𝑥1 < −𝑥2 นั่นคือ 𝑓 𝑥1 < 𝑓(𝑥2 ) จะได้ 𝑓 เป็นฟังก์ชันลดครับ ส่วนข้อ [4] นั้นเป็นฟังก์ชันเพิ่มครับ ลองทาดูคล้ายๆกับตัวอย่างข้างบนครับ ตอบข้อ [3] วิเคราะห์ : ข้อสอบประเภทนี้ไม่ค่อยออกครับ แต่ก็ออกมาเพื่อทดสอบความรู้เรื่องนิยามฟังก์ชันเพิ่มฟังก์ชัน ลดครับ นิยามก็ไม่ยากที่จะจดจาครับ เพราะฉะนั้นข้อนี้ก็ไม่ยากเกินไปครับ 𝟕. กาหนดให้วงกลมอยู่ในครอดรันต์ที่ 𝟏 มีรัศมีเท่ากับ 𝟑 หน่วย และสัมผัสแกน 𝑿 และแกน 𝒀 ที่จุด 𝑨 และ 𝑩 ตามลาดับ ถ้า 𝑳 เป็นเส้นตรงที่ตัดแกน 𝑿 และแกน 𝒀 ที่จุด 𝑨 และ 𝑩 ตามลาดับ แล้วระยะห่างระหว่างจุด ศูนย์กลางของวงกลมกับเส้นตรง 𝑳 คือข้อใดต่อไปนี้ 𝟐 𝟑 𝟐 [𝟏] 𝟐 หน่วย 𝟐 𝟐 หน่วย [𝟑] 𝟐 𝟐 หน่วย 𝟒 𝟑 𝟐 หน่วย
  • 8. เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก 8 เฉลย จากภาพเราจะได้จุดศูนย์วงกลมคือ (3,3) วิธีที่ 1 เนื่องจาก ∆𝐴𝑂𝐵 เป็นสามเหลี่ยมมุมฉาก เราสามารถหาความยาว 𝐵𝐴 ได้จากทฤษฎีบทปีทากอรัส นั่นคือ 2 𝐵𝐴 = 32 + 32 = 9 + 9 = 18 𝐵𝐴 = 18 = 3 2 เนื่องจาก พท.∆𝐴𝑂𝐵 คือ 1 1 1 ∙ ฐาน ∙ สูง = ∙ 𝐵𝐴 ∙ 𝑕 = ∙ 3 2 ∙ 𝑕 ______(1) 2 2 2 แต่เนื่องจาก พท.∆𝐴𝑂𝐵 (มองในทางกลับด้านกันนะ) 1 1 1 = ∙ ฐาน ∙ สูง = ∙ 𝐵𝐴 ∙ 𝑕 = ∙ 3 ∙ 3 _______(2) 2 2 2 ดังนั้น 1 = (2) 1 1 ∙3 2∙ 𝑕 = ∙3∙3 2 2 ดังนั้น 3 3 2 𝑕= = 2 2
  • 9. เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก 9 วิธีที่ 1 (สาหรับคนที่ชื่นชอบเรขาคณิตวิเคราะห์) จากภาพเราจะหาสมการเส้นตรง 𝐿 จากจุดผ่าน 𝐴(3, 0) และ 𝐵(0, 3) หาความชัน 𝑦2 − 𝑦1 3 − 0 3 𝑚= = = = −1 𝑥2 − 𝑥1 0 − 3 −3 เนื่องจากสมการทั่วไปของเส้นตรง คือ 𝑦 = 𝑚𝑥 + 𝑐 เมื่อ 𝑥, 𝑦 คือจุดผ่าน และ 𝑚 คือ ความชัน เราเลือกจุดผ่านเส้นตรงมา 1 จุด คือ (3, 0) (อันนี้เราสามารถเลือก (0, 3) ก็ได้) จะได้ 0 = (−1)(3) + 𝑐 นั่นคือ 𝑐 = 3 เราจะได้สมการเส้นตรงคือ 𝑦 = −𝑥 + 3 การหาสมการเส้นตรงทาได้อีกวิธีคือ แทนค่าในสูตร 𝑦 − 𝑦1 = 𝑚(𝑥 − 𝑥1 ) เมื่อ (𝑥1 , 𝑦1 ) คือจุดผ่าน เราจะ ได้สมการเส้นตรง 𝑦 − 0 = (−1)(𝑥 − 3) = −𝑥 + 3 ⟹ 𝑦 = −𝑥 + 3 จากสูตรของระยะห่างระหว่างเส้นตรง 𝐴𝑥 + 𝐵𝑦 + 𝑐 = 0 กับจุด (𝑥1 , 𝑦1 ) คือ 𝐴𝑥1 + 𝐵𝑦1 + 𝐶 𝑑= 𝐴2 + 𝐵 2 ดังนั้นระยะห่างระหว่างเส้นตรง 𝑥 + 𝑦 − 3 = 0 กับจุด 3, 3 คือ 1 3 + 1 3 −3 3 3 2 = = 12 + 12 2 2 ตอบข้อ [2] วิเคราะห์ : ข้อสอบประเภทนี้ถือว่าไม่ยากเพราะเลือกทาได้ตั้งสองวิธี ใครถนัดแบบไหนก็ทาแบบนั้นครับ ถึงแม้ว่าวิธีที่สอง จะยาวไปหน่อย แต่วิธีแรกก็อาจใช้ไม่ได้ ถ้า ∆𝑨𝑩𝑶 ไม่เป็นสามเหลี่ยมมุมฉากในขณะที่ วิธีที่สองทาได้หมดครับ เพราะฉะนั้นควรฝึกทั้งสองวิธี จะได้เก่งๆจริงมั้ย  ในเรื่องเรขาคณิตวิเคราะห์ จาเป็นต้องจาสูตรพื้นฐานต่างๆ ให้ได้หมดไม่งั้นจะทาไม่ได้เลยครับ
  • 10. เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก 10 𝟖. วงรีรูปหนึ่งมีความยาวของแกนเอกเท่ากับความยาวของเลตัสเรกตัมของพาราโบลา 𝒙 𝟐 − 𝟒𝒙 − 𝟖𝒚 + 𝟏 𝟐𝟖 = 𝟎 ถ้าวงรีนี้มีความเยื้องศูนย์กลางเท่ากับ แล้วความยาวของแกนโทของวงรีนี้ คือข้อใดต่อไปนี้ 𝟐 [𝟏] 𝟐 หน่วย 𝟐 𝟐 𝟑 หน่วย [𝟑] 𝟒 หน่วย 𝟒 𝟒 𝟑 หน่วย เฉลย พิจารณาพาราโบลา เราต้องการความยาวลาตัสเรกตัม นั่นคือ 4𝑐 ขั้นแรกพยายามจัดรูปให้อยู่ในรูปมาตรฐาน คือ (𝑥 − 𝑕)2 = 4𝑐 𝑦 − 𝑘 จาก 𝑥 2 − 4𝑥 − 8𝑦 + 