SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
รายชื่อสมาชิก
1.สุทัตตา ติลกเรืองชัย ม.6/6 เลขที่ 14
2.อติญา ศุกลวิริยะกุล ม.6/6 เลขที่ 22
3.ศิศิรา เริ่มตระกูล ม.6/6 เลขที่ 34
บทที่ 11
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
Information Technology หรือ IT คือ การประยุกต์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในระบบ
สารสนเทศ ตั้งแต่กระบวนการจัดเก็บ ประมวลผล และการเผยแพร่สารสนเทศ เพื่อช่วยให้ได้สารสนเทศ
ที่มีประสิทธิภาพและรวดเร็วทันต่อเหตุการณ์ โดยเทคโนโลยีสารสนเทศ อาจประกอบด้วย
1. เครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องใช้สานักงาน อุปกรณ์สื่อสาร
โทรคมนาคมต่างๆ รวมทั้งซอฟท์แวร์ทั้งแบบสาเร็จรูปและแบบพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในงานเฉพาะด้าน ซึ่ง
เครื่องมือเหล่านี้จัดเป็นเครื่องมือทันสมัย และใช้เทคโนโลยีระดับสูง (High Technology)
2. กระบวนการในการนาอุปกรณ์เครื่องมือต่างๆ ข้างต้นมาใช้งาน เพื่อรวบรวม จัดเก็บ
ประมวลผล และแสดงผลลัพธ์เป็นสารสนเทศในรูปแบบต่างๆ ที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป
เช่น การจัดเก็บข้อมูลในลักษณะของฐานข้อมูล เป็นต้น
ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
สามารถอธิบายความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศในด้านที่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมด้านต่าง ๆ ของผู้คนไว้หลายประการดังต่อไปนี้
ประการที่หนึ่ง เทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้สังคมเปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมมาเป็น
สังคมสารสนเทศ
ประการที่สอง เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้ระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนจากระบบแห่งชาติไปเป็นเศรษฐกิจ
โลก ที่ทาให้ระบบเศรษฐกิจของโลกผูกพันกับทุกประเทศ ความเชื่อมโยงของเครือข่ายสารสนเทศทาให้
เกิดสังคมโลกาภิวัฒน์
ประการที่สาม เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้องค์กรมีลักษณะผูกพัน มีการบังคับบัญชาแบบแนวราบมาก
ขึ้น หน่วยธุรกิจมีขนาดเล็กลง และเชื่อมโยงกันกับหน่วยธุรกิจอื่นเป็นเครือข่าย การดาเนินธุรกิจมีการ
แข่งขันกันในด้านความเร็ว โดยอาศัยการใช้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสารโทรคมนาคม
เป็นตัวสนับสนุน เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลได้ง่ายและรวดเร็ว
ประการที่สี่ เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเทคโนโลยีแบบสุนทรียสัมผัส และสามารถตอบสนองตามความ
ต้องการการใช้เทคโนโลยีในรูปแบบใหม่ที่เลือกได้เอง
ประการที่ห้า เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้เกิดสภาพทางการทางานแบบทุกสถานที่และทุกเวลา
ประการที่หก เทคโนโลยีสารสนเทศก่อให้เกิดการวางแผนการดาเนินการระยะยาวขึ้น อีกทั้งยังทาให้วิถี
การตัดสินใจ หรือเลือกทางเลือกได้ละเอียดขึ้น
กล่าวโดยสรุปแล้ว เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทที่สาคัญในทุกวงการ มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงโลก
