SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์
กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์
จัดทาโดย
นางสาว ธนิดา สารบุญ เลขที่ 12
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1
เสนอ
คุณครู สฤษดิ์ศักดิ์ ขิ้นเขมจารี
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ร้อยเอ็ด
ในบรมราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี
บิดาแห่งกฎหมายไทย
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์
พระราชโอรสในสมัยรัชกาลที่5 ที่เสด็จไปทรงศึกษาที่ประเทศอังกฤษ 4 พระองค์แรก เมื่อปี
พ.ศ.2428พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโรดม พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์
พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช
เสด็จในกรมฯ มีพระนามเดิมว่า พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์
เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 14 ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์
ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาตลับ ณ วันพุธ ขึ้น 11 ค่า ปีจอ ฉศก จุลศักราช 1236 ตรง
วาระทางสุริยะคติ 21 ตุลาคม พุทธศักราช 2417
เมื่อทรงเจริญพระวัย พอสมควรจะศึกษาอักขรสมัยได้สมเด็จพระบรม
ชนกนาถ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ศึกษาอักขรวิธีภาษาไทย ในสานักพระ
ยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) ภาษาอังกฤษขั้นต้น ในสานักครูรามสามิ
ต่อมาทรงเข้าศึกษาภาษาไทยชั้นมัธยม ในสานักพระยาโอวาทวรกิจ (แก่น โอวาทะ
สาร) และในโรงเรียนพระตาหนักสวนกุหลาบ โดยมีเจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม)
เป็นพระอาจารย์ในความดูแลของ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงรา
ชานุภาพ
พระประวัติ
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ทรงมีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้า
รพีพัฒนศักดิ์เป็น พระราชโอรสองค์ที่ ๑๔ ในสมเด็จพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา
จุฬาลงกรณ์พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระปิยมหาราช) รัชกาลที่ ๕ แห่งพระบรมราช
จักรีวงศ์ ซึ่งประสูติแต่เจ้าจอมมารดาตลับ ธิดาพระยาพระยา เวียงในนฤบาล ประสูติ วัน
พุธ ขึ้น ๑๑ ค่า เดือน ๑๑ ปีจอ ฉศก จุลศักราช ๑๒๑๗ ตรงกับวันที่ ๒๑ ตุลาคม ๒๔๑๗
• การศึกษา
พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ทรงเข้าศึกษา
วิชาภาษาไทยครั้งแรกในสานักพระยาศรีสุนทรโวหาร
(น้อย อาจารยางกูร) แล้วทรงเข้าศึกษาภาษาอังกฤษชั้นต้น
ในสานักครูรามสามิ และในปี พ.ศ. ๒๔๒๖ ได้ทรง
เข้าศึกษา ภาษาไทยอยู่ใน สานักพระยาโอวาทวรกิจ
(แก่น เปรียญ) ณ พระตาหนักสวนกุหลาบ
พระองค์ได้เข้าพิธีพระราชโสกันต์ในวันที่ ๒๖ ธันวาคม
๒๔๒๗ และทรงผนวชเป็นสามเณรที่วัดพระศรีรัตน-
ศาสดาราม โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ
กรมพระยาปวเรศวิริยาลงกรณ์ เป็นพระอุปัชฌายะ
หลังจากเสร็จพระราชพิธีสมโภชแล้วจึงทรงเสด็จ
มาประทับที่ วัดบวรนิเวศวิหาร ในวันศุกร์ที่
๒๙ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๒๘ จึงลาสิกขาเสด็จกลับ
เข้าประทับในพระบรมหมาราชวัง รวมเวลาที่พระองค์ได้
ทรงผนวช ทั้งสิ้น ๒๒ วัน
ต่อมาในช่วงปลายปี พ.ศ. ๒๔๓๑ ได้เสด็จไปประเทศอังกฤษ และทรงเข้าศึกษาใน