28 = 0 𝑥 2 − 4𝑥 = 8𝑦 − 28 (𝑥 − 2)2 − 4 = 8𝑦 − 28 (𝑥 − 2)2 = 8𝑦 − 24 (𝑥 − 2)2 = 8(𝑦 − 3) ดังนั้น 4𝑐 = 8 นั่นคือ 4𝑐 = 8 เป็นค่า เลตัสเรกตัม (𝐿𝑅) ดังนั้นความยาวแกนเอกคือ 8 นั่นคือ 𝑐 2𝑎 = 8 จะได้ 𝑎 = 4 จากสูตรความเยื้องศูนย์กลางของวงรี คือ 𝑒 = (อันนี้ต้องจาหน่อยนะครับ) 𝑎 ดังนั้น 1 𝑐 𝑐 = = ⇒ 𝑐=2 2 𝑎 4 จากความสัมพันธ์ระหว่าง 𝑎, 𝑏 , 𝑐 ของวงรีคือ 𝑎2 = 𝑏2 + 𝑐 2 ( 𝑎 เป็นใหญ่ในวงรี 𝑐 เป็นใหญ่ใน 𝑕𝑦𝑝𝑒𝑟 ถ้าใน 𝑕𝑦𝑝𝑒𝑟 จะได้ 𝑐 2 = 𝑎2 + 𝑏2 ) ดังนั้น 42 = 𝑏2 + 22 จะได้ 𝑏 = 2 3 ดังนั้นความยาวแกนโทคือ 2𝑏 = 4 3
  • 11. เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก 11 ตอบข้อ [4] วิเคราะห์ : ข้อสอบประเภทนี้ทดสอบเรื่องวงรีและพาราโบลาครับ ทุกสมการเราต้องจาให้ได้ครับ โดยเฉพาะสมการมาตรฐาน เพราะข้อสอบนิยมออกสอบแบบผสมผสานกันอย่างมากครับ และอย่าได้คิดว่าจาเรื่อง วงกลม พาราโบลา วงรี และไฮเปอร์แล้วจะทาได้ เราต้องจาเรื่องเรขาคณิตวิเคราะห์ ด้วย โดยเฉพาะเรื่องเส้นตรง และสูตรต่างๆ ต้องหาเทคนิคจาให้ได้ 𝟐 𝒙 −𝟐 𝟐𝒙 𝟗. กาหนดให้ ℝ แทนเซตของจานวนจริงและ 𝑨 = 𝒙 ∈ ℝ 𝟓 𝟗 = 𝟔𝟐𝟓 𝟐 } ผลบวกสมาชิกของ 𝑨 คือข้อใดต่อไปนี้ −𝟐 𝟏 [𝟏] −𝟏 𝟐 [𝟑] 𝟎 𝟒 𝟓 𝟓 เฉลย การแก้สมการหรืออสมการ ที่อยู่ในรูปเอกซ์โปเนนเชียล เราจาเป็นที่จะต้องทาฐานให้เท่ากันครับ 𝟐 𝒙 −𝟐 𝟐𝒙 𝟐𝒙 𝟐𝒙 𝟐 ∙𝟐 𝟐𝒙 𝟐𝒙+𝟐 𝟓𝟗 = 𝟔𝟐𝟓 𝟐 = (𝟓 𝟒 ) 𝟐 = (𝟓) 𝟒∙𝟐 = (𝟓) 𝟐 = (𝟓) 𝟐 เมื่อฐานเท่ากันแล้ว เราจะนาเลขชี้กาลังมาเท่ากันครับ จะได้ว่า 𝟗 𝟐 𝒙 − 𝟐 = 𝟐 𝟐𝒙+𝟐 𝟐 𝟐𝒙+𝟐 − 𝟗 𝟐 𝒙 + 𝟐 = 0 𝟒 ∙ 𝟐 𝟐𝒙 − 𝟗 𝟐 𝒙 + 𝟐 = 0_____(1) ต่อไปให้ 𝐵 = 2 𝑥 แทนใน (1) 4𝐵2 − 9𝐵 + 2 = 0 4𝐵 − 1 𝐵−2 =0 1 𝐵 = ,2 4 กรณี 𝐵 = 1 ⇒ 2 𝑥 = 1 = 2−2 ⇒ 𝑥 = −2 4 4 กรณี 𝐵 = 2 ⇒ 2 𝑥 = 2 ⇒ 𝑥 = 1 ดังนั้นผลบวกคาตอบ คือ −2 + 1 = −1
  • 12. เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก 12 ตอบข้อ [1] วิเคราะห์ : ข้อสอบประเภทนี้ออกสอบทุกปีครับ อยู่ที่ว่าจะเอาคาตอบไปทาอะไรครับ เรื่องเอกซ์โปรเนี่ยมัน ยากตรงที่ทาฐานให้เท่ากัน และแปลงเป็นสมการกาลังสอง แล้วแยกตัวประกอบออกมา หาคาตอบครับ เรื่องการแยกตัวประกอบก็มีความสาคัญมากเหมือนกันครับ จาเป็นต้องมีพื้นฐานเรื่องนี้มาก −𝟒 𝟏𝟎. ค่าของ 𝒄𝒐𝒔 𝒂𝒓𝒄𝒕𝒂𝒏 คือข้อใดต่อไปนี้ 𝟑 −𝟒 −𝟑 𝟑 𝟒 [𝟏] 𝟐 𝟑 𝟒 𝟓 𝟓 𝟓 𝟓 เฉลย อย่างแรกเราต้องนึกถึง 𝑐𝑜𝑠(𝑎𝑟𝑐𝑐𝑜𝑠 𝑥) = 𝑥 −𝟒 ดังนั้นเราต้องหาค่า 𝑦 ที่ทาให้ 𝒂𝒓𝒄𝒕𝒂𝒏 𝟑 = 𝒂𝒓𝒄𝒄𝒐𝒔 𝒚 −4 −4 4 ให้ 𝑎𝑟𝑐𝑡𝑎𝑛 3 = 𝜃 แสดงว่า 𝑡𝑎𝑛𝜃 = 3 = − 3 เราจึงเขียนสามเหลี่ยมมุมฉากได้สองรูปดังนี้
  • 13. เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก 13 สังเกตเห็นว่ารูปทั้งสองให้ค่า 𝑡𝑎𝑛𝜃 = − 4 ทั้งคู่ แต่เราต้องเลือกมาพิจารณาเพียงรูปเดียวเท่านั้น สิ่งจะกาหนดได้ว่าเรา 3 −𝟒 จะเลือกรูปไหนคือ 𝜽 = 𝒂𝒓𝒄𝒕𝒂𝒏 𝟑 แต่ − 2𝜋 < 𝑎𝑟𝑐𝑡𝑎𝑛 𝑥 < 2𝜋 นั่นคือ เรนจ์ของ 𝑎𝑟𝑐𝑡𝑎𝑛 𝑥 มีค่าอยู่ระหว่าง ครอดรันต์ที่ 1 หรือ 4 เท่านั้น แต่ 𝑡𝑎𝑛 𝜃 มีเครื่องหมายลบ ทาให้ 𝜃 ต้องอยู่ในครอดรันต์ที่ 4 นั่นคือเราต้องเลือกรูปที่ 1 มาพิจารณานั่นเอง เพราะ 𝑐𝑜𝑠 𝜃 = 3 เป็นบวก สอดคล้องกับที่ 𝜃 อยู่ในครอดรันต์ที่ 4 5 ถ้ายังไม่เข้าใจเรื่องเครื่องหมายของค่าฟังก์ชันเหล่านี้ ให้ไปอ่านในหัวข้อ หลักการลดทอนมุมทางตรีโกณมิติ ในหัวข้อถัดจาก ข้อ 12 ทบทวน − 2𝜋 ≤ 