ด้านความเป็นอยู่ สังคม เศรษฐกิจ การศึกษา การแพทย์เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การเมือง ตลอดจน
การวิจัยและการพัฒนาต่าง ๆ
ระบบสารสนเทศ (Information System )
หมายถึง ระบบที่มีการนาคอมพิวเตอร์มาช่วยในการรวบรวม จัดเก็บ หรือจัดการกับข้อมูลข่าวสารเพื่อให้
ข้อมุลนั้นกลายเป็นสารสนเทศที่ดี สามารถนาไปใช้ในการประกอบการตัดสินใจได้ในเวลาอันรวดเร็ว
และถูกต้อง
ระบบสารสนเทศประกอบด้วยองค์ประกอบดังนี้
1. Hardware หมายถึงอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องในการจัดกระทากับข้อมูล
ทั้งที่เป็นอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อื่น ๆ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องคิดเลข
2. Software หมายถึง ชุดคาสั่ง หรือเรียกให้เข้าง่ายว่า โปรแกรม ที่สามารถ
สั่งการให้คอมพิวเตอร์ทางานในลักษณะที่ต้องการภายใต้ขอบเขตความสามารถที่เครื่อง
คอมพิวเตอร์ หรือโปรแกรมนั้น ๆ สามารถทาได้ซอร์ฟแวร์แบ่งออกเป็น ซอร์ฟแวร์ระบบ
และ ซอร์ฟแวร์ประยุกต์
3 User หมายถึง กลุ่มผุ้คนที่ทางานหรือเกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศ
4. Data หมายถึง ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ที่อาจอยู่ในรูปแบบต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น ตัวหนังสือ แสง สี เสียง
สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ ภาพ วัตถุ หรือ หลาย ๆ อย่างผสมผสานกัน ซึ่งข้อมูลที่ดีจะต้องตรงกับความ
ต้องการของผู้ใช้
5. Procedure หมายถึง ขั้นตอน กระบวนการต่าง ๆ ในการปฏิบัติงานในระบบสารสนเทศ
เมื่อทั้ง 5 ส่วนดังกล่าวข้างต้น ทางานประสานกัน ส่งผลให้ข้อมูลเกิดการประมวลผลและ
นาไปใช้ประโยชน์ นั่นก็คือ สารสนเทศนั่นเอง ซึ่งสารเสนทศนี้จะเป็นสารสนเทศที่ดี จะต้องเป็น
สารสนเทศที่มีความถูกต้องตรงกับความต้องการของผู้ใช้และทันเวลาในการใช้งาน
กล่าวโดยสรุปก็คือ กระบวนการสารสนเทศเป็นกระบวนการที่ทาให้เกิดสารเสนเทศขึ้นมานั่นเอง ซึ่ง
จะต้องประกอบด้วยองค์ประกอบสาคัญ 5 ส่วน นั่นคือ Hardware Software User Procedure และ Data
ระดับของผู้ใช้ระบบสารสนเทศ
ระดับของผู้ใช้ระบบสารสนเทศแบ่งตามลักษณะการบริหารจัดการได้3 ระดับดังนี้
- ระดับสูง (Top LevelManagement) กลุ่มของผู้ใช้ระดับนี้จะเกี่ยวข้องกับ ผู้บริหารระดับสูง มีหน้าที่
กาหนดและวางแผนกลยุทธ์ขององค์กรเพื่อนาไปสู่เป้าหมาย โดยมีทั้งสารสนเทศภายใน และสารสนเทศ
ภายนอก เพื่อวิเคราะห์แนวโน้มสถานการณ์โดยรวม ซึ่งระบบสารสนเทศในระดับนี้ต้องออกแบบให้ง่าย
และสะดวกต่อการใช้งาน ไม่มีความซับซ้อนหรือยุ่งยาก แสดงผลทางด้านกราฟฟิคบ้าง ต้องตอบสนองที่
รวดเร็วและทันท่วงทีด้วยเช่นกัน
- ระดับกลาง (Middle Level Management) เกี่ยวข้องกับกลุ่มผู้ใช้งานระดับการบริหารและจัดการ
องค์กร ซึ่งมีหน้าที่รับนโยบายมาจากผู้บริหารระดับสูง นามาสานต่อให้บรรลุตามเป้าหมายที่กาหนดไว้
ด้วยการใช้หลักบริหารและจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ระบบสารสนเทศที่ใช้มักได้มาจากแหล่งข้อมูล
