SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
ขั้ น ตอนในการถ่ า ยภาพยนตร์ ส้ั น

    ขั้นที่1 หาองค์ประกอบด้ านวิธีการ คือ หลักการ การวางแผน การถ่ ายทา

การตัดต่ อ การประเมินผล

   ขึนที่2 หาองค์ประกอบด้ านบุคลากร คือ บุคลากรในหน้ าที่ต่างๆตั้งแต่ ตัวละคร บุคคลทาง
     ้
เทคนิค รวมไปถึง ผู้มีความสารถเฉพาะครับ จะดีมากๆ และอีกอย่ างคือทีมเวิคครับ

   ขั้นที่3 เตรียมการผลิต คือ วางแผน เตรียมสถานที่ บท อุปกรณ์ ให้ ครบ
ขั้นที่4 บทหนัง คือ วางบท คาพูด ระยะเวลาสถานที่ เรื่องราว ที่จะสื่อออกมา

  เรื่องบทนีจะมี หลายแบบนะ
            ้

    - บทแบบสมบูรณ์ ประมาณว่า เก็บทุกรายละเอียดทุกคาพูดอ่ะครับ

    - บทแบบอย่ างย่ อ ประมาณว่า เปิ ดกว้างๆให้ ผู้ชมสังเกตในความเข้ าใจของตนเอง

    - บทแบบเฉพาะ (ไม่ จาเป็ นหรอก)

    - บทแบบร่ างกาหนด (ไม่ จาเป็ นอีกแหละ

   ขั้นที่5 การผลิต อย่ างแรกเลย แต่ ละฉากคุณต้ องเลือกมุมกล้องให้ เหมาะสม กับสภาพอากาศ
ขนาดวัตถุ ว่าควรเห็นแค่ไหน ขนาดมุมกล้องมีหลายแบบนะเยอะมาก ผมพูดรวมๆละกัน มีแบบ
ระยะไกลมาก ระยะไกล ระยะปานกลาง ระยะใกล้
ขั้นที่6 ค้นหามุมกล้อง

- มุมคนดู ประมาณว่า เป็ นมุมถ่ ายจากรอบนอกของฉากนั้นๆอ่ะครับ เหมือนผู้ชมเป็ นคนสังเกตฉากนั้นๆ

- มุมแทนสายตา ไม่ ต้องอธิบายมั้ง

- มุมพ้อยออฟวิว มุมนีแนะนาให้ ใช้ เยอะๆครับ สวยมากมุมนีในการทาหนัง เป็ นมุมที่ใกล้ชิดเหตุการณ์
                     ้                                 ้

  ครับ เช่ น การถ่ ายข้ ามไหล่ของตัวละคร หรือวัตถุ ครับ

    ขั้นที่7 การเคลือนไหวของกล้อง
                    ่

- การแพน การทิลท์ ประมาณว่า การทาเคลือนไหวกล้องให้ เห็นตาแหน่ งวัตถุน้ ันสัมพันกันครับ
                                     ่

- การดอลลี่ การติดตามการเคลือนไหวเลยครับ
                            ่

- การซูม เป็ นการเปลียนองค์ประกอบภาพครับ เหมือนเน้ นความสนใจในจุดๆหนึ่ง
                     ่
ขั้นที่8 เทคนิคการถ่ าย
เอาเป็ นว่าจับกล้องให้ มั่นนะครับ อย่ างผมก็จะจับ แบบกระชับกับตัวเลย คือแขนทั้งสองข้ างแนบตัวเลยครับ
และก็ไม่ แนะนาให้ เคลือนไหวกล้องแบบรวดเร็วนะครับ กล้องจะปรับโฟกัสไม่ ทัน ทาให้ ภาพเบลอครับ
                      ่
   ขั้นที่9 หลังการผลิต ก็ต้องตัดต่ อ เพิมเสียง เอฟเฟค ความคมชัด ความเด่ นชัดเรื่อง อักษรหนังสือ
                                         ่
   ขั้นที่10 การตัดต่ อ
อย่ างแรกเลยครับจัดลาดับภาพ และเวลาให้ ตรงและเหมาะสม อันไหนเกินยาวก็ให้ ตดทิงครับอย่ าให้ ขด
                                                                         ั ้               ั
อารมณ์
    อย่ างสองคือจัดภาพให้ เหมาะสม เนือหาและโครงเรื่องที่เราวางไว้ครับ
                                     ้
    อย่ างสามแก้ไขข้ อบกพร่ องครับ
    อย่ างสี่ เพิมเทคนิคให้ ดูสวยงาม
                 ่
    อย่ างห้ า เรื่องเสียง
ขั้ น ตอนสำหรั บ กำรเขี ย นบทภำพยนตร์