𝑎𝑟𝑐𝑠𝑖𝑛 𝑥 ≤ 2𝜋 , 0 ≤ 𝑎𝑟𝑐𝑐𝑜𝑠 𝑥 ≤ 𝜋 , − 2𝜋 < 𝑎𝑟𝑐𝑡𝑎𝑛 𝑥 < 2𝜋 จาได้มั้ยเอ่ย เมื่อได้สามเหลี่ยมมุมฉากรูปที่ 1 มาแล้ว ก็อย่าได้ให้สูญเปล่า เราจึงพิจารณาได้ดังนี้ −4 3 𝑎𝑟𝑐𝑡𝑎𝑛 = 𝜃 = 𝑎𝑟𝑐𝑐𝑜𝑠⁡ ) ( 3 5 นั่นคือ −4 3 3 𝑐𝑜𝑠 𝑎𝑟𝑐𝑡𝑎𝑛 = 𝑐𝑜𝑠 𝑎𝑟𝑐𝑐𝑜𝑠 = 3 5 5 ตอบข้อ [1] วิเคราะห์ : ข้อสอบข้อนี้อาจต้องใช้ความรู้เรื่องโดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชัน 𝒂𝒓𝒄𝒕𝒂𝒏 มาช่วย ตรงนี้สาคัญ มากครับ ถ้ายังไม่เข้าใจ ควรทาความเข้าใจให้ถ่องแท้ซะ เพราะข้อสอบออกบ่อยมากๆ แทบทุกปี มีข้อสอบ แบบนี้แต่เปลี่ยนฟังก์ชันไปเรื่อยๆ อาจเป็น 𝒔𝒊𝒏, 𝒄𝒐𝒔, 𝒕𝒂𝒏 มันไม่ยากถ้าหากเราใส่ใจมันสักนิด
  • 14. เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก 14 𝟐 𝟐 𝟏𝟏. กาหนดให้ 𝒖 และ 𝒗 เป็นเวกเตอร์ซึ่ง 𝒖 + 𝒗 + 𝒖− 𝒗 = 𝟐𝟐 และ 𝒖 = 𝟑 ถ้ามุมระหว่าง 𝒖 และ 𝒗 เป็น 𝟔𝟎° แล้วค่าของ 𝒖 ∙ 𝒗 คือข้อใดต่อไปนี้ [𝟏] 𝟐 𝟐 𝟔 [𝟑] 𝟏𝟐 𝟒 𝟏𝟖 เฉลย จากสูตรการดอทกันของเวกเตอร์ 𝑢 ∙ 𝑣 = 𝑢 𝑣 𝑐𝑜𝑠𝜃____________(1) เมื่อ 𝜃 เป็นมุมระหว่าง 𝑢 และ 𝑣 เนื่องจาก 2 2 𝑢+ 𝑣 + 𝑢− 𝑣 = 𝑢 2+2 𝑢∙ 𝑣 + 𝑣 2 + 𝑢 2 −2 𝑢∙ 𝑣 + 𝑣 2 =2 𝑢 2+2 𝑣 2 = 22 ดังนั้นเราจะได้ 2 2 𝑢 + 𝑣 = 11 แต่ 𝑢 = 3 ดังนั้น 3 + 𝑣 2 = 11 ⇒ 𝑣 = 8 จาก (1) 1 𝑢 ∙ 𝑣 = 𝑢 𝑣 𝑐𝑜𝑠𝜃 = 3 ∙ 8 ∙ 𝑐𝑜𝑠60° = 3 ∙ 8 ∙ = 6 2 ตอบข้อ [2] วิเคราะห์ : ข้อสอบข้อนี้ถ้าจานิยามของการดอท และสูตรกาลังสองของเวกเตอร์ก็ทาได้แล้วครับ ถือว่าไม่ ยาก แต่ก็ออกสอบทุกปีเหมือนกัน
  • 15. เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก 15 𝟏𝟎 𝟏+ 𝟑𝒊 𝟏𝟐. ถ้า 𝒛 = แล้ว ตัวผกผันของการบวกของ 𝒛 คือข้อใดต่อไปนี้ 𝟏− 𝟑𝒊 𝟏 𝟑 𝟏 𝟑 [𝟏] − 𝟐 + 𝒊 𝟐 − 𝟐− 𝒊 𝟐 𝟐 𝟏 𝟑 𝟏 𝟑 [𝟑] + 𝒊 𝟒 − 𝒊 𝟐 𝟐 𝟐 𝟐 เฉลย พิจารณา 1 + 3𝑖 (1 + 3𝑖) 1 + 2 3𝑖 + ( 3𝑖)2 = 1 − 3𝑖 (1 + 3𝑖) 1 − ( 3𝑖)2 1 + 2 3𝑖 − 3 = 1 − (−3) 1 + 2 3𝑖 − 3 = 4 −2 + 2 3𝑖 = 4 −1 3𝑖 = + 2 2 อืมมม…..ต้องยกกาลัง 10 เชียวรึเนี่ยว จะยกยังไงไหวเนี่ย เพราะมันต้องยาวขึ้นเรื่อยๆแน่ เราต้องเปลี่ยนให้อยู่ในรูปเชิงขั้วก่อนถึงจะง่ายครับ 555 + + มาดูวิธีทาให้อยู่ในรูปเชิงขั้วก่อนครับ (ต้องจาซะหน่อยนะ) และจะชี้ให้เห็นด้วยว่า ถ้าไม่คูณด้วยสังยุค เพื่อจัดรูปก่อนจะยาว กว่าที่จัดรูปมากน้อยแค่ไหน มาดูกันเลย พิจารณา ให้ 𝑧1 = 1 + 3𝑖 = 𝑎 + 𝑏𝑖 𝑏 3 𝜋 𝑡𝑎𝑛𝜃 = = ดังนั้น 𝜃 = 60° = (อยู่ในครอดรันต์ที่ 1 , 𝑎 เป็น + และ 𝑏 เป็น+) 𝑎 1 3 และ 𝑟 = 𝑎2 + 𝑏 2 = 12 + ( 3)2 = 4 = 2 ดังนั้น 𝑧1 = 𝑟 𝑐𝑜𝑠𝜃 + 𝑖𝑠𝑖𝑛𝜃 = 2(𝑐𝑜𝑠 3𝜋 + 𝑖𝑠𝑖𝑛 3𝜋 ) การหามุมถ้าใครยังสงสัยให้ไปดูที่ หลักการหามุมเพื่อเขียนจานวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว ในหัวข้อหลังจากข้อนี้
  • 16. เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก 16 ให้ 𝑧2 = 1 − 3𝑖 = 𝑎 + 𝑏𝑖 𝑏 − 3 5𝜋 𝑡𝑎𝑛𝜃 = = ดังนั้น 𝜃 = 300° = (อยู่ในครอดรันต์ที่ 4, 𝑎 เป็น + และ 𝑏 เป็น−) 𝑎 1 3 และ 𝑟 = 𝑎2 + 𝑏 2 = 12 + (− 3)2 = 4 = 2 5𝜋 5𝜋 ดังนั้น 𝑧1 = 𝑟 𝑐𝑜𝑠𝜃 + 𝑖𝑠𝑖𝑛𝜃 = 2[𝑐𝑜𝑠 3 + 𝑖𝑠𝑖𝑛 3 ] จากสูตรการหารจานวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้วจะได้ 𝑧1 𝑟1 2 𝜋 5𝜋 𝜋 5𝜋 = 𝑐𝑜𝑠 𝜃1 − 𝜃2 + 𝑖𝑠𝑖𝑛 𝜃1 − 𝜃2 = 𝑐𝑜𝑠 − + 𝑖𝑠𝑖𝑛 − 𝑧2 𝑟2 2 3 3 3 3 4𝜋 4𝜋 = 𝑐𝑜𝑠 − + 𝑖𝑠𝑖𝑛(− ) 3 3 4𝜋 4𝜋 = 𝑐𝑜𝑠 + 𝑖𝑠𝑖𝑛(− ) 3 3 𝑧1 10 ต่อไปหา 