ภายใน ระบบสารสนเทศจึงต้องมีการจัดอันดับทางเลือกแบบต่างๆไว้โดยเลือกใช้ค่าทางสถิติช่วย
พยากรณ์หรือทานายทิศทางไว้ด้วย หากระดับของการตัดสินใจนั้นมีความซับซ้อนหรือยุ่งยากมากเกินไป
ประเภทของระบบสารสนเทศ
ปัจจุบันจะเห็นความสัมพันธ์ระหว่างองค์กร กับระบบสารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศชัดเจนมาก
ขึ้น และเนื่องจากการบริหารงานในองค์กรมีหลายระดับ กิจกรรมขององค์กรแต่ละประเภทอาจจะ
แตกต่างกัน ดังนั้นระบบสารสนเทศของแต่ละองค์กรอาจแบ่งประเภทแตกต่างกันออกไป
พิจารณาจาแนกระบบสารสนเทศตามการสนับสนุนระดับการทางานในองค์กร จะแบ่งระบบ
สารสนเทศได้เป็น 6 ประเภท ดังนี้ (Laudon & Laudon, 2001)
1. ระบบประมวลผลรายการ (Transaction Processing Systems - TPS)เป็นระบบที่ทา
หน้าที่ในการปฏิบัติงานประจา ทาการบันทึกจัดเก็บ ประมวลผลรายการที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน โดยใช้
ระบบคอมพิวเตอร์ทางานแทนการทางานด้วยมือ ทั้งนี้เพื่อที่จะทาการสรุปข้อมูลเพื่อสร้างเป็น
สารสนเทศ ระบบประมวลผลรายการนี้ ส่วนใหญ่จะเป็นระบบที่เชื่อมโยงกิจการกับลูกค้า ตัวอย่าง เช่น
ระบบการจองบัตรโดยสารเครื่องบิน ระบบการฝากถอนเงินอัตโนมัติ เป็นต้น ในระบบต้องสร้าง
ฐานข้อมูลที่จาเป็น ระบบนี้มักจัดทาเพื่อสนองความต้องการของผู้บริหารระดับต้นเป็นส่วนใหญ่เพื่อให้
สามารถปฏิบัติงานประจาได้ ผลลัพธ์ของระบบนี้ มักจะอยู่ในรูปของ รายงานที่มีรายละเอียด รายงานผล
เบื้องต้น
2. ระบบสานักงานอัตโนมัติ (Office Automation Systems- OAS)เป็นระบบที่สนับสนุน
งานในสานักงาน หรืองานธุรการของหน่วยงาน ระบบจะประสานการทางานของบุคลากรรวมทั้งกับ
บุคคลภายนอก หรือหน่วยงานอื่น ระบบนี้จะเกี่ยวข้องกับการจัดการเอกสาร โดยการใช้ซอฟท์แวร์ด้าน
การพิมพ์การติดต่อผ่านระบบไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้นผลลัพธ์ของระบบนี้ มักอยู่ในรูปของ
เอกสาร กาหนดการ สิ่งพิมพ์
3. ระบบงานสร้างความรู้ (Knowledge Work Systems - KWS)เป็นระบบที่ช่วยสนับสนุน
บุคลากรที่ทางานด้านการสร้างความรู้เพื่อพัฒนาการคิดค้น สร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ บริการใหม่ ความรู้
ใหม่เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ในหน่วยงาน หน่วยงานต้องนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนให้การ
พัฒนาเกิดขึ้นได้โดยสะดวก สามารถแข่งขันได้ทั้งในด้านเวลา คุณภาพ และราคา ระบบต้องอาศัย
แบบจาลองที่สร้างขึ้น ตลอดจนการทดลองการผลิตหรือดาเนินการ ก่อนที่จะนาเข้ามาดาเนินการจริงใน
ธุรกิจ ผลลัพธ์ของระบบนี้ มักอยู่ในรูปของ สิ่งประดิษฐ์ ตัวแบบ รูปแบบ เป็นต้น
4. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information Systems- MIS) เป็นระบบ
สารสนเทศสาหรับผู้ปฏิบัติงานระดับกลาง ใช้ในการวางแผน การบริหารจัดการ และการควบคุม ระบบ
จะเชื่อมโยงข้อมูลที่มีอยู่ในระบบประมวลผลรายการเข้าด้วยกัน เพื่อประมวลและสร้างสารสนเทศที่
เหมาะสมและจาเป็นต่อการบริหารงาน ตัวอย่าง เช่น ระบบบริหารงานบุคลากร ผลลัพธ์ของระบบนี้ มัก