โรงเรียนมัธยมอยู่นกรุงลอนดอนเป็น เวลา ๓ ปี เมื่อสาเร็จการศึกษาแล้ว ได้ทรง
เลือกศึกษาวิชา กฎหมายต่อที่วิทยาลัยไครส์ตเชิช มหาวิทยาลัยออกฟอร์ด เมื่อ
พ.ศ. ๒๔๓๓ เมื่อได้ทรงเข้าศึกษาในวิทยาลัย ไครส์ตเชิช แล้วได้ทรงอุตสาหะเอา
พระทัยใส่เป็นอย่างมาก ในที่สุดได้ทรงสอบ ไล่ผ่านทุกวิชาตามหลักสูตร ได้รับ
ปริญญาตรีเกียรตินิยม ในทางกฎหมายของมหาวิทยาลัย ภายในเวลา ๓ ปี ช่วง
ขณะนั้นทรงมี พระชนมายุเพียง 20 พรรษา
เนื่องจากช่วงเวลานั้น ประเทศไทยกาลังประสบปัญหาต่าง ๆ มากมาย โดยเฉพาะ
การรุกรานของฝรั่งเศส ในพุทธ ศักราช ๒๔๓๖ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ได้เสด็จ
กลับประเทศไทย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงพระกรุณา โปรด
เกล้าฯ ให้พระเจ้าลูกยาเธอพระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ทรงฝึกหัดราชการในกรมราช
เลขานุการ และได้ทรงศึกษากฎหมาย ไทยทั้งหมดที่หม่อมลัดเลย์ได้พิมพ์
ไว้ พระองค์ทรงแตกฉานในกฎหมายไทยและสามารถปฏิบัติราชการได้อย่าง
คลองแคล้ว
พระราชกรณียกิจ
- เมื่อวันที่ ๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๓๙ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรง
มีพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งพระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ขึ้นดารงตาแหน่งเสนาบดี
กระทรวงยุติธรรม ในขณะที่ทรงมี พระชนมายุได้ ๒๒ พรรษา ทรงเป็นเสนาบดี
กระทรวงยุติธรรมเป็นลาดับที่ ๓ และทรงวางระเบียบศาลยุติธรรมโดยออกเป็นกฎ
เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม (พิจารณาความแพ่ง,พิจารณาอาญา ในปีพุทธศักราช
๒๔๗๘) พระองค์ทรงจัดให้มีการสอนวิชากฎหมายขึ้นเป็นการแพร่หลาย ให้
โอกาสบุคคลที่สนใจทั่วไป เข้าศึกษาได้ทรงตั้งโรงเรียนกฎหมายขึ้นมา
- เมื่อปีพุทธศักราช ๒๔๔๐ เป็นการเปิด
การสอนกฎหมายครั้งแรก
- ต่อมาในปีพุทธศักราช ๒๔๔๒
พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ทรงได้รับ
พระกรุณาโปรดเกล้า ฯ สถาปนาพระ
อิสริยศักดิ์เป็นกรมหมื่น โดยมีพระ
นามจารึกในพระสุพรรณบัฎว่า พระ
เจ้าลูกยาเธอกรมหมื่นราชบุรีดิเรก
ฤทธิ์
- เมื่อพุทธศักราช ๒๔๔๓ ได้ทรงดาริ
จัดตั้งกรมพิมพ์ลายมือขึ้นที่กรงลหุ
โทษ และได้ทรงสอนวิธีตรวจ
เส้นลายมือและวิธีเก็บพิมพ์ลายมือ
สาหรับตรวจพิมพ์ลายมือผู้ต้องหาใน
คดีอาญา
- ครั้นเมื่อพุทธศักราช ๒๔๕๓
กรมหลวงราชบุรีฯ ทรงทาหนังสือ
กราบบังคมทูลว่าประชวร โดยมี
อาการปวดพระเศียร คิดและทาอะไร
ไม่ได้ทั้งสิ้น หมอไรเตอร์ตรวจพระ
อาการแล้วว่าต้องหยุดการทางาน พัก
รักษาพระองค์
- ในปีพุทธศักราช ๒๔๕๕ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระ
กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เสร็จในกรม ฯ กลับรับราชการเป็นเสนาบดีกระทรวง
เกษตรธิการตามประกาศพระบรมราชโองการ ลงวันที่ ๔ มีนาคม พุทธศักราช
๒๔๕๕ และทรงดารงตาแหน่งเพียงปีเดียวก็ได้รับพระบรมราชโองการเลื่อน
ขึ้นเป็นพระเจ้าพี่ยาเธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ลงวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน
พุทธศักราช ๒๔๕๕
จนกระทั่ง พ.ศ. ๒๔๖๒ เสด็จในกรมฯ ทรงประชวรด้วยพระวัณโรคที่พระวักกะ
จึงทรงกราบบังคมทูลลาออกจากตาแหน่งเสนาบดีเพื่อเปิดโอกาสให้ทรงเลือกสรร
ให้ผู้อื่นได้รับหน้าที่ต่อไป และได้เสด็จ ไปรักษาพระองค์ ณ กรุงปารีส แต่พระ
อาการก็หาทุเลาขึ้นไม่ จนกระทั่งในวันที่ ๗ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๖๓ เวลา ๒๑.๐๐ น.