𝑧2 โดยสูตรของเดอร์มัวร์ 𝑧 𝑛 = 𝑟 𝑛 (𝑐𝑜𝑠( 𝑛𝜃) + 𝑖𝑠𝑖𝑛(𝑛𝜃)) ดังนั้น 𝑧1 10 4𝜋 4𝜋 = 110 [𝑐𝑜𝑠 10 ∙ + 𝑖𝑠𝑖𝑛(−10 ∙ )] 𝑧2 3 3 40𝜋 40𝜋 = 𝑐𝑜𝑠 − 𝑖𝑠𝑖𝑛( ) 3 3 เนื่องจาก 40𝜋 = 13𝜋 + 3𝜋 ตกอยู่ในครอดรันต์ที่ 3 ดังนั้น 𝑐𝑜𝑠 40𝜋 1 40𝜋 3 = − 2 และ 𝑠𝑖𝑛 =− 3 3 3 2 ดังนั้น 𝑧1 10 1 3 =− + 𝑖 𝑧2 2 2 โจทย์ต้องการตัวผกผันการบวก ซึ่งก็คือ เมื่อนามาบวกกับตัวมันแล้วได้เอกลักษณ์ คือ 1 3 𝑧1 10 ดังนั้นเราจึงได้ตัวผกผันคือ 2 − 2 𝑖 ซึ่งนามาบวกกับ 𝑧2 แล้วได้ 0 ต่อไปนี้ขอเสนออีกวิธีหนึ่งซึ่งเกริ่นไว้ตั้งแต่ตอนแรกด้วยการคูณด้วยสังยุคของตัวมันเอง ให้ 𝑧 ′ = −1 + 3𝑖 2 2 ทาให้อยู่ในรูปเชิงขั้วแล้วยกกาลัง 10 เราจะได้ว่า
  • 17. เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก 17 2 2 −1 3 −1 3 2𝜋 𝑎= , 𝑏= , 𝑟= + = 1, 𝜃 = 2 2 2 2 3 2𝜋 2𝜋 ดังนั้น 𝑧′ = 𝑟 𝑐𝑜𝑠𝜃 + 𝑖𝑠𝑖𝑛𝜃 = 𝑐𝑜𝑠 3 + 𝑖𝑠𝑖𝑛 3 นามายกกาลัง 10 โดยใช้สูตรของเดอร์มัวร์จะได้ 2𝜋 2𝜋 1 3𝑖 𝑧 = (𝑧′)10 = 𝑐𝑜𝑠 10 ∙ + 𝑖𝑠𝑖𝑛 10 ∙ =− + 3 3 2 2 ตัวผกผันการบวกของ 𝑧10 คือ 1 − 3𝑖 2 2 เห็นไหมล่ะว่าสังยุคมีประโยชน์มากนะครับวิธีที่สองง่ายกว่าเยอะเลยครับ ตอบข้อ [4] วิเคราะห์ : ข้อสอบข้อนี้ถือว่ายากครับพ่อแม่พี่น้องครับ เพราะต้องใช้ความรู้หลายอย่างเลย รวมถึงตรีโกณ ด้วยครับ แต่ถ้าจาหลักการและฝึกทาบ่อยๆ จะจาได้เองครับ เป็นอัตโนมัติเชียวแหละไม่ต้องกังวล ข้อนี้ถือว่า ต้องใช้เวลามากพอสมควร (ถ้าทามาถูกวิธีก็ไม่ยาวหรอกครับ) แต่ถ้าได้หลักการเหล่าแล้ว เรื่องตรีโกณก็จะ เบาขึ้นมากครับ หลักการหามุมเพื่อเขียนจานวนเชิงซ้อนให้อยู่ในรูปเชิงขั้ว จาก 𝒛 = 𝒂 + 𝒃𝒊 ให้อยู่ในรูป 𝒛 = 𝒓(𝒄𝒐𝒔𝜽 + 𝒊𝒔𝒊𝒏𝜽) เนื่องจากเราทราบกันดีแล้วว่า เราสามารถหา 𝒓 ได้จาก 𝒓 = 𝒂𝟐 + 𝒃𝟐 แต่ที่เป็นปัญหาคือ เราจะหา 𝜃 มาใส่ได้ถูกต้องหรือไม่ เราจะศึกษาจากตัวอย่างต่อไปนี้ ตัวอย่างที่ 1 จงเขียน 𝑧 = − 3 + 𝑖 ให้อยู่ในรูปเชิงขั้ว
  • 18. เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก 18 เริ่มแรกเลย จากโจทย์ 𝑎 = − 3 , 𝑏 = 1 และ 𝑟 = (− 3)2 + 12 = 2 และจาก 𝑡𝑎𝑛𝜃 = 𝑏𝑎 = −1 โดยที่ 𝜃 เป็นมุมทีวัดจากแกน 𝑋 3 และ 𝑎 เป็นหน่วยความยาวที่วัดจากแกน 𝑋 , 𝑏 เป็นหน่วยความยาวที่วัดจากแกน 𝑌 พิจารณาดังภาพ ต่อไปพิจารณาสามเหลี่ยมมุมฉากที่เกิดขึ้นครับ เป็นสามเหลี่ยมที่มีความยาวด้านตรงข้ามมุม 𝜃 เป็น 1 และความยาวด้าน ประชิดมุมเป็น 3 ดังนั้น 𝜃 = 30° = 6𝜋 แต่มุมที่เราจะระบุในเชิงขั้ว เป็นมุมที่วัดจากแกน 𝑋 ทางบวกในทิศทวนเข็ม นาฬิกา ตามลูกศรเส้นปะดังภาพ ดังนั้น 𝜃 ที่เราจะใส่ในเชิงขั้ว คือ 𝜃 = 𝜋 − 6𝜋 = 5𝜋 = 150° 6 ( 𝜋 คือครึ่งรอบวงกลม = 180° นาไปลบ 𝜃 ออก จะได้มุมที่ต้องการครับ) 5𝜋 5𝜋 ดังนั้น 𝑧 = 𝑟 𝑐𝑜𝑠𝜃 + 𝑖𝑠𝑖𝑛𝜃 = 2[𝑐𝑜𝑠 6 + 𝑖𝑠𝑖𝑛 6 ] ตัวอย่างที่ 2 จงเขียน 𝑧 = 3 − 3 3𝑖 ให้อยู่ในรูปเชิงขั้ว เริ่มแรกเลย จากโจทย์ 𝑎 = 3 , 𝑏 = −3 3 และ 𝑟 = 32 + (−3 3)2 = 6 และจาก 𝑡𝑎𝑛𝜃 = 𝑏𝑎 = −33 3 โดยที่ 𝜃 เป็นมุมทีวัดจากแกน 𝑋 และ 𝑎 เป็นหน่วยความยาวที่วัดจากแกน 𝑋 , 𝑏 เป็นหน่วยความยาวที่วัดจากแกน 𝑌 พิจารณาดังภาพ