อยู่ในรูปของรายงานสรุป รายงานของสิ่งผิดปกติ
5. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support Systems – DSS)เป็นระบบที่ช่วย
ผู้บริหารในการตัดสินใจสาหรับปัญหา หรือที่มีโครงสร้างหรือขั้นตอนในการหาคาตอบที่แน่นอนเพียง
บางส่วน ข้อมูลที่ใช้ต้องอาศัยทั้งข้อมูลภายในกิจการและภายนอกกิจการประกอบกัน ระบบยังต้อง
สามารถเสนอทางเลือกให้ผู้บริหารพิจารณา เพื่อเลือกทางเลือกที่เหมาะสมที่สุดสาหรับสถานการณ์นั้น
หลักการของระบบ สร้างขึ้นจากแนวคิดของการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยการตัดสินใจ โดยให้ผู้ใช้โต้ตอบ
โดยตรงกับระบบ ทาให้สามารถวิเคราะห์ ปรับเปลี่ยนเงื่อนไขและกระบวนการพิจารณาได้โดยอาศัย
ประสบการณ์ และ ความสามารถของผู้บริหารเอง ผู้บริหารอาจกาหนดเงื่อนไขและทาการเปลี่ยนแปลง
เงื่อนไขต่างๆ ไปจนกระทั่งพบสถานการณ์ที่เหมาะสมที่สุด แล้วใช้เป็นสารสนเทศที่ช่วยตัดสินใจ
รูปแบบของผลลัพธ์ อาจจะอยู่ในรูปของ รายงานเฉพาะกิจ รายงานการวิเคราะห์เพื่อตัดสินใจ การทานาย
หรือ พยากรณ์เหตุการณ์
6. ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหารระดับสูง (Executive Information System - EIS)
เป็นระบบที่สร้างสารสนเทศเชิงกลยุทธ์สาหรับผู้บริหารระดับสูง ซึ่งทาหน้าที่กาหนดแผนระยะยาวและ
เป้าหมายของกิจการ สารสนเทศสาหรับผู้บริหารระดับสูงนี้จาเป็นต้องอาศัยข้อมูลภายนอกกิจกรรมเป็น
อย่างมาก ยิ่งในยุคปัจจุบันที่เป็นยุค Globalization ข้อมูลระดับโลก แนวโน้มระดับสากลเป็นข้อมูลที่
จาเป็นสาหรับการแข่งขันของธุรกิจ ผลลัพธ์ของระบบนี้ มักอยู่ในรูปของการพยากรณ์/การคาดการณ์
พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ก่อนการปฏิวัติทางอุตสาหกรรม ประชากรโลกส่วนใหญ่จะยึดอาชีพเกษตรกรรมเป็นแกนหลัก มีเพียงบางส่วนยึดอาชีพ
บริการและทางานในโรงงานอุตสาหกรรม แต่เมื่อมีการปฏิวัติอุตสาหกรรม พลเมืองในชนบทเป็นจานวนมากละทิ้งถิ่นฐาน
เดิม จากการทาไร่ไถนามาทางานในโรงงานอุตสาหกรรม ทาให้เกิดการขยายตัวของประชากรในภาคอุตสาหกรรมและการ
ลดน้อยลงในภาคเกษตรกรรม ขณะที่ผู้ทางานด้านบริการจะค่อย ๆ ขยับสูงขึ้นอย่างช้า ๆ พร้อม ๆ กับการมีผู้ทางานด้าน
สารสนเทศ ที่ค่อย ๆ เพิ่มสูงขึ้นตลอดอย่างต่อเนื่อง
เทคโนโลยีสารสนเทศเพิ่งเกิดขึ้น และเริ่มเมื่อไม่นานมานี้เอง เมื่อราว พ.ศ. 2500 เทคโนโลยีสารสนเทศยังไม่แพร่หลาย
นัก จะมีเพียงการใช้โทรศัพท์เพื่อการติดต่อสื่อสารและเริ่มมีการนาคอมพิวเตอร์มาช่วยประมวลผลข้อมูล งานด้าน
สารสนเทศอื่น ๆ ส่วนใหญ่ยังคงเป็นงานภายในสานักงานที่ยังไม่มีอุปกรณ์และเครื่องมือด้านเทคโนโลยีมาช่วยงานเท่าใด
นัก
เมื่อมีการประดิษฐ์คิดค้นอุปกรณ์ช่วยงานสารสนเทศมากขึ้น เช่น เครื่องถ่ายสาเนาเอกสาร เครื่องพิมพ์ดีดไฟฟ้า
เครื่องโทรสาร และเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ อาชีพของประชากรก็ปรับเปลี่ยนมาสู่งานด้านสารสนเทศมากขึ้น งานด้าน
สารสนเทศมีแนวโน้มขยายตัวที่ค่อนข้างสดใส เพราะเทคโนโลยีด้านนี้ได้รับการส่งเสริมสนับสนุนอย่างเต็มที่ด้วยการ
พัฒนาค้นคว้าวิจัยให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ ออกมาตอบสนองความต้องการของมนุษย์อยู่ตลอดเวลา