1. การค้นคว้าหาข้ อมูล (research)

เป็ นขั้นตอนการเขียนบทภาพยนตร์ อนดับแรกที่ต้องทาถือเป็ นสิ่งสาคัญหลังจากเราพบประเด็นของเรื่อง
                                ั
แล้ว จึงลงมือค้นคว้าหาข้ อมูลเพือเสริมรายละเอียดเรื่องราวที่ถูกต้ อง จริง ชัดเจน และมีมิตมากขึน
                                ่                                                        ิ    ้
คุณภาพของภาพยนตร์ จะดีหรือไม่ จงอยู่ที่การค้นคว้าหาข้ อมูล ไม่ ว่าภาพยนตร์ น้ันจะมีเนือหาใดก็ตาม
                               ึ                                                      ้
2. การกาหนดประโยคหลักสาคัญ (premise)

หมายถึงความคิดหรือแนวความคิดที่ง่าย ๆ ธรรมดา ส่ วนใหญ่ มักใช้ ต้งคาถามว่า “เกิดอะไรขึนถ้ า...”
                                                                ั                    ้
(what if) ตัวอย่ างของ premise ตามรูปแบบหนังฮอลลีวู้ด เช่ น เกิดอะไรขึนถ้ าเรื่องโรเมโอ & จู
                                                                      ้
เลียตเกิดขึนในนิวยอร์ ค คือ เรื่อง West Side Story, เกิดอะไรขึนถ้ ามนุษย์ ดาวอังคารบุกโลก คือ
           ้                                                  ้
เรื่อง The Invasion of Mars, เกิดอะไรขึนถ้ าก็อตซิล่าบุกนิวยอร์ ค คือเรื่อง Godzilla,
                                       ้
เกิดอะไรขึนถ้ ามนุษย์ ต่างดาวบุกโลก คือเรื่อง The Independence Day, เกิดอะไรขึนถ้ า
          ้                                                                   ้
เรื่องโรเมโอ & จูเลียตเกิดขึนบนเรือไททานิค คือเรื่อง Titanic เป็ นต้ น
                            ้
3. การเขียนเรื่องย่ อ (synopsis)

คือเรื่องย่ อขนาดสั้น ที่สามารถจบลงได้ 3-4 บรรทัด หรือหนึ่งย่ อหน้ า หรืออาจเขียนเป็ น story
outline เป็ นร่ างหลังจากที่เราค้นคว้าหาข้ อมูลแล้วก่อนเขียนเป็ นโครงเรื่องขยาย (treatment)



4. การเขียนโครงเรื่องขยาย (treatment)

เป็ นการเขียนคาอธิบายของโครงเรื่อง (plot) ในรูปแบบของเรื่องสั้น โครงเรื่องขยายอาจใช้ สาหรับเป็ น
แนวทางในการเขียนบทภาพยนตร์ ที่สมบูรณ์ บางครั้งอาจใช้ สาหรับยืนของบประมาณได้ ด้วย และการ
                                                             ่
เขียนโครงเรื่องขยายที่ดต้องมีประโยคหลักสาหคัญ (premise) ที่ง่าย ๆ น่ าสนใจ
                       ี
5. บทภาพยนตร์ (screenplay)