  • 19. เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก 19 ต่อไปพิจารณาสามเหลี่ยมมุมฉากที่เกิดขึ้นครับ เป็นสามเหลี่ยมที่มีความยาวด้านตรงข้ามมุม 𝜃 เป็น 3 3 และความยาว ด้านประชิดมุมเป็น 3 ดังนั้น 𝜃 = 60° = 3𝜋 แต่มุมที่เราจะระบุในเชิงขั้ว เป็นมุมที่วัดจากแกน 𝑋 ทางบวกในทิศทวนเข็ม นาฬิกา ตามลูกศรเส้นปะดังภาพ ดังนั้น 𝜃 (ที่เราจะใส่ในเชิงขั้ว)คือ 𝜃 = 2𝜋 − 3𝜋 = 5𝜋 = 300° 3 (2𝜋 คือรอบวงกลม 1 รอบ = 360° นาไปลบ 𝜃 ออก จะได้มุมที่ต้องการครับ) ถ้าใครอ่านทั้งสองตัวอย่างยังไม่รู้เรื่อง ผมมีอีกวิธีครับ จากตัวอย่างที่ 1 จะเขียน 𝑧 = − 3 + 𝑖 ในรูปเชิงขั้ว ขั้นแรกให้เรานึกถึง 𝑡𝑎𝑛𝜃 = 𝑏𝑎 = 1 𝜋 (ยังไม่ต้องคิดเครื่องหมายใดๆทั้งสิ้น ) จะได้ 𝜃 = 3 6 แต่เนื่องจาก 𝜃 ตกอยู่ในครอดรันต์ที่ 2 (ตอนนี้คิดเครื่องหมายของ 𝑎 และ 𝑏 ทาให้ได้ 𝜃 อยู่ใน 𝑄2 ) ดังภาพ
  • 20. เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก 20 หลังจากนั้นให้เราไล่มุมเริ่มจาก ตัวเลขที่ปรากฏ 1, 5, 7, 11 คือ ตัวเลขเรียงถัดไป และมี ห .ร.ม กับ กับ 6 เป็น 1 (หรือคิดง่ายๆ ตัวเลขที่เอาเลขอะไรไปตัดกับ 6 ไม่ได้นั่นเอง) 𝜋 5𝜋 7𝜋 11𝜋 ⟹ ⟹ ⟹ 6 6 6 6 𝑄1 𝑄2 𝑄3 𝑄3 หมายความว่า ถ้ามุมตกอยู่ในครอดรันต์ที่ 2 ( 𝑄2 ) เราจะได้ว่า 𝜃 = 5𝜋 ครับ ถ้าตกอยู่ในครอดรันต์ที่ 3 ก็กลายเป็นมุม7𝜋 6 6 นั่นเองครับ (แนะนาว่าให้ไล่ 1, 2, 3, 4, ,5, … ไปเรื่อยๆและดูว่าตัวเลขตัวไหนที่เอาอะไรตัดกับ 6 ไม่ได้) ตัวอย่างที่ 2(วิธีที่ 2) จงเขียน 𝑧 = 3 − 3 3𝑖 ให้อยู่ในรูปเชิงขั้ว ขั้นแรกให้เรานึกถึง 𝑡𝑎𝑛𝜃 = 𝑏𝑎 = −33 3 = 3 (ยังไม่ต้องคิดเครื่องหมายใดๆทั้งสิ้น คิดแค่ 𝑡𝑎𝑛 𝜃 = 3) จะได้ 𝜋 𝜃 = 3 แต่เนื่องจาก 𝜃 ตกอยู่ในครอดรันต์ที่ 4 (ตอนนี้คิดเครื่องหมายของ 𝑎 และ 𝑏 ทาให้ได้ 𝜃 อยู่ใน 𝑄2 ) ดังภาพ หลังจากนั้นให้เราไล่มุมเริ่มจาก 𝜋 2𝜋 4𝜋 5𝜋 ⟹ ⟹ ⟹ 3 3 3 3 𝑄1 𝑄2 𝑄3 𝑄4
  • 21. เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก 21 เราจะได้ว่า มุมที่เราต้องการคือ 𝜃 = 5𝜋 3 หลักการลดทอนมุมทางตรีโกณมิติ เริ่มต้นจากการท่องว่า 𝐴𝐿𝐿 ⟹ 𝑠𝑖𝑛 ⟹ 𝑡𝑎𝑛 ⟹ 𝑐𝑜𝑠 ดูภาพประกอบนะครับ คาอธิบาย : ครอดรันต์ที่ 1 𝐴𝐿𝐿 ทุกฟังก์ชันถ้ามุมตกอยู่ในครอดรันต์นี้ ค่าที่ได้จะมีค่าเป็นบวกหมดครับ ไม่ว่าจะเป็น 𝑠𝑖𝑛, 𝑐𝑜𝑠, 𝑡𝑎𝑛, 𝑠𝑒𝑐, 𝑐𝑜𝑠𝑒𝑐, 𝑐𝑜𝑡 1 ครอดรันต์ที่ 2 𝑠𝑖𝑛 และส่วนกลับของ 𝑠𝑖𝑛 คือ 𝑐𝑜𝑠𝑒𝑐 ที่เป็นบวก เพราะ 𝑠𝑖𝑛 𝜃 = 𝑐𝑜𝑠𝑒𝑐 𝜃 1 ครอดรันต์ที่ 3 𝑡𝑎𝑛 และส่วนกลับของ 𝑡𝑎𝑛 คือ 𝑐𝑜𝑡 ที่เป็นบวก เพราะ 𝑡𝑎𝑛 𝜃 = 𝑠𝑖𝑛 𝜃 1 ครอดรันต์ที่ 4 𝑐𝑜𝑠 และส่วนกลับของ 𝑐𝑜𝑠 คือ 𝑠𝑒𝑐 ที่เป็นบวก เพราะ 𝑐𝑜𝑠 𝜃 = 𝑠𝑒𝑐 𝜃 4𝜋 เมื่อเราต้องการหา 𝑐𝑜𝑠 3 ให้เราหาก่อนว่า 4𝜋 ตกอยู่ในครอดรันต์ใด 3 4 1 พิจารณา 3 เราสามารถเขียนเป็น 1 + 3 1 1+ 3 เพราะ 1 คือผลหาร และ 1 คือ เศษที่เกิดจากการหาร
  • 22. เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก 22 ดังนั้น 4𝜋 𝜋 𝜋 = 𝜋+ 3 3 มุมนี้อยู่ในแนวราบ จากสูตร 𝑐𝑜𝑠(ราบ ± 𝜃) = ±𝑐𝑜𝑠 𝜃 จะได้บวกหรือลบขึ้นอยู่กับว่ามุมตกอยู่ในควอดรันต์ที่เท่าไหร่ 4𝜋 𝜋 เนื่องจากเราพิจารณา 𝑐𝑜𝑠 3 = 𝑐𝑜𝑠 𝜋 + 3 𝜋  3 4𝜋 𝜋 ดังนั้นมุมตกอยู่ในควอดรันต์ที่ 3 𝑡𝑎𝑛 กับ 𝑐𝑜𝑡 เท่านั้นที่เป็นบวก ดังนั้น 𝑐𝑜𝑠 3 = 𝑐𝑜𝑠 𝜋 + 3 = 𝜋 −1 −𝑐𝑜𝑠 = 3 2 นอกจากนี้เรายังสามารถพิจารณามุมอื่นๆได้อีกด้วย มีสูตรดังต่อไปนี้ 𝑐𝑜𝑠(ราบ ± 𝜃) = ±𝑐𝑜𝑠 𝜃 𝑠𝑖𝑛(ราบ ± 𝜃) = ±𝑠𝑖𝑛 𝜃 𝑡𝑎𝑛(ราบ ± 𝜃) = ±𝑡𝑎𝑛 𝜃 𝑐𝑜𝑡(ราบ ± 𝜃) = ±𝑐𝑜𝑡 𝜃 𝑠𝑒𝑐(ราบ ± 𝜃) = ±𝑠𝑒𝑐 𝜃 𝑐𝑒𝑠𝑒𝑐(ราบ ± 𝜃) = ±𝑐𝑜𝑠𝑒𝑐 𝜃 𝑐𝑜𝑠(ราบ ± 𝜃) = ±𝑐𝑜𝑠 𝜃 เครื่องหมาย บวกหรือลบที่ได้ขึ้นอยู่กับว่ามุมตกอยู่ในครอดรันต์ที่เท่าใด และมุมในแนวราบในที่นี้คือ 0, 𝜋, 2𝜋, 3𝜋, …