พระองค์ก็เสด็จสิ้นพระชน ณ กรุงปารีส นับพระชนมายุได้๔๗ พรรษา อันนา
ความเศร้า โศกเสียใจมาสู่วงการนักกฎหมายไทยยิ่งนัก ด้วยเหตุที่ทรงมีพระคุณต่อ
ประเทศชาติและนักกฎหมายทั้งปวงเป็นอเนกประการ ด้วยพระเกียรติคุณอันจะสุด
พรรณนา ทาให้ประชาชนทั่วไป ถวาย พระสมญานามว่า "พระบิดาและปรมาจารย์
แห่งนักกฎหมายไทย" และเรียกวันที่ ๗ สิงหาคม ของทุกปี ว่าวัน "รพี"
ผลงาน
เนื่องจากโรงเรียนกฎหมาย ซึ่งเสด็จในกรมฯ ได้ทรงจัดตั้งขึ้นมีการศึกษาเป็น
ปึกแผ่น พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชการที่ ๖ ทรงพระ
กรุณา โปรดเกล้าฯ เมื่อวันที ๗ มิถุนายน ๒๔๕๕ ให้ยกโรงเรียนกฎหมายขึ้นเป็น
โรงเรียนหลวง อยู่ในกระทรวงยุติธรรม พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า
เจ้าอยู่หัว ได้ทรงริเริ่มพระราชทานกาเนิด เนติบัณฑิตยสภา ขึ้นเมื่อ
พ.ศ. ๒๔๕๗ ต่อมามีพระบรมราชโองการ ลงวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๔๖๗ ให้
โรงเรียนกฎหมายอยู่ในความควบคุมของสภานิติศึกษา จนกระทั่งสมัยเมื่อมีการ
เปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ แล้ว โรงเรียนกฎหมายได้โอนไปรวมกับ
แผนกรัฐศาสตร์ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๖ อยู่ ๑ ปี เรียกว่า
แผนกนิติศาสตร์และรัฐศาสตร์ พ.ศ. ๒๔๗๗ รัฐบาลจึงจัดตั้งมหาวิทยาลัยวิชา
ธรรมศาสตร์และการเมืองขึ้น หรือที่เรียกในปัจจุบันว่า มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จึง
ได้โอนแผนกนิติศาสตร์ และรัฐศาสตร์ จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยไปดาเนินการ
สอนในมหาวิทยาลัยที่ตั้งขึ้นใหม่นี้แยกเป็นอิสระส่วนหนึ่งต่างหาก
การศึกษาเล่าเรียนกฎหมายในสมัยนั้นเป็นไปในวงแคบ ผู้ที่มีความรู้ในทาง
กฎหมายแทบจะนับตัวถ้วนซึ่งผู้ใดที่ใคร่จะมีความรู้ในทางกฎหมาย ก็ต้องสมัคร
เข้าไปรับใช้การงานของท่านเสนาบดีบ้าง ท่านผู้ใหญ่ในวงการกฎหมายบ้าง เมื่อ
ท่านเหล่านั้นเมตตาก็สั่งสอนให้ทีละเล็กทีละน้อยเสด็จในกรมฯ ทรงดาริว่า การที่
จะรับราชการฝ่ายการศาลยุติธรรมให้เป็นไปด้วยดีนั้นมีความจาเป็นที่จะต้องจัดให้
มีผู้รู้กฎหมายมากยิ่งขึ้นกว่าแต่ก่อน ซึ่งทางที่ดีที่สุดก็คือ เปิดให้มีการสอน วิชา
กฎหมายขึ้นให้เป็นการแพร่หลายโดยให้โอกาสแก่บุคคลที่สนใจเข้าศึกษาได้ จึง
ได้ทรงตั้งโรงเรียนกฎหมายขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๐
ครั้นต่อมาเมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ.๒๔๙๑ ทางเนติบัณฑิตยสภาได้จัดตั้ง
สานักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภาขึ้น เพื่ออบรมให้นักศึกษาในทาง
กฎหมายได้มีความชานิชานาญเพิ่มเติมจากที่ได้ศึกษามาแล้วจากมหาวิทยาลัยโดย
เริ่มเปิดสอนตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๙๑ การศึกษาในปีแรก
เรียกว่า การศึกษาสมัยที่ ๑ และมีผู้สอบสาเร็จความรู้ชั้นเนติบัณฑิตได้๖ ท่าน ใน
สมัยแรกซึ่งท่านศาสตราจารย์จารัส เขมะจารุ สอบได้อันดับที่ ๑ ของสานักอบรม
กฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา
คติพจน์ประจาพระองค์
คนเราควรจะให้ แต่ไม่ควรจะขออะไรจากผู้อื่น ควรกิน
พอประมาณ ไม่ควรจะมากเกินไปถึงกับท้องกาง ควรช่วยเหลือคนอื่น
ไม่ใช้เหยียบย่า ควรจะรับใช้ ไม่ควรคิดเป็นนายคน
กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์(พ.ศ.2417 – พ.ศ.2492