การใช้คอมพิวเตอร์ในการทางาน
ระบบสารสนเทศที่กาลังได้รับความสนใจอย่างมากในขณะนี้ คือ เทคโนโลยีแบบสื่อประสม (multimedia) ซึ่งรวมข้อความ
จานวน ภาพ สัญลักษณ์ และเสียงเข้ามาผสมกัน เทคโนโลยีนี้กาลังได้รับการพัฒนา ในอนาคตเทคโนโลยีแบบสื่อประสม
จะช่วยเสริมและสนับสนุนงานด้านสารสนเทศให้ก้าวหน้าต่อไป เป็นที่คาดหมายว่าอัตราการเติบโตของผู้ทางานด้าน
เทคโนโลยีสารสนเทศจะมีมากขึ้น จนนาหน้าสายอาชีพอื่นได้ทั้งหมดในไม่ช้านี้
การพัฒนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นไปอย่างรวดเร็ว ทั้งด้านฮาร์ดแวร์ (hardware) ซอฟต์แวร์ (software) ด้านข้อมูล
และการติดต่อสื่อสาร ผู้ใช้จึงต้องปรับตัวยอมรับและเรียนรู้เทคโนโลยีใหม่ที่เกิดขึ้นอยู่เสมอ โดยเฉพาะข้อมูลและการ
ติดต่อสื่อสารซึ่งเป็นหัวใจสาคัญของการดาเนินธุรกิจจานวนมาก หากการดาเนินงานธุรกิจใช้ข้อมูล ซึ่งมีการบันทึกใส่
กระดาษและเก็บรวบรวมใส่แฟ้ม การเรียกค้นและสรุปผลข้อมูลย่อมทาได้ช้า และเกิดความผิดพลาดได้ง่ายกว่าการ
ประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสมัยใหม่จะช่วยงานให้ง่ายสะดวกและรวดเร็วขึ้น และที่สาคัญช่วยให้
สามารถตัดสินใจดาเนินงานได้เร็ว และถูกต้องดีขึ้น
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาประเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศจัดว่ามีบทบาทสาคัญต่อการพัฒนาประเทศของทุกประเทศ ไม่ว่าจะเป็นประเทศที่พัฒนา
แล้ว หรือประเทศที่กาลังพัฒนา เพราะแม้ว่าเทคโนโลยีนี้จะยังไม่มีบทบาทโดดเด่นในการพัฒนาด้านอุตสาหกรรม และ
การค้าในกลุ่มประเทศที่กาลังพัฒนาทางเศรษฐกิจ และอุตสาหกรรม แต่ก็มีความสาคัญอย่างยิ่งในด้านการพัฒนาสังคม
และคุณภาพชีวิตของประชาชน อันได้แก่
- ด้านการจัดให้บริการสังคมพื้นฐาน ได้แก่ การศึกษาและ การสาธารณสุข
- ด้านการบริหารประเทศและในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน
- เทคโนโลยีสารสนเทศ ย่อมมีผลกระทบ ต่อสังคมมากน้อยขึ้นอยู่กับว่ามนุษย์จะเลือกใช้มันอย่างไร
 สารสนเทศกับบุคคล
การพัฒนาของเทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้เกิดความต้องการและการใช้สารสนเทศของบุคคลเพิ่มมากขึ้น
 สารสนเทศมีการใช้เพื่อให้เกิดความรู้และความเข้าใจในเรื่องที่ตนเกี่ยวข้อง และนาความรู้ความเข้าใจมา
ตัดสินใจแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างถูกต้อง แม่นยา และรวดเร็ว ทันเวลากับสถานการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นได้
อย่างเหมาะสม เป็นเรื่องที่มีความสาคัญกับบุคคลในทุกสาขาอาชีพและทุกวัย
 เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเรื่องใกล้ชิดและเกี่ยวพันกับชีวิตประจาวันของมนุษย์ได้แก่
- การถอนเงินอัตโนมัติ (ATM: Automatic Teller Machine)
- ธนาคารอิเล็กทรอนิคส์ (Electronic Banking)
- การซื้อขายสินค้าทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิคส์ (e-Commerce)
- การประชุมทางไกล (Tele-Conference)
- การศึกษาทางไกล (Tele-Education)
- ระบบห้องสมุดดิจิตอล (Digital Library)