  • 23. เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก 23 𝟏𝟑. ถ้าให้ 𝑨 = {𝟏, 𝟐, 𝟑} และ 𝑩 = {𝟏, 𝟐, 𝟑, 𝟒, 𝟓} แล้ว จานวนของฟังก์ชันจาก 𝑨 ไปยัง 𝑩 ที่เป็นฟังก์ชัน เพิ่มคือข้อใดต่อไปนี้ [𝟏] 𝟏𝟎 𝟐 𝟏𝟐 [𝟑] 𝟏𝟒 𝟒 𝟏𝟔 เฉลย นิยามของฟังก์ชันเพิ่ม คือ ถ้า 𝑥1 < 𝑥2 แล้ว 𝑓 𝑥1 < 𝑓(𝑥2 ) เราสามารถแยกเป็นกรณีเพื่อพิจารณาได้ดังนี้ กรณี 𝑓 1 = 1 (นั่นคือ ให้ 𝑓 ส่ง 1 ไปที่ 1) จะทาให้ 𝑓(2) ส่งไปที่ 2 หรือ 3 หรือ 4 (ส่งไปที่ 5 ไม่ได้นะ เพราะจะไม่เหลือค่าให้ส่ง 3 อย่าลืมว่าเงื่อนไขเราต้องการ ฟังก์ชันเพิ่ม) ดูจากภาพ 1 1 2 2 3 3 4 5 เราไม่สามารถหาตัวที่ส่งไป 3 ไปได้ สมมติถ้า 𝑓(3) = 2 จะส่งผลทาให้ฟังก์ชันที่ได้ไม่เป็นฟังก์ชันเพิ่มครับ เพราะ 2 < 3 แต่ 𝑓(2) ≮ 𝑓(3) ต่อไปพิจารณาถ้า 𝑓(2) = 2 จะได้ว่า 𝑓 3 เลือกส่งได้ 3 วิธี ถ้าเราจะจาแนกเป็นแผนภาพก็ได้ดังนี้ครับ 1 1 1 1 1 2 1 2 2 2 2 3 2 3 3 4 3 4 3 4 3 5 5 5 𝑓(2) = 3 จะได้ว่า 𝑓 3 เลือกส่งได้ 2 วิธี ถ้าเราจะจาแนกเป็นแผนภาพก็ได้ดังนี้ครับ 1 1 1 2 1 2 2 3 2 3 3 4 3 4 5 5
  • 24. เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก 24 𝑓(2) = 4 จะได้ว่า 𝑓 3 เลือกส่งได้ 1 วิธี ถ้าเราทาเป็นแผนภาพก็ได้ดังนี้ครับ 1 1 2 2 3 3 4 5 รวมทั้งหมด คือ 3 + 2 + 1 = 6 วิธี กรณี 𝑓 1 = 2 (นั่นคือ ให้ 𝑓 ส่ง 1 ไปที่ 1) จะทาให้ 𝑓(2) ส่งไปที่ 3 หรือ 4 𝑓(2) = 3 จะได้ว่า 𝑓 3 เลือกส่งได้ 2 วิธี ถ้าเราจะจาแนกเป็นแผนภาพก็ได้ดังนี้ครับ 1 1 1 2 1 2 2 3 2 3 3 4 3 4 5 5 𝑓(2) = 3 จะได้ว่า 𝑓 3 เลือกส่งได้ 1 วิธี ถ้าเราจะจาแนกเป็นแผนภาพก็ได้ดังนี้ครับ 1 1 2 2 3 3 4 5 รวมทั้งหมด คือ 2 + 1 = 3 วิธี
  • 25. เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก 25 กรณี 𝑓 1 = 3 จะได้ 𝑓 2 = 4, 𝑓 3 = 5 ทาได้ 1 วิธีถ้าเราจะจาแนกเป็นแผนภาพก็ได้ดังนี้ครับ 1 1 2 2 3 3 4 5 เราจะรวมทุกกรณีได้ 6 + 3 + 1 = 10 วิธี ตอบข้อ [1] วิเคราะห์ : ข้อสอบแนวนี้นาฟังก์ชันมาประยุกต์ใช้กับเรื่องการเรียงสับเปลี่ยน และการจัดหมู่ ถือว่าเป็น ข้อสอบที่แวกแนวอีกแบบ แต่ถ้าเข้าใจพื้นฐานเรื่องการนับเบื้องตันก็ไม่น่าเป็นห่วงหรอกครับ แค่ส่วนใหญ่ เรื่องนี้มักเป็นไม้เบื่อไม้เมากับเด็กเลยทีเดียว ฮ่าๆๆๆ 14. กาหนดตารางแจกแจงความถี่ต่อไปนี้ คะแนน ความถี่ 21 − 30 90 31 − 40 𝐴 41 − 50 50 51 − 60 𝐵 61 − 70 10 ถ้าคะแนนในตาแหน่งเปอร์เซ็นไทล์ที่ 𝟓𝟎 คือ 𝟒𝟎. 𝟓 แล้วค่าของ 𝑨 − 𝑩 คือข้อใดต่อไปนี้ [𝟏] −𝟒𝟎 𝟐 − 𝟑𝟎 𝟑 𝟑𝟎 𝟒 𝟒𝟎 เฉลย พิจารณาตารางแจกแจงความถี่และความถี่สะสมได้ดังนี้นะครับ คะแนน ความถี่ ความถี่สะสม 21 − 30 90 90 31 − 40 𝐴 90 + 𝐴 41 − 50 50 140 + 𝐴 51 − 60 𝐵 140 + 𝐴 + 𝐵 61 − 70 10 150 + 𝐴 + 𝐵