More Related Content

Similar to กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์(พ.ศ.2417 – พ.ศ.2492

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9banlangkhao
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จพระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จTeeraporn Pingkaew
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)SAKANAN ANANTASOOK
 
ประวัติศาสตร์สมัยรัตนโกสินทร์ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
ประวัติศาสตร์สมัยรัตนโกสินทร์ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองประวัติศาสตร์สมัยรัตนโกสินทร์ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
ประวัติศาสตร์สมัยรัตนโกสินทร์ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองthongkum virut
 
กรมหลวงราชบุรีเรกฤทธิ์
กรมหลวงราชบุรีเรกฤทธิ์  กรมหลวงราชบุรีเรกฤทธิ์
กรมหลวงราชบุรีเรกฤทธิ์ Anutida Ging
 
พระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์.Pptx
พระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์.Pptxพระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์.Pptx
พระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์.PptxSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง มนาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง มSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระเจ้าพิมพิสาร
พระเจ้าพิมพิสารพระเจ้าพิมพิสาร
พระเจ้าพิมพิสารchaiedu
 
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่าพระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่าSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์Ning Rommanee
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์Ning Rommanee
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์Ning Rommanee
 
พระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์
พระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์  กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์พระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์  กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์
พระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์Anutida Ging
 

Similar to กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์(พ.ศ.2417 – พ.ศ.2492 (20)

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
 
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จพระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
 
ประวัติศาสตร์สมัยรัตนโกสินทร์ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
ประวัติศาสตร์สมัยรัตนโกสินทร์ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองประวัติศาสตร์สมัยรัตนโกสินทร์ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
ประวัติศาสตร์สมัยรัตนโกสินทร์ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
 
กรมหลวงราชบุรีเรกฤทธิ์
กรมหลวงราชบุรีเรกฤทธิ์  กรมหลวงราชบุรีเรกฤทธิ์
กรมหลวงราชบุรีเรกฤทธิ์
 
พระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์.Pptx
พระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์.Pptxพระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์.Pptx
พระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์.Pptx
 
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง มนาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
 
พระเจ้าพิมพิสาร
พระเจ้าพิมพิสารพระเจ้าพิมพิสาร
พระเจ้าพิมพิสาร
 
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่าพระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
พระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์
พระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์  กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์พระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์  กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์
พระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์(พ.ศ.2417 – พ.ศ.2492

