SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
จัดทำโดย
นำงสำวจิรำวดี ไชยคำภำ
เลขที่ 11 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5/4
เสนอ
คุณครูสฤษศักดิ์ ชิ้นเขมจำรี
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์
กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์
 (21 ตุลาคม พ.ศ. 2417 - 7 สิงหาคม พ.ศ. 2463) ทรงเป็นต้นราชสกุล
รพีพัฒน์ เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 14 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัว และองค์ที่ 2 ในเจ้าจอมมารดาตลับ เกตุทัต โดยมีพระเชษฐภคินี
คือพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัจฉรพรรณีรัชกัญญา ทรงเป็นผู้
วางรากฐานด้านกฎหมายในเมืองไทย จนได้รับพระสมัญญานามว่า "พระ
บิดาแห่งกฎหมายไทย"
ประวัติ
ทางด้านชีวิตส่วนพระองค์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรด
เกล้าฯ ให้ทรงเสกสมรสกับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิงอรพัทธ์
ประไพ พระธิดาองค์ใหญ่ใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี
กรมพระจักรพรรดิพงศ์ แต่ทรงมีชีวิตร่วมกันเพียงไม่นานก็หย่าขาดจากกัน
หลังจากนั้นกทรงรับหม่อมอ่อนเป็นชายา หลังจากนั้นทรงมีหม่อมอีก 2
พระองค์ คือ หม่อมแดงและหม่อมราชวงศ์สอางค์ ปราโมช สิ้นพระชนม์ ณ
กรุงปารีส เมื่อวันที่ 7 สิงหาคมพ.ศ. 2463 พระชนมายุ 45 ปี
พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 14 ในพระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระองค์ที่ 2 ในเจ้าจอมมารดาตลับ ประสูติเมื่อ
วันพุธ ขึ้น 11 ค่่า เดือน 11 ปีจอ จุลศักราช 1236 ตรงกับวันที่ 21 ตุลาคม
พ.ศ. 2417 ต่อมาทรงได้รับพระราชทานนามจากพระราชบิดาว่า "รพีพัฒน
ศักดิ์" เมื่อทรงพระเยาว์พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ทรงได้รับการอภิบาลจาก
เจ้าจอมมารดาตลับ หม่อมราชวงศ์วงศ์ พึ่งบุญ และพระยาเวียงในนฤบาล
(หรั่ง เกตุทัต)
ประสูติ
เมื่อเจริญวัยขึ้นพระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ทรงเข้าศึกษาวิชาภาษาไทย
เบื้องต้นกับพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) โดยใช้เก๋งกรงนก
ภายในพระบรมมหาราชวังเป็นที่ทรงพระอักษรเมื่อทรงศึกษาวิชาภาษาไทย
จบแล้ว ก็ทรงเข้าศึกษาต่อที่ส่านักของบาบู รามซามี โดยใช้โรงเรียนทหาร
มหาดเล็กเป็นที่ถวายพระอักษรจนกระทั่งถึงปี พ.ศ. 2426 ต่อมา
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้เข้าศึกษาใน
โรงเรียนสวนกุหลาบ
การศึกษา
ในการส่งพระราชโอรสไปศึกษายังต่างประเทศของพระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์เป็นพระราชโอรสกลุ่มแรกที่
ทรงไปศึกษาต่อในทวีปยุโรป เมื่อ พ.ศ. 2428 พร้อมกัน 4 พระองค์ คือ
• พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ (กรมพระจันทบุรีนฤนาถ)
• พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ (กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์)
• พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม (กรมหลวงปราจิณกิติบดี)
• พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช (กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช)
แต่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชด่าริให้ทรงแยกกัน
เรียน โดยพระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ พระองค์โปรดเกล้าฯ เสด็จไปศึกษาที่
กรุงเอดินบะระ ประเทศสกอตแลนด์ โดยให้หมอเกาวัน เป็นผู้จัดการศึกษา
ในการนี้เป็นเพียงการศึกษาเบื้องต้น จึงมีเพียงครูชาวต่างชาติมาถวายพระ
อักษรที่ต่าหนักครึ่งวัน และหม่อมเจ้าเพิ่ม ลดาวัลย์ถวายการสอนภาษาไทย
อีกครึ่งวัน
พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ ทรงศึกษาวิชาภาษาละติน วิชาภาษาอังกฤษ และ
วิชาภาษาฝรั่งเศสอยู่ 2 ปีจึงเสด็จนิวัติประเทศไทย จนถึงปี พ.ศ. 2431 จึง
เสด็จไปศึกษาต่อในชั้นมัธยมอยู่ ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ และ
ต่อมาปี พ.ศ. 2434 ทรงเลือกศึกษาวิชากฎหมายต่อที่วิทยาลัยไครส์ตเชิช
ในมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด จนกระทั่งปี พ.ศ. 2337 ทรงสามารถสอบไล่ได้
ตามหลักสูตรชั้นปริญญาเกียรตินิยมจากนั้นจึงเสด็จกลับประเทศไทย ด้วย
พระอัจฉริยภาพที่มีมาตั้งแต่ทรงพระเยาว์ จึงได้รับพระสมญาว่า เฉลียว
ฉลาดรพี
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงจัดให้ตั้งพระราชพิธีโสกันต์
พระเจ้าลูกยาเธอทั้ง 3 พระองค์พร้อมกันคือ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์
พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดชและพระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ เป็นการสมโภช
3 วัน ตั้งแต่วันอังคารที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2427 ถึงวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ.
2427 แล้วจึงประกอบพระราชพิธีโสกันต์ในวันที่ 26 ธันวาคมพ.ศ. 2427
โดยโปรดให้ทรงเครื่องต้นทั้ง 3 พระองค์
พระราชพิธีโสกันต์
หลังจากพระราชพิธีโสกันต์ผ่านพ้นไปแล้วพระเจ้าลูกยาเธอที่จะเสด็จไป
ศึกษาต่อยังต่างประเทศ จึงได้ผนวชพร้อมกันตามโบราณราชประเพณี โดยมี
ก่าหนดการที่ส่าคัญดังนี้
7 พฤษภาคม พ.ศ. 2428 - การพิธีสมโภชพระเจ้าลูกยาเธอทั้ง 4 พระองค์ที่
จะทรงสมโภช
8 พฤษภาคม พ.ศ. 2428 - พิธีผนวชพระเจ้าลูกยาเธอทั้ง 4 พระองค์ โดยมี
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ เป็นพระอุปัชฌาย์ ใน
คืนวันนี้พระเจ้าลูกยาเธอทั้ง 4 พระองค์ ทรงจ่าวัดที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
ผนวช
• 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2428 - พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัวทรงน่าเสด็จพระเจ้าลูกยาเธอทั้ง 4 พระองค์ส่งต่อไปยังวัดบวร
นิเวศวิหาร
• 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2428 - พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าลูกยาเธอทั้ง 4 พระองค์ไปจ่าวัดที่วัด
นิเวศน์ธรรมประวัติ บางปะอิน
• 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2428 - พระเจ้าลูกยาเธอทั้ง 4 พระองค์ได้เสด็จ
กลับพระนคร

พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ ทรงเริ่มรับราชการในส่านักราชเลขาธิการ และ
ได้รับแต่งตั้งให้เป็นองคมนตรี ทรงประกอบพระกรณียกิจ อันเป็น
คุณประโยชน์โดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อวงการกฎหมายไทยและศาลสถิต
ยุติธรรม ทรงด่ารงต่าแหน่งเสนาบดีกระทรวงยุติธรรม และสภานายกในกอง
ข้าหลวงพิเศษ จัดการปรับปรุงศาลยุติธรรมสู่ระบบใหม่ จัดตั้งศาลมณฑล
และศาลจังหวัด ทั่วประเทศ, ทรงเป็นประธานกรรมการตรวจช่าระกฎหมาย
ประมวลขึ้นเป็นกฎหมายอาญาฉบับ ร.ศ. 127 (พ.ศ. 2451) , ทรงตั้ง
โรงเรียนกฎหมายเพื่อเปิดการสอน
รับราชการ
กฎหมาย ทรงรวบรวมและแต่งต่าราค่าอธิบายกฎหมายลักษณะต่างๆ
มากมาย และทรงสอนวิชากฎหมายด้วยพระองค์เอง, ทรงเป็นกรรมการ
ตรวจตัดสินความฎีกาซึ่งเทียบได้กับศาลฎีกาในปัจจุบัน, เมื่อ พ.ศ. 2443
ทรงตั้งกองพิมพ์ลายมือขึ้น ส่าหรับตรวจลายพิมพ์นิ้วมือผู้ต้องหาในคดีอาญา
ต่าแหน่งสุดท้ายทรงเป็นเสนาบดีกระทรวงเกษตราธิการ ทรงปรับปรุงกิจการ
กรมทะเบียนที่ดิน
ในปี พ.ศ. 2462 พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ประชวรด้วยพระโรคที่ต่อม
ลูกหมากและมีการแทรกซ้อนต่อไปยังพระวักกะ (ไต) จึงทรงขอลาพัก
ราชการในวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2462 เพื่อรักษาพระองค์แต่อาการยัง
ไม่ทุเลา ต่อมาจึงเสด็จไปรักษาพระองค์ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส แต่พระ
โรคที่พระวักกะก็ยังทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นเกินที่แพทย์จะเยียวยาได้
จนกระทั่งถึงวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2463 เวลาประมาณ 21 นาฬิกาพระ
เจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์
สิ้นพระชนม์ สิริพระชันษา 45 ปี 9 เดือน 17 วัน
สิ้นพระชนม์
พระศพของพระองค์ได้รับการถวายพระเพลิงที่กรุงปารีส หลังจากนั้น หม่อม
เจ้าไขแสงรพี รพีพัฒน์เสด็จไปรับและอัญเชิญพระอัฐของกรมหลวงราชบุรี
ดิเรกฤทธิ์มาถึงประเทศไทยในวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2463ในคราวนั้นเจ้า
เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม)หวนระลึกถึงรับสั่งของกรมหลวงราชบุรีดิเรก
ฤทธิ์ได้ตรัสไว้ก่อนที่เสด็จไปรักษาพระองค์ที่ประเทศฝรั่งเศส
จบกำรนำเสนอ