สาหรับภาพยนตร์ บันเทิง หมายถึง บท (script) ซีเควนส์ หลัก (master
scene/sequence)หรือ ซีนาริโอ (scenario) คือ บทภาพยนตร์ ที่มีโครงเรื่อง บทพูด แต่ มี
ความสมบูรณ์ น้อยกว่าบทถ่ ายทา (shooting script) เป็ นการเล่าเรื่องที่ได้ พฒนามาแล้วอย่ างมี
                                                                          ั
ขั้นตอน ประกอบ ด้ วยตัวละครหลักบทพูด ฉาก แอ็คชั่น ซีเควนส์ มีรูปแบบการเขียนที่ถูกต้ อง เช่ น บท
สนทนาอยู่กงกลางหน้ ากระดาษฉาก เวลา สถานที่ อยู่ชิดขอบหน้ าซ้ ายกระดาษ ไม่ มีตวเลขกากับช็อต
          ่ึ                                                                 ั
และโดยหลักทั่วไปบทภาพยนตร์ หนึ่งหน้ ามีความยาวหนึ่งนาที
6. บทถ่ ายทา (shooting script)

คือบทภาพยนตร์ ที่เป็ นขั้นตอนสุ ดท้ ายของการเขียน บทถ่ ายทาจะบอกรายละเอียดเพิมเติมจากบท
                                                                             ่
ภาพยนตร์ (screenplay) ได้ แก่ ตาแหน่ งกล้อง การเชื่อมช็อต เช่ น คัท (cut) การเลือนภาพ
(fade) การละลายภาพ หรือการจางซ้ อนภาพ (dissolve) การกวาดภาพ (wipe) ตลอดจน
การใช้ ภาพพิเศษ (effect) อืน ๆ เป็ นต้ น นอกจากนียงมีเลขลาดับช็อตกากับเรียงตามลาดับตั้งแต่ ช็อ
                           ่                     ้ั
ตแรกจนกระทั่งจบเรื่อง
7. บทภาพ (storyboard)
คือ บทภาพยนตร์ ประเภทหนึ่งที่อธิบายด้ วยภาพ คล้ายหนังสือการ์ ตูน ให้ เห็นความต่ อเนื่องของ
ช็อตตลอดทั้งซีเควนส์ หรือทั้งเรื่องมีคาอธิบายภาพประกอบ เสียงต่ าง ๆ เช่ น เสียงดนตรี เสียงประกอบ
ฉาก และเสียงพูด เป็ นต้ น ใช้ เป็ นแนวทางสาหรับการถ่ ายทา หรือใช้ เป็ นวิธีการคาดคะเนภาพล่วงหน้ า
(pre-visualizing) ก่อนการถ่ ายทาว่า เมื่อถ่ ายทาสาเร็จแล้ว หนังจะมีรูปร่ างหน้ าตาเป็ นอย่ างไร
ซึ่งบริษทของ Walt Disney นามาใช้ กบการผลิตภาพยนตร์ การ์ ตูนของบริษทเป็ นครั้งแรก โดย
        ั                         ั                               ั
เขียนภาพ เหตุการณ์ ของแอ็คชั่นเรียงติดต่ อกันบนบอร์ ด เพือให้ คนดูเข้ าใจและมองเห็นเรื่องราว
                                                         ่
ล่วงหน้ าได้ ก่อนลงมือเขียนภาพ ส่ วนใหญ่ บทภาพจะมีเลขที่ลาดับช็อตกากับไว้ คาบรรยายเหตุการณ์
มุมกล้อง และอาจมีเสียงประกอบด้ วย
การเขี ย นบทภาพยนตร์ จ ากเรื่ อ งสั้ น
การเขียนบทอาจเป็ นเรื่องทีนามาจากเรื่องจริง เรื่องดัดแปลง ข่ าว เรื่องทีอยู่รอบ ๆ ตัว
                          ่                                             ่