- การเข้าถึงบริการและสารสนเทศต่างๆในระบบโทรศัพย์มือถือ
ระบบสารสนเทศด้านการตลาด (marketing information system)
การตลาด (marketing) เป็นหน้าที่สาคัญทางธุรกิจ เนื่องจากหน่วยงานด้านการตลาดจะรับผิดชอบในการกระจาย
สินค้าและบริการไปสู่ลูกค้า ตั้งแต่การศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการ การวางแผนและการสร้างความต้องการ
ตลอดจนส่งเสริมการขายจนกระทั้งสินค้าถึงมือลูกค้า ปกติการตัดสินใจทางการตลาดจะเกี่ยวข้องกับการจัดส่วน
ประสมทางการตลาด (marketing mix) หรือ ส่วนประกอบที่ทาให้การดาเนินงานทางการตลาดประสบความสาเร็จ ซึ่ง
ประกอบด้วยปัจจัยหลัก 4 ประการ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ (product) ราคา (price) สถานที่ (place) และการโฆษณา
(promotion) หรือที่เรียกว่า 4Ps โดยสารสนเทศที่นักการตลาดต้องการในการวิเคราะห์ วางแผน ตรวจสอบ และควบคุม
ให้แผนการตลาดเป็นไปตามที่ต้องการมาจากแหล่งข้อมูลดังต่อไปนี้
1.การปฏิบัติงาน (operations) เป็นข้อมูลที่แสดงถึงยอดขายและการดาเนินงานด้านการตลาด ตลอดช่วงระยะเวลาที่
ผ่านมา โดยข้อมูลการปฏิบัติงานจะเป็นข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นจากการดาเนินงานที่ช่วยในการตรวจสอบ ควบคุม และ
วางแนวทางปฏิบัติให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นในอนาคต
2. การวิจัยตลาด (marketing research) เป็นข้อมูลที่ได้จากการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลทางการตลาด โดยเฉพาะ
พฤติกรรมและความสัมพันธ์ของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์หรือบริการของธุรกิจ โดยนักการตลาดจะทาการวิจัยบน
สมมติฐานและการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง ปกติข้อมูลในการวิจัยตลาดจะได้มาจากการรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ เช่น
การสังเกต การสัมภาษณ์ และการใช้แบบสอบถาม การวิจัยตลาดช่วยผู้บริหารในการวางแผนและการตัดสินใจทาง
การตลาด แต่อาจมีข้อจากัดของความถูกต้องและความน่าเชื่อถือในการอธิบายพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย
3. คู่แข่ง (competitor) คากล่าวที่ว่า “ รู้เขารู้เรา รอบร้อยครั้งชนะทั้งร้อยครั้ง ” แสดงความสาคัญที่ธุรกิจต้องมีความ
เข้าใจในคู่แข่งขันทั้งด้านจานวนและศักยภาพ โดยข้อมูลจากการดาเนินงานของคู่แข่งขันช่วยให้ธุรกิจสามารถวางแผน
การตลาดอย่างเหมาะสม ปกติข้อมูลจากคู่แข่งขันจะมีลักษณะไม่มีโครงสร้าง ไม่เป็นทางการ และมีแหล่งที่มีไม่ชัดเจน
เช่น การทดลองใช้สินค้าหรือบริการ การสัมภาษณ์ลูกค้าและตัวแทนจาหน่าย การติดตามข้อมูลในตลาด และข้อมูลจาก
สื่อสารมวลชน เป็นต้น
4. กลยุทธ์ขององค์การ (corporate strategy) เป็นข้อมูลสาคัญทางการตลาด เนื่องจากกลยุทธ์จะเป็นเครื่องกาหนด
แนวทางปฏิบัติของธุรกิจ และเป็นฐานในการกาหนดกลยุทธ์ทางการตลาดขององค์การ
5. ข้อมูลภายนอก (external data) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และเทคโนโลยี ซึ่งจะส่งผล
ต่อโอกาสหรืออุปสรรคของธุรกิจ โดยทาให้ความต้องการของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์หรือบริการของลูกค้าขยาย