  • 2. กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ จัดทาโดย นางสาว ธนิดา สารบุญ เลขที่ 12 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 เสนอ คุณครู สฤษดิ์ศักดิ์ ขิ้นเขมจารี โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ร้อยเอ็ด ในบรมราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี
  • 3. บิดาแห่งกฎหมายไทย พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ พระราชโอรสในสมัยรัชกาลที่5 ที่เสด็จไปทรงศึกษาที่ประเทศอังกฤษ 4 พระองค์แรก เมื่อปี พ.ศ.2428พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโรดม พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช
  • 4. เสด็จในกรมฯ มีพระนามเดิมว่า พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 14 ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาตลับ ณ วันพุธ ขึ้น 11 ค่า ปีจอ ฉศก จุลศักราช 1236 ตรง วาระทางสุริยะคติ 21 ตุลาคม พุทธศักราช 2417 เมื่อทรงเจริญพระวัย พอสมควรจะศึกษาอักขรสมัยได้สมเด็จพระบรม ชนกนาถ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ศึกษาอักขรวิธีภาษาไทย ในสานักพระ ยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) ภาษาอังกฤษขั้นต้น ในสานักครูรามสามิ ต่อมาทรงเข้าศึกษาภาษาไทยชั้นมัธยม ในสานักพระยาโอวาทวรกิจ (แก่น โอวาทะ สาร) และในโรงเรียนพระตาหนักสวนกุหลาบ โดยมีเจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) เป็นพระอาจารย์ในความดูแลของ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงรา ชานุภาพ
  • 5. พระประวัติ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ทรงมีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้า รพีพัฒนศักดิ์เป็น พระราชโอรสองค์ที่ ๑๔ ในสมเด็จพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา จุฬาลงกรณ์พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระปิยมหาราช) รัชกาลที่ ๕ แห่งพระบรมราช จักรีวงศ์ ซึ่งประสูติแต่เจ้าจอมมารดาตลับ ธิดาพระยาพระยา เวียงในนฤบาล ประสูติ วัน พุธ ขึ้น ๑๑ ค่า เดือน ๑๑ ปีจอ ฉศก จุลศักราช ๑๒๑๗ ตรงกับวันที่ ๒๑ ตุลาคม ๒๔๑๗
  • 6. • การศึกษา พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ทรงเข้าศึกษา วิชาภาษาไทยครั้งแรกในสานักพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) แล้วทรงเข้าศึกษาภาษาอังกฤษชั้นต้น ในสานักครูรามสามิ และในปี พ.ศ. ๒๔๒๖ ได้ทรง เข้าศึกษา ภาษาไทยอยู่ใน สานักพระยาโอวาทวรกิจ (แก่น เปรียญ) ณ พระตาหนักสวนกุหลาบ พระองค์ได้เข้าพิธีพระราชโสกันต์ในวันที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๔๒๗ และทรงผนวชเป็นสามเณรที่วัดพระศรีรัตน- ศาสดาราม โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาปวเรศวิริยาลงกรณ์ เป็นพระอุปัชฌายะ หลังจากเสร็จพระราชพิธีสมโภชแล้วจึงทรงเสด็จ มาประทับที่ วัดบวรนิเวศวิหาร ในวันศุกร์ที่ ๒๙ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๒๘ จึงลาสิกขาเสด็จกลับ เข้าประทับในพระบรมหมาราชวัง รวมเวลาที่พระองค์ได้ ทรงผนวช ทั้งสิ้น ๒๒ วัน