นวนิยาย เรื่องสั้ น หรือได้ แรงบันดาลใจจากความประทับใจในเรื่องราวหรือบางสิ่ งทีคน
                                                                               ่
เขียนบทได้ สัมผัส เช่ น ดนตรี บทเพลง บทกวี ภาพเขียน และอืน ๆ หรืออะไรทีทาให้ เกิด
                                                         ่             ่
ความคิด จินตนาการ การสร้ างสรรค์ คือการนาเรื่องราวมาประสมประสานกันให้ เป็ นเรื่อง
ขึนมา ความพยายามเท่ านั้นทาให้ เกิดความสาเร็จ ขอให้ ศึกษาในบทภาพยนตร์ ต่อไป
  ้



                                                  www.chakkrid.wordpress.com

More Related Content

Similar to ขั้นตอนในการถ่ายภาพยนตร์สั้น2

ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นchaiwat vichianchai
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1Yota Bhikkhu
 
Week1 screenplay
Week1 screenplayWeek1 screenplay
Week1 screenplaymonkeychoc
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาJar 'zzJuratip
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาmelody_fai
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
การวิเคราะห์และวิจารณ์ภาพยนตร์แอนิเมชั่น
การวิเคราะห์และวิจารณ์ภาพยนตร์แอนิเมชั่นการวิเคราะห์และวิจารณ์ภาพยนตร์แอนิเมชั่น
การวิเคราะห์และวิจารณ์ภาพยนตร์แอนิเมชั่นThirawut Saenboon
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์Anirut Yotsean
 
การเขียนหนังสือราชการ 8.3
การเขียนหนังสือราชการ 8.3การเขียนหนังสือราชการ 8.3
การเขียนหนังสือราชการ 8.3Yota Bhikkhu
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอTana Panyakam
 
การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01Apida Runvat
 
คู่มือถ่ายภาพ
คู่มือถ่ายภาพคู่มือถ่ายภาพ
คู่มือถ่ายภาพtelecentreacademy
 
อุตสาหกรรมAdult video(av)
อุตสาหกรรมAdult video(av)อุตสาหกรรมAdult video(av)
อุตสาหกรรมAdult video(av)attapongCA
 
(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)pingpingmum
 
สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์gingphaietc
 

Similar to ขั้นตอนในการถ่ายภาพยนตร์สั้น2 (20)

ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
 
Week1 screenplay
Week1 screenplayWeek1 screenplay
Week1 screenplay
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
การวิเคราะห์และวิจารณ์ภาพยนตร์แอนิเมชั่น
การวิเคราะห์และวิจารณ์ภาพยนตร์แอนิเมชั่นการวิเคราะห์และวิจารณ์ภาพยนตร์แอนิเมชั่น
การวิเคราะห์และวิจารณ์ภาพยนตร์แอนิเมชั่น
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
การเขียนหนังสือราชการ 8.3
การเขียนหนังสือราชการ 8.3การเขียนหนังสือราชการ 8.3
การเขียนหนังสือราชการ 8.3
 
Scenario Thinking
Scenario ThinkingScenario Thinking
Scenario Thinking
 
ใบความรู้ หนังตะลุง ม52
ใบความรู้  หนังตะลุง ม52ใบความรู้  หนังตะลุง ม52
ใบความรู้ หนังตะลุง ม52
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01
 
Script 05 2
Script 05 2Script 05 2
Script 05 2
 
Unit6
Unit6Unit6
Unit6
 
คู่มือถ่ายภาพ
คู่มือถ่ายภาพคู่มือถ่ายภาพ
คู่มือถ่ายภาพ
 
อุตสาหกรรมAdult video(av)
อุตสาหกรรมAdult video(av)อุตสาหกรรมAdult video(av)
อุตสาหกรรมAdult video(av)
 
Concept VS Theme
Concept VS ThemeConcept VS Theme
Concept VS Theme
 
(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)
 
สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์
 

ขั้นตอนในการถ่ายภาพยนตร์สั้น2

  • 1. ขั้ น ตอนในการถ่ า ยภาพยนตร์ ส้ั น ขั้นที่1 หาองค์ประกอบด้ านวิธีการ คือ หลักการ การวางแผน การถ่ ายทา การตัดต่ อ การประเมินผล ขึนที่2 หาองค์ประกอบด้ านบุคลากร คือ บุคลากรในหน้ าที่ต่างๆตั้งแต่ ตัวละคร บุคคลทาง ้ เทคนิค รวมไปถึง ผู้มีความสารถเฉพาะครับ จะดีมากๆ และอีกอย่ างคือทีมเวิคครับ ขั้นที่3 เตรียมการผลิต คือ วางแผน เตรียมสถานที่ บท อุปกรณ์ ให้ ครบ
  • 2. ขั้นที่4 บทหนัง คือ วางบท คาพูด ระยะเวลาสถานที่ เรื่องราว ที่จะสื่อออกมา เรื่องบทนีจะมี หลายแบบนะ ้ - บทแบบสมบูรณ์ ประมาณว่า เก็บทุกรายละเอียดทุกคาพูดอ่ะครับ - บทแบบอย่ างย่ อ ประมาณว่า เปิ ดกว้างๆให้ ผู้ชมสังเกตในความเข้ าใจของตนเอง - บทแบบเฉพาะ (ไม่ จาเป็ นหรอก) - บทแบบร่ างกาหนด (ไม่ จาเป็ นอีกแหละ ขั้นที่5 การผลิต อย่ างแรกเลย แต่ ละฉากคุณต้ องเลือกมุมกล้องให้ เหมาะสม กับสภาพอากาศ ขนาดวัตถุ ว่าควรเห็นแค่ไหน ขนาดมุมกล้องมีหลายแบบนะเยอะมาก ผมพูดรวมๆละกัน มีแบบ ระยะไกลมาก ระยะไกล ระยะปานกลาง ระยะใกล้
  • 3. ขั้นที่6 ค้นหามุมกล้อง - มุมคนดู ประมาณว่า เป็ นมุมถ่ ายจากรอบนอกของฉากนั้นๆอ่ะครับ เหมือนผู้ชมเป็ นคนสังเกตฉากนั้นๆ - มุมแทนสายตา ไม่ ต้องอธิบายมั้ง - มุมพ้อยออฟวิว มุมนีแนะนาให้ ใช้ เยอะๆครับ สวยมากมุมนีในการทาหนัง เป็ นมุมที่ใกล้ชิดเหตุการณ์ ้ ้ ครับ เช่ น การถ่ ายข้ ามไหล่ของตัวละคร หรือวัตถุ ครับ ขั้นที่7 การเคลือนไหวของกล้อง ่ - การแพน การทิลท์ ประมาณว่า การทาเคลือนไหวกล้องให้ เห็นตาแหน่ งวัตถุน้ ันสัมพันกันครับ ่ - การดอลลี่ การติดตามการเคลือนไหวเลยครับ ่ - การซูม เป็ นการเปลียนองค์ประกอบภาพครับ เหมือนเน้ นความสนใจในจุดๆหนึ่ง ่
  • 4. ขั้นที่8 เทคนิคการถ่ าย เอาเป็ นว่าจับกล้องให้ มั่นนะครับ อย่ างผมก็จะจับ แบบกระชับกับตัวเลย คือแขนทั้งสองข้ างแนบตัวเลยครับ และก็ไม่ แนะนาให้ เคลือนไหวกล้องแบบรวดเร็วนะครับ กล้องจะปรับโฟกัสไม่ ทัน ทาให้ ภาพเบลอครับ ่ ขั้นที่9 หลังการผลิต ก็ต้องตัดต่ อ เพิมเสียง เอฟเฟค ความคมชัด ความเด่ นชัดเรื่อง อักษรหนังสือ ่ ขั้นที่10 การตัดต่ อ อย่ างแรกเลยครับจัดลาดับภาพ และเวลาให้ ตรงและเหมาะสม อันไหนเกินยาวก็ให้ ตดทิงครับอย่ าให้ ขด ั ้ ั อารมณ์ อย่ างสองคือจัดภาพให้ เหมาะสม เนือหาและโครงเรื่องที่เราวางไว้ครับ ้ อย่ างสามแก้ไขข้ อบกพร่ องครับ อย่ างสี่ เพิมเทคนิคให้ ดูสวยงาม ่ อย่ างห้ า เรื่องเสียง