  • 26. เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก 26 𝑘𝑁 ทบทวนก่อนนะครับ ตาแหน่งเปอร์เซ็นไทล์ที่ 𝑘 คือ 𝑃 𝑘 = 100 𝑘𝑁 ตาแหน่งเดไซล์ ที่ 𝑘 คือ 𝐷 𝑘 = 10 (เพิ่มให้นะครับ แต่อย่าลืมว่าเป็นตาแหน่งของข้อมูลที่มีการแจกแจงความถี่แล้วเท่านั้น นะ ถ้าข้อมูลยังไม่แจกแจงความถี่ เราต้องใช้อีกสูตร ลองกลับไปทบทวนดูว่ามันเป็นอย่างไรนะ) 𝑘𝑁 ตาแหน่งคลอไทล์ที่ 𝑘 คือ 𝑄 𝑘 = 4 ต่อไปเป็นสูตรคานวณหาเปอร์เซ็นไทล์ เดไซล์ และคลอไทล์ นะครับ 𝑘𝑁 𝐼 100 − 𝐹 𝑃 𝑃𝑘 = 𝐿 + 𝑓𝑃 𝑘𝑁 𝐼 10 − 𝐹 𝐷 𝐷𝑘 = 𝐿 + 𝑓𝐷 𝑘𝑁 𝐼 − 𝐹𝑄 4 𝑄𝑘 = 𝐿 + 𝑓𝑄 เมื่อ 𝑃 𝑘 , 𝐷 𝑘 , และ 𝑄 𝑘 คือ ค่าของเปอร์เซ็นไทล์ เดไซล์ และ คลอไทล์ ตามลาดับ 𝐿 คือ ขอบล่างของชั้นที่มี 𝑃 𝑘 , 𝐷 𝑘 , และ 𝑄 𝑘 ทั้งนี้เราจะรู้เมื่อหาตาแหน่งออกมาแล้วนะครับ 𝐼 คือ ความกว้างอันตรภาคชั้น 𝑘𝑁 𝑘𝑁 𝑘𝑁 100 10 , ,คือตาแหน่งของเปอร์เซ็นไทล์ เดไซล์ และคลอไทล์ตามลาดับ 4 𝐹 𝑃 , 𝐹 𝐷 , 𝐹 𝑄 คือ ความถี่สะสมของอันตรภาคชั้นที่มีค่าต่ากว่าอันตรภาคชั้นที่มีเปอร์เซ็นไทล์ เดไซล์ และคลอไทล์ อยู่ตามลาดับ 𝑓𝑝 คือ ความถี่ในชั้นที่มี 𝑃 𝑘 , 𝐷 𝑘 , และ 𝑄 𝑘 อยู่ตามลาดับ 𝑁 คือจานวนข้อมูลทั้งหมดที่มี เราอาจเอามาจากความถี่สะสมในชั้นสุดท้ายก็ได้นะ จากโจทย์ ตาแหน่งเปอร์เซ็นไทล์ที่ 50 คือ 𝑃50 = 50 150+𝐴+𝐵 = 150+𝐴+𝐵 100 2 ดังนั้น 𝑘𝑁 𝐼 100 − 𝐹 𝑃 𝑃50 = 40.5 = 40.5 + 𝑓𝑃 150 + 𝐴 + 𝐵 10 2 − (90 + 𝐴) = 40.5 + 50
  • 27. เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก 27 150 + 𝐴 + 𝐵 − 2(90 + 𝐴) 2 = 40.5 + 5 150 + 𝐴 + 𝐵 − 180 − 2𝐴) = 40.5 + 2 (−30 − 𝐴 + 𝐵) = 40.5 + 2 ดังนั้น (−30 − 𝐴 + 𝐵) 40.5 = 40.5 + ===≫ −30 − 𝐴 + 𝐵 = 0 ===≫ 𝐴 − 𝐵 = −30 2 ตอบข้อ [2] วิเคราะห์ : ข้อสอบแนวนี้จาสูตรได้ก็ได้แหละครับกุญแจสาคัญอยู่ที่สูตร เพราะมันเยอะซะจนปวดหัวไปหมด พยายามจาแบบมีหลักการ แล้วแยกแยะให้ดีระหว่างข้อมูลที่แจกแจงและไม่แจกแจงความถี่ เพราะสูตร บางอย่างไม่เหมือนกันครับ ตอนที่ 2 ข้อสอบแบบปรนัยแบบ 4 ตัวเลือก จานวน 14 ข้อ (ข้อ 15-28) ข้อละ 3 คะแนน 15. ให้ 𝒑, 𝒒, 𝒓 และ 𝒔 เป็นประพจน์ใดๆ พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ก) ถ้า ~𝒑 ↔ 𝒔 ∧ ∼ 𝒓 → 𝒒 → (𝒓 ∨∼ 𝒔) มีค่าความจริงเป็นเท็จ แล้วค่าความจริงของ ให้ 𝒑, 𝒒, 𝒓 และ 𝒔 เป็นจริง เท็จ เท็จ และ จริงตามลาดับ ข) ถ้า (𝒑 →∼ 𝒒) ∨ 𝒓 มีค่าความจริงเป็นเท็จ แล้ว 𝒑 ↔ 𝒓 → (𝒒 ∨ 𝒔) มีค่าความจริงเป็นจริง ข้อใดต่อไปนี้ถูก [𝟏] ก) ถูก และ ข) ถูก 𝟐 ก) ถูก และ ข) ผิด [𝟑] ก) ผิด และ ข) ถูก 𝟒 ก) ผิด และ ข) ผิด เฉลย เรื่องนี้มีหัวใจอยู่ที่ค่าความจริงการเชื่อมประพจน์ ของ ∧, , →, ↔, ∼ ครับ เราอาจเห็นเป็นตารางให้ดูตาราง เทียบกันหลักการจาต่อไปนี้ คือ ∧ เป็นจริง เพียงกรณีเดียว คือ 𝑇 ∧ 𝑇 นอกนั้นเป็นเท็จหมด ไม่ว่าจะเป็น 𝐹 ∧ 𝑇, 𝑇 ∧ 𝐹, 𝐹 ∧ 𝐹 เชื่อมกันเป็นเท็จ หมด เราจึงจาเป็นต้องจาให้ได้เพียงกรณีเดียวพอครับ เพราะนอกนั้นก็จาว่ามันเป็นเท็จหมดครับ ∨ เป็นเท็จ เพียงกรณีเดียวคือ 𝐹 ∨ 𝐹 นอกนั้นอีก 3 กรณีที่เหลือเป็นจริงหมดครับ น้องลองคิดเอานะว่ามีอะไรบ้าง → เป็นเท็จ กรณีเดียว คือ 𝑇 → 𝐹 นอกนั้นเป็นจริงหมด
  • 28. เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก 28 ↔ เป็นจริง 2 กรณีเมื่อค่าความจริงเหมือนกัน ได้แก่ 𝑇 ↔ 𝑇, 𝐹 ↔ 𝐹 เป็นจริงเพียง 2 กรณีนี้ ถ้าต่างกันก็เป็นเท็จนั่นเอง จากโจทย์เราจะได้ว่า จากแผนภาพข้างบนอธิบายได้ว่า เนื่องจากการเชื่อมด้วย → เป็นเท็จกรณีเดียวคือ 𝑇 → 𝐹 ใส่ 𝑇 และ 𝐹 ในบรรทัดที่สอง ดังภาพ พิจารณา ขวามือ การเชื่อมด้วย ∨ เป็นเท็จกรณีเดียวคือ 𝐹 ∨ 𝐹 ดังนั้น 𝑟 ≡ 𝐹 (อ่านว่า 𝑟 เป็น เท็จนะ) และจะ ได้ ∼ 𝑠 ≡ 𝐹 ด้วย