  • 7. ต่อมาในช่วงปลายปี พ.ศ. ๒๔๓๑ ได้เสด็จไปประเทศอังกฤษ และทรงเข้าศึกษาใน โรงเรียนมัธยมอยู่นกรุงลอนดอนเป็น เวลา ๓ ปี เมื่อสาเร็จการศึกษาแล้ว ได้ทรง เลือกศึกษาวิชา กฎหมายต่อที่วิทยาลัยไครส์ตเชิช มหาวิทยาลัยออกฟอร์ด เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๓ เมื่อได้ทรงเข้าศึกษาในวิทยาลัย ไครส์ตเชิช แล้วได้ทรงอุตสาหะเอา พระทัยใส่เป็นอย่างมาก ในที่สุดได้ทรงสอบ ไล่ผ่านทุกวิชาตามหลักสูตร ได้รับ ปริญญาตรีเกียรตินิยม ในทางกฎหมายของมหาวิทยาลัย ภายในเวลา ๓ ปี ช่วง ขณะนั้นทรงมี พระชนมายุเพียง 20 พรรษา
  • 8. เนื่องจากช่วงเวลานั้น ประเทศไทยกาลังประสบปัญหาต่าง ๆ มากมาย โดยเฉพาะ การรุกรานของฝรั่งเศส ในพุทธ ศักราช ๒๔๓๖ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ได้เสด็จ กลับประเทศไทย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงพระกรุณา โปรด เกล้าฯ ให้พระเจ้าลูกยาเธอพระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ทรงฝึกหัดราชการในกรมราช เลขานุการ และได้ทรงศึกษากฎหมาย ไทยทั้งหมดที่หม่อมลัดเลย์ได้พิมพ์ ไว้ พระองค์ทรงแตกฉานในกฎหมายไทยและสามารถปฏิบัติราชการได้อย่าง คลองแคล้ว
  • 9. พระราชกรณียกิจ - เมื่อวันที่ ๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๓๙ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรง มีพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งพระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ขึ้นดารงตาแหน่งเสนาบดี กระทรวงยุติธรรม ในขณะที่ทรงมี พระชนมายุได้ ๒๒ พรรษา ทรงเป็นเสนาบดี กระทรวงยุติธรรมเป็นลาดับที่ ๓ และทรงวางระเบียบศาลยุติธรรมโดยออกเป็นกฎ เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม (พิจารณาความแพ่ง,พิจารณาอาญา ในปีพุทธศักราช ๒๔๗๘) พระองค์ทรงจัดให้มีการสอนวิชากฎหมายขึ้นเป็นการแพร่หลาย ให้ โอกาสบุคคลที่สนใจทั่วไป เข้าศึกษาได้ทรงตั้งโรงเรียนกฎหมายขึ้นมา
  • 10. - เมื่อปีพุทธศักราช ๒๔๔๐ เป็นการเปิด การสอนกฎหมายครั้งแรก - ต่อมาในปีพุทธศักราช ๒๔๔๒ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ทรงได้รับ พระกรุณาโปรดเกล้า ฯ สถาปนาพระ อิสริยศักดิ์เป็นกรมหมื่น โดยมีพระ นามจารึกในพระสุพรรณบัฎว่า พระ เจ้าลูกยาเธอกรมหมื่นราชบุรีดิเรก ฤทธิ์ - เมื่อพุทธศักราช ๒๔๔๓ ได้ทรงดาริ จัดตั้งกรมพิมพ์ลายมือขึ้นที่กรงลหุ โทษ และได้ทรงสอนวิธีตรวจ เส้นลายมือและวิธีเก็บพิมพ์ลายมือ สาหรับตรวจพิมพ์ลายมือผู้ต้องหาใน คดีอาญา - ครั้นเมื่อพุทธศักราช ๒๔๕๓ กรมหลวงราชบุรีฯ ทรงทาหนังสือ กราบบังคมทูลว่าประชวร โดยมี อาการปวดพระเศียร คิดและทาอะไร ไม่ได้ทั้งสิ้น หมอไรเตอร์ตรวจพระ อาการแล้วว่าต้องหยุดการทางาน พัก รักษาพระองค์
  • 11. - ในปีพุทธศักราช ๒๔๕๕ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เสร็จในกรม ฯ กลับรับราชการเป็นเสนาบดีกระทรวง เกษตรธิการตามประกาศพระบรมราชโองการ ลงวันที่ ๔ มีนาคม พุทธศักราช ๒๔๕๕ และทรงดารงตาแหน่งเพียงปีเดียวก็ได้รับพระบรมราชโองการเลื่อน ขึ้นเป็นพระเจ้าพี่ยาเธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ลงวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๕๕