More Related Content

Similar to พระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์Ning Rommanee
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์Ning Rommanee
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์Ning Rommanee
 
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง มนาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง มSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9banlangkhao
 
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จพระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จTeeraporn Pingkaew
 
เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี
เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรีเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี
เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรีAwirut In-ounchot
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ป.6+602+dltvhisp6+55t2his p06 f18-1page
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ป.6+602+dltvhisp6+55t2his p06 f18-1pageพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ป.6+602+dltvhisp6+55t2his p06 f18-1page
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ป.6+602+dltvhisp6+55t2his p06 f18-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติสุรพล ศรีบุญทรง
 
พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจาร
พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจาร
พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

Similar to พระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ (20)

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง มนาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
 
งาน ปุ๋ย
งาน ปุ๋ยงาน ปุ๋ย
งาน ปุ๋ย
 
สมเด็จพระนาราย์มหาราช
สมเด็จพระนาราย์มหาราชสมเด็จพระนาราย์มหาราช
สมเด็จพระนาราย์มหาราช
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
 
งานวิชาสังคม
งานวิชาสังคมงานวิชาสังคม
งานวิชาสังคม
 
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
 
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
 
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จพระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
 
เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี
เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรีเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี
เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี
 
พระราชประวัติ
พระราชประวัติพระราชประวัติ
พระราชประวัติ
 
ลังกากถา โดย ปิยเมธี
ลังกากถา โดย ปิยเมธีลังกากถา โดย ปิยเมธี
ลังกากถา โดย ปิยเมธี
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ป.6+602+dltvhisp6+55t2his p06 f18-1page
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ป.6+602+dltvhisp6+55t2his p06 f18-1pageพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ป.6+602+dltvhisp6+55t2his p06 f18-1page
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ป.6+602+dltvhisp6+55t2his p06 f18-1page
 
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
 
พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจาร
พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจาร
พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจาร
 

พระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์