  • 5. ขั้ น ตอนสำหรั บ กำรเขี ย นบทภำพยนตร์ 1. การค้นคว้าหาข้ อมูล (research) เป็ นขั้นตอนการเขียนบทภาพยนตร์ อนดับแรกที่ต้องทาถือเป็ นสิ่งสาคัญหลังจากเราพบประเด็นของเรื่อง ั แล้ว จึงลงมือค้นคว้าหาข้ อมูลเพือเสริมรายละเอียดเรื่องราวที่ถูกต้ อง จริง ชัดเจน และมีมิตมากขึน ่ ิ ้ คุณภาพของภาพยนตร์ จะดีหรือไม่ จงอยู่ที่การค้นคว้าหาข้ อมูล ไม่ ว่าภาพยนตร์ น้ันจะมีเนือหาใดก็ตาม ึ ้
  • 6. 2. การกาหนดประโยคหลักสาคัญ (premise) หมายถึงความคิดหรือแนวความคิดที่ง่าย ๆ ธรรมดา ส่ วนใหญ่ มักใช้ ต้งคาถามว่า “เกิดอะไรขึนถ้ า...” ั ้ (what if) ตัวอย่ างของ premise ตามรูปแบบหนังฮอลลีวู้ด เช่ น เกิดอะไรขึนถ้ าเรื่องโรเมโอ & จู ้ เลียตเกิดขึนในนิวยอร์ ค คือ เรื่อง West Side Story, เกิดอะไรขึนถ้ ามนุษย์ ดาวอังคารบุกโลก คือ ้ ้ เรื่อง The Invasion of Mars, เกิดอะไรขึนถ้ าก็อตซิล่าบุกนิวยอร์ ค คือเรื่อง Godzilla, ้ เกิดอะไรขึนถ้ ามนุษย์ ต่างดาวบุกโลก คือเรื่อง The Independence Day, เกิดอะไรขึนถ้ า ้ ้ เรื่องโรเมโอ & จูเลียตเกิดขึนบนเรือไททานิค คือเรื่อง Titanic เป็ นต้ น ้
  • 7. 3. การเขียนเรื่องย่ อ (synopsis) คือเรื่องย่ อขนาดสั้น ที่สามารถจบลงได้ 3-4 บรรทัด หรือหนึ่งย่ อหน้ า หรืออาจเขียนเป็ น story outline เป็ นร่ างหลังจากที่เราค้นคว้าหาข้ อมูลแล้วก่อนเขียนเป็ นโครงเรื่องขยาย (treatment) 4. การเขียนโครงเรื่องขยาย (treatment) เป็ นการเขียนคาอธิบายของโครงเรื่อง (plot) ในรูปแบบของเรื่องสั้น โครงเรื่องขยายอาจใช้ สาหรับเป็ น แนวทางในการเขียนบทภาพยนตร์ ที่สมบูรณ์ บางครั้งอาจใช้ สาหรับยืนของบประมาณได้ ด้วย และการ ่ เขียนโครงเรื่องขยายที่ดต้องมีประโยคหลักสาหคัญ (premise) ที่ง่าย ๆ น่ าสนใจ ี