  • 12. จนกระทั่ง พ.ศ. ๒๔๖๒ เสด็จในกรมฯ ทรงประชวรด้วยพระวัณโรคที่พระวักกะ จึงทรงกราบบังคมทูลลาออกจากตาแหน่งเสนาบดีเพื่อเปิดโอกาสให้ทรงเลือกสรร ให้ผู้อื่นได้รับหน้าที่ต่อไป และได้เสด็จ ไปรักษาพระองค์ ณ กรุงปารีส แต่พระ อาการก็หาทุเลาขึ้นไม่ จนกระทั่งในวันที่ ๗ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๖๓ เวลา ๒๑.๐๐ น. พระองค์ก็เสด็จสิ้นพระชน ณ กรุงปารีส นับพระชนมายุได้๔๗ พรรษา อันนา ความเศร้า โศกเสียใจมาสู่วงการนักกฎหมายไทยยิ่งนัก ด้วยเหตุที่ทรงมีพระคุณต่อ ประเทศชาติและนักกฎหมายทั้งปวงเป็นอเนกประการ ด้วยพระเกียรติคุณอันจะสุด พรรณนา ทาให้ประชาชนทั่วไป ถวาย พระสมญานามว่า "พระบิดาและปรมาจารย์ แห่งนักกฎหมายไทย" และเรียกวันที่ ๗ สิงหาคม ของทุกปี ว่าวัน "รพี"
  • 13. ผลงาน เนื่องจากโรงเรียนกฎหมาย ซึ่งเสด็จในกรมฯ ได้ทรงจัดตั้งขึ้นมีการศึกษาเป็น ปึกแผ่น พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชการที่ ๖ ทรงพระ กรุณา โปรดเกล้าฯ เมื่อวันที ๗ มิถุนายน ๒๔๕๕ ให้ยกโรงเรียนกฎหมายขึ้นเป็น โรงเรียนหลวง อยู่ในกระทรวงยุติธรรม พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว ได้ทรงริเริ่มพระราชทานกาเนิด เนติบัณฑิตยสภา ขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๗ ต่อมามีพระบรมราชโองการ ลงวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๔๖๗ ให้ โรงเรียนกฎหมายอยู่ในความควบคุมของสภานิติศึกษา จนกระทั่งสมัยเมื่อมีการ เปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ แล้ว โรงเรียนกฎหมายได้โอนไปรวมกับ แผนกรัฐศาสตร์ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๖ อยู่ ๑ ปี เรียกว่า แผนกนิติศาสตร์และรัฐศาสตร์ พ.ศ. ๒๔๗๗ รัฐบาลจึงจัดตั้งมหาวิทยาลัยวิชา ธรรมศาสตร์และการเมืองขึ้น หรือที่เรียกในปัจจุบันว่า มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จึง ได้โอนแผนกนิติศาสตร์ และรัฐศาสตร์ จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยไปดาเนินการ สอนในมหาวิทยาลัยที่ตั้งขึ้นใหม่นี้แยกเป็นอิสระส่วนหนึ่งต่างหาก
  • 14. การศึกษาเล่าเรียนกฎหมายในสมัยนั้นเป็นไปในวงแคบ ผู้ที่มีความรู้ในทาง กฎหมายแทบจะนับตัวถ้วนซึ่งผู้ใดที่ใคร่จะมีความรู้ในทางกฎหมาย ก็ต้องสมัคร เข้าไปรับใช้การงานของท่านเสนาบดีบ้าง ท่านผู้ใหญ่ในวงการกฎหมายบ้าง เมื่อ ท่านเหล่านั้นเมตตาก็สั่งสอนให้ทีละเล็กทีละน้อยเสด็จในกรมฯ ทรงดาริว่า การที่ จะรับราชการฝ่ายการศาลยุติธรรมให้เป็นไปด้วยดีนั้นมีความจาเป็นที่จะต้องจัดให้ มีผู้รู้กฎหมายมากยิ่งขึ้นกว่าแต่ก่อน ซึ่งทางที่ดีที่สุดก็คือ เปิดให้มีการสอน วิชา กฎหมายขึ้นให้เป็นการแพร่หลายโดยให้โอกาสแก่บุคคลที่สนใจเข้าศึกษาได้ จึง ได้ทรงตั้งโรงเรียนกฎหมายขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๐
  • 15. ครั้นต่อมาเมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ.๒๔๙๑ ทางเนติบัณฑิตยสภาได้จัดตั้ง สานักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภาขึ้น เพื่ออบรมให้นักศึกษาในทาง กฎหมายได้มีความชานิชานาญเพิ่มเติมจากที่ได้ศึกษามาแล้วจากมหาวิทยาลัยโดย เริ่มเปิดสอนตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๙๑ การศึกษาในปีแรก เรียกว่า การศึกษาสมัยที่ ๑ และมีผู้สอบสาเร็จความรู้ชั้นเนติบัณฑิตได้๖ ท่าน ใน สมัยแรกซึ่งท่านศาสตราจารย์จารัส เขมะจารุ สอบได้อันดับที่ ๑ ของสานักอบรม กฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา
  • 16. คติพจน์ประจาพระองค์ คนเราควรจะให้ แต่ไม่ควรจะขออะไรจากผู้อื่น ควรกิน พอประมาณ ไม่ควรจะมากเกินไปถึงกับท้องกาง ควรช่วยเหลือคนอื่น ไม่ใช้เหยียบย่า ควรจะรับใช้ ไม่ควรคิดเป็นนายคน