ดังนั้น 𝑠 ≡ 𝑇 พิจารณาซ้ายมือ การเชื่อมด้วย ∧ เป็นจริงได้เมื่อเชื่อมด้วย 𝑇 ∧ 𝑇 นาค่าความจริงที่ ได้จากขวามือมาใส่ทางซ้ายมือ จะได้ ∼ 𝑟 ≡ 𝑇 (เพราะ 𝑟 ≡ 𝐹 มาก่อนครับ) แต่การเชื่อมกันด้วย ∧ เป็นจริงได้เพียงกรณี เดียวดังนั้น 𝑞 ≡ 𝑇 นาค่าความจริงของ 𝑠 จากฝั่งขวามือมาใส่ แต่เนื่องจากการเชื่อมกันด้วย ↔ เป็นจริงได้เมื่อเชื่อมกัน ด้วยค่าความจริงที่เหมือนกัน ดังนั้นจะได้ ∼ 𝑝 ≡ 𝑇 นั่นคือ 𝑝 ≡ 𝐹 ตอนนี้เราได้ค่าความจริงของประพจน์แต่ละตัวหมดแล้วนะครับ พบว่าข้อความ ก) ไม่เป็นจริงเพราะ 𝑞 ≡ 𝑇 ครับ พิจารณาข้อ ข) (𝑝 →∼ 𝑞) ∨ 𝑟 (𝑝 →∼ 𝑞) ∨ 𝑟 𝐹 𝐹 𝐹 𝑇 𝐹 𝑇 ดังนั้น 𝑝 ≡ 𝑇, 𝑞 ≡ 𝑇, 𝑟 ≡ 𝐹 นาค่าความจริงไปแทนใน 𝑝 ↔ 𝑟 → 𝑞 ∨ 𝑠 จะได้ดังนี้
  • 29. เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก 29 ถึงแม้ว่าจะไม่รู้ค่าความจริงของ 𝑠 แต่เราต้องสามารถสรุปได้ว่า การเชื่อมด้วย ∨ ถ้ามี 𝑇 อยู่ข้างใดข้างหนึ่งเมื่อเชื่อมแล้วจะ ได้จริงเสมอนะครับ ดังนั้น ข) เป็นจริงครับ ตอบข้อ [3] วิเคราะห์ : ข้อสอบข้อนี้หัวใจอยู่ที่ค่าความจริงของการเชื่อมประพจน์อย่างที่บอกแต่แรกครับ และ ตรรกศาสตร์เกือบทั้งบทใช้พื้นฐานนี้อย่างมากเลย เพราะฉะนั้นถามตัวเองก่อนว่าจาค่าความจริงของการ เชื่อมประพจน์ได้หรือยัง ถ้ายัง … ก็ทาความเข้าใจซะ ก่อนที่จะสายไป 𝟏𝟕. กาหนดให้ 𝒙 เป็นจานวนเต็มบวกที่มีค่ามากที่สุดที่หาร 𝟏𝟔, 𝟒𝟎 และ 𝟏𝟎𝟎 แล้วมีเศษเหลือเท่ากัน และ 𝒚 เป็นจานวนเต็มบวกที่น้อยที่สุดที่หารด้วย 𝟏𝟔, 𝟒𝟎 และ 𝟏𝟎𝟎 แล้วมีเศษเหลือเป็น 𝟏 ค่าของ 𝒚 − 𝒙 คือข้อใด [𝟏] 𝟑𝟖𝟗 𝟐 𝟒𝟎𝟎 𝟑 𝟒𝟖𝟗 𝟒 𝟓𝟎𝟎 เฉลย ให้ 𝑥 เป็นจานวนเต็มที่หาร 16, 40 และ 100 แล้วมีเศษเหลือเท่ากัน ดังนั้นเราสามารถเขียนสมการได้ว่า (สมการนี้เราต้องเขียนเป็นนะครับเวลาโจทย์ให้มา) 16 = 𝑥𝑘1 + 𝑟__________(1) 40 = 𝑥𝑘2 + 𝑟__________(2) 100 = 𝑥𝑘3 + 𝑟__________(3) สาหรับบางจานวนเต็ม 𝑘1 , 𝑘2 , 𝑘3 พิจารณาการลบกันของสมการเป็นคู่ๆดังนี้ (2) − (1); 24 = 𝑥(𝑘2 − 𝑘1 ) (3) − (2); 60 = 𝑥(𝑘3 − 𝑘2 ) (3) − (1); 84 = 𝑥(𝑘3 − 𝑘1 )
  • 30. เฉลยข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ โควตา ม .ขอนแก่น ปีการศึกษา 2550 โดย พี่เปี๊ยก 30 จะได้ว่า 𝑥|24, 𝑥|60, 𝑥|84 (อ่านว่า 𝑥 หาร 24 ลงตัว, 𝑥 หาร 60 ลงตัว , 𝑥 หาร 84 ลงตัว) ค่า 𝑥 ที่มากที่สุดคือ ห.ร.ม ของ 24, 60, 84 ซึ่งก็คือ 12 ให้ 𝑦 เป็นจานวนเต็มที่หารด้วย 16, 40 และ 100 แล้วมีเศษเหลือ 1 ดังนั้นเราสามารถเขียนสมการได้ดังนี้ 𝑦 = 16𝑘1 + 1__________(4) 𝑦 = 40𝑘2 + 1__________(5) 𝑦 = 100𝑘3 + 1__________(6) สาหรับบางจานวนเต็ม 𝑘1 , 𝑘2 , 𝑘3 ดังนั้นเราจะได้ว่า 𝑦 − 1 = 16𝑘1 𝑦 − 1 = 40𝑘2 𝑦 − 1 = 100𝑘3 ดังนั้น 16|𝑦 − 1, 40|𝑦 − 1, 100|𝑦 − 1 𝑦 − 1 ที่น้อยที่สุดคือ ค.ร.น ของ 16, 40 และ 100 ซึ่งก็คือ 400 ดังนั้น 𝑦 − 1 = 400 นั่นคือ 𝑦 = 401 โจทย์ต้องการหา 𝑦 − 𝑥 = 401 − 12 = 389 ตอบข้อ [1] วิเคราะห์ : ข้อสอบข้อนี้เกี่ยวกับเรื่องทฤษฎีจานวน โดยเฉพราะเรื่อง การหาร , ค.ร.น, ห .ร.ม เพราะฉะนั้นถ้า ยังไม่เข้าใจเรื่องดังกล่าวควรทบทวนด่วนแล้วนะครับ เพราะข้อสอบออกไม่ยากเลย เก็บคะแนนได้ง่ายๆ 𝟏𝟖. โดยกระบวนการดาเนินการตามแถว พบว่า 𝑥 2 −3 1 0 0 ~ 1 0 0 −5 4 −3 2 𝑦 0 0 1 0 0 1 0 10 −7 6 4 −2 𝑧 0 0 1 0 0 1 9 −6 5