หรือหดตัว ตลอดจนสร้างคู่แข่งขันใหม่หรือเปลี่ยนขั้นตอนและรูปแบบในการดาเนินงาน
สารสนเทศด้านการตลาดอาจจะมีความแตกต่างกันตามประเภทของธุรกิจ ซึ่งเราสามารถจาแนกระบบย่อยของระบบ
สารสนเทศด้านการตลาดได้ดังต่อไปนี้
1. ระบบสารสนเทศสาหรับการขาย สามารถแบ่งออกเป็นระบบย่อย 3 ระบบดังต่อไปนี้
 ระบบสารสนเทศสาหรับสนับสนุนการขาย จะรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนการ
ดาเนินงานของฝ่ายขาย เพื่อให้การขายเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งข้อมูลที่ระบบต้องการ
จะเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ที่จะทาการขาย รูปแบบ ราคา และการโฆษณาต่าง ๆ เพื่อดึงดูดความ
สนใจของลูกค้า นอกจากนี้อาจเกี่ยวกับช่องทางและวิธีการขายสินค้าผ่านตัวแทนจาหน่ายใน
เรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างบริษัทกับลูกค้า ตลอดจนคู่แข่งของผลิตภัณฑ์ที่จะขายและ
จาหน่ายสินค้าคงคลังของบริษัท
 ระบบสารสนเทศสาหรับวิเคราะห์การขาย จะรวบรวมสารสนเทศในเรื่องของกาไรหรือ
ขาดทุนของผลิตภัณฑ์ ความสามารถของพนักงานขายสินค้า ยอดขายของแต่ละเขตการขาย
รวมทั้งแนวโน้มการเติบโตของสินค้า ซึ่งสามารถหาข้อมูลได้จากรายงานต่าง ๆ เช่น รายงาน
การขาย รายงานของต้นทุนสินค้าและวัตถุดิบ เป็นต้น
 ระบบสารสนเทศสาหรับการวิเคราะห์ลูกค้า จะช่วยในการวิเคราะห์ลูกค้าเพื่อให้ทราบถึง
รูปแบบของการซื้อและประโยชน์ที่ลูกค้าจะได้รับ เพื่อที่ธุรกิจจะสามารถให้บริการลูกค้าได้
อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
2. ระบบสารสนเทศสาหรับการวิจัยตลาด สามารถแบ่งออกเป็นระบบย่อยตามหน้าที่ได้2 ระบบ
ดังต่อไปนี้
 ระบบสารสนเทศสาหรับการวิจัยลูกค้า การวิจัยลูกค้าจะต่างกับการวิเคราะห์ลูกค้าตรงที่ว่า
การวิจัยลูกค้าจะมีขอบเขตของการใช้สารสนเทศกว้างกว่าการวิเคราะห์ลูกค้า โดยการวิจัย
ลูกค้าจะต้องการทราบสารสนเทศที่เกี่ยวกับลูกค้าในด้านสถานะทางการเงิน การดาเนินธุรกิจ
ความพอใจ รสนิยมและพฤติกรรมการบริโภค
 ระบบสารสนเทศสาหรับการวิจัยตลาด การวิจัยตลาดจะให้ความสาคัญกับการหาขนาดของ
ตลาดของแต่ละผลิตภัณฑ์ที่จะนาออกจาหน่าย ซึ่งอาจครอบคลุมทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
หลังจากนั้นก็จะกาหนดส่วนแบ่งตลาดของผลิตภัณฑ์เพื่อทาการวางแผน กาหนดเป้าหมาย
กาหนดกลยุทธ์และวางแผนกลยุทธ์ สารสนเทศที่เป็นที่ต้องการของการวิจัยตลาดคือสภาวะ
และแนวโน้มทางเศรษฐกิจ ยอดขายในอดีตของอุตสาหกรรมหรือผลิตภัณฑ์ชนิดเดียวกันใน
ตลาด รวมทั้งสภาวะการแข่งขันของผลิตภัณฑ์นี้ด้วย
 ระบบสารสนเทศสาหรับการส่งเสริมการขาย เป็นระบบที่ให้ความสาคัญกับแผนงาน
ทางด้านการโฆษณาและส่งเสริมการขาย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการขาย เพิ่ม
ยอดขายสินค้า และเพิ่มส่วนแบ่งการตลาดให้สูงขึ้น สารสนเทศที่เป็นที่ต้องการคือยอดขาย
ของสินค้าทุกชนิดในบริษัท เพื่อให้รู้ว่าสินค้าใด
3. ระบบสารสนเทศสาหรับการส่งเสริมการขาย เป็นระบบที่ให้ความสาคัญกับแผนงานทางด้านการโฆษณา
และส่งเสริมการขาย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการขาย เพิ่มยอดขายสินค้า และเพิ่มส่วนแบ่งการตลาด