  • 8. 5. บทภาพยนตร์ (screenplay) สาหรับภาพยนตร์ บันเทิง หมายถึง บท (script) ซีเควนส์ หลัก (master scene/sequence)หรือ ซีนาริโอ (scenario) คือ บทภาพยนตร์ ที่มีโครงเรื่อง บทพูด แต่ มี ความสมบูรณ์ น้อยกว่าบทถ่ ายทา (shooting script) เป็ นการเล่าเรื่องที่ได้ พฒนามาแล้วอย่ างมี ั ขั้นตอน ประกอบ ด้ วยตัวละครหลักบทพูด ฉาก แอ็คชั่น ซีเควนส์ มีรูปแบบการเขียนที่ถูกต้ อง เช่ น บท สนทนาอยู่กงกลางหน้ ากระดาษฉาก เวลา สถานที่ อยู่ชิดขอบหน้ าซ้ ายกระดาษ ไม่ มีตวเลขกากับช็อต ่ึ ั และโดยหลักทั่วไปบทภาพยนตร์ หนึ่งหน้ ามีความยาวหนึ่งนาที
  • 9. 6. บทถ่ ายทา (shooting script) คือบทภาพยนตร์ ที่เป็ นขั้นตอนสุ ดท้ ายของการเขียน บทถ่ ายทาจะบอกรายละเอียดเพิมเติมจากบท ่ ภาพยนตร์ (screenplay) ได้ แก่ ตาแหน่ งกล้อง การเชื่อมช็อต เช่ น คัท (cut) การเลือนภาพ (fade) การละลายภาพ หรือการจางซ้ อนภาพ (dissolve) การกวาดภาพ (wipe) ตลอดจน การใช้ ภาพพิเศษ (effect) อืน ๆ เป็ นต้ น นอกจากนียงมีเลขลาดับช็อตกากับเรียงตามลาดับตั้งแต่ ช็อ ่ ้ั ตแรกจนกระทั่งจบเรื่อง
  • 10. 7. บทภาพ (storyboard) คือ บทภาพยนตร์ ประเภทหนึ่งที่อธิบายด้ วยภาพ คล้ายหนังสือการ์ ตูน ให้ เห็นความต่ อเนื่องของ ช็อตตลอดทั้งซีเควนส์ หรือทั้งเรื่องมีคาอธิบายภาพประกอบ เสียงต่ าง ๆ เช่ น เสียงดนตรี เสียงประกอบ ฉาก และเสียงพูด เป็ นต้ น ใช้ เป็ นแนวทางสาหรับการถ่ ายทา หรือใช้ เป็ นวิธีการคาดคะเนภาพล่วงหน้ า (pre-visualizing) ก่อนการถ่ ายทาว่า เมื่อถ่ ายทาสาเร็จแล้ว หนังจะมีรูปร่ างหน้ าตาเป็ นอย่ างไร ซึ่งบริษทของ Walt Disney นามาใช้ กบการผลิตภาพยนตร์ การ์ ตูนของบริษทเป็ นครั้งแรก โดย ั ั ั เขียนภาพ เหตุการณ์ ของแอ็คชั่นเรียงติดต่ อกันบนบอร์ ด เพือให้ คนดูเข้ าใจและมองเห็นเรื่องราว ่ ล่วงหน้ าได้ ก่อนลงมือเขียนภาพ ส่ วนใหญ่ บทภาพจะมีเลขที่ลาดับช็อตกากับไว้ คาบรรยายเหตุการณ์ มุมกล้อง และอาจมีเสียงประกอบด้ วย
  • 11. การเขี ย นบทภาพยนตร์ จ ากเรื่ อ งสั้ น การเขียนบทอาจเป็ นเรื่องทีนามาจากเรื่องจริง เรื่องดัดแปลง ข่ าว เรื่องทีอยู่รอบ ๆ ตัว ่ ่ นวนิยาย เรื่องสั้ น หรือได้ แรงบันดาลใจจากความประทับใจในเรื่องราวหรือบางสิ่ งทีคน ่ เขียนบทได้ สัมผัส เช่ น ดนตรี บทเพลง บทกวี ภาพเขียน และอืน ๆ หรืออะไรทีทาให้ เกิด ่ ่ ความคิด จินตนาการ การสร้ างสรรค์ คือการนาเรื่องราวมาประสมประสานกันให้ เป็ นเรื่อง ขึนมา ความพยายามเท่ านั้นทาให้ เกิดความสาเร็จ ขอให้ ศึกษาในบทภาพยนตร์ ต่อไป ้ www.chakkrid.wordpress.com