ให้สูงขึ้น สารสนเทศที่เป็นที่ต้องการคือยอดขายของสินค้าทุกชนิดในบริษัท เพื่อให้รู้ว่าสินค้าใดต้องการ
แผนการส่งเสริมการขาย และสารสนเทศที่เกี่ยวกับผลกาไรหรือขาดทุนของสินค้าแต่ละชนิด เพื่อให้
ความสาคัญกับสินค้าตัวที่ทากาไร
4. ระบบสารสนเทศสาหรับการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ เป็นระบบสารสนเทศที่วิเคราะห์ถึงความเป็นไป
ได้ของผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ลักษณะและความต้องการของลูกค้าต่อผลิตภัณฑ์ใหม่ หรือผลิตภัณฑ์ที่เป็นที่
ต้องการของลูกค้าแต่ยังไม่มีตลาด โดยสารสนเทศที่เป็นที่ต้องการของระบบได้แก่ ยอดขายของผลิตภัณฑ์
ประเภทเดียวกันในอดีต เพื่อให้ทราบถึงขนาดและลักษณะของตลาด และการประมาณการต้นทุน เพื่อตอบ
คาถามให้ได้ว่าสมควรที่จะออกผลิตภัณฑ์ใหม่หรือไม่
5. ระบบสารสนเทศสาหรับพยากรณ์การขาย เป็นระบบที่ใช้ในการวางแผนการขาย แผนการทากาไรจาก
สินค้าหรือบริการในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งของบริษัท ซึ่งจะส่งผลไปถึงการวางแผนการผลิต การวางกาลังคน
และงบประมาณที่จะใช้เกี่ยวกับการขาย โดยสารสนเทศที่เป็นที่ต้องการคือ ยอดขายในอดีต สถานะของคู่
แข่งขัน สภาวการณ์ของตลาด และแผนการโฆษณา
8. ระบบสารสนเทศสาหรับการควบคุมค่าใช้จ่าย บุคคลที่เป็นผู้ควบคุมค่าใช้จ่ายสามารถควบคุมได้โดยดูจาก
รายงานของผลการทากาไรกับค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริงหรือสาเหตุของการคลาดเคลื่อนของค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย
ที่เกี่ยวกับการขายรวมถึงค่าใช้จ่ายต่าง ๆ เช่น เงินเดือน ค่าโฆษณา ค่าส่วนแบ่งการขาย เป็นต้นปัจจุบัน
เทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีส่วนสาคัญต่อการดาเนินธุรกิจ โดยเฉพาะการขยายโอกาสและเปลี่ยนแปลง
รูปแบบทางการค้า ซึ่งทาให้นักการตลาดสมัยใหม่ต้องสามารถประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อก่อให้เกิด
โอกาสและสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันแก่องค์การ ซึ่งจะส่งผลต่อความก้าวหน้าในอาชีพของตน
6. ระบบสารสนเทศสาหรับการวางแผนกาไร เป็นระบบสารสนเทศที่ให้ความสาคัญกับการวางแผนทากาไร
ทั้งในระยะสั้นและระยะยาวของธุรกิจ โดยสารสนเทศที่เป็นที่ต้องการคือสารสนเทศจากการวิจัยตลาด
ยอดขายในอดีต สารสนเทศของคู่แข่งขัน การพยากรณ์การขาย และการโฆษณา
7. ระบบสารสนเทศสาหรับการกาหนดราคา การกาหนดราคาของสินค้านับว่าเป็นจิตวิทยาอย่างหนึ่งทาง
การตลาด เพราะต้องคานึงถึงความต้องการของลูกค้า คู่แข่งขัน กาลังซื้อของลูกค้า โดยปกติแล้วราคาสินค้า
จะตั้งจากราคาต้นทุนรวมกับร้อยละของกาไรที่ต้องการ โดยสารสนเทศที่ต้องการได้แก่ ตัวเลขกาไรของ
ผลิตภัณฑ์ในอดีต เพื่อทาการปรับปรุงราคาให้ได้สัดส่วนของกาไรคงเดิม ในกรณีที่ต้นทุนมีการเปลี่ยนแปลง
เทคโนโลยีสารสนเทศด้านพัฒนาสังคม
เทคโนโลยีสารสนเทศ จัดว่ามีบทบาทสาคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศของทุกประเทศก็ว่าได้ไม่ว่าจะเป็นประเทศที่
พัฒนาแล้ว หรือประเทศที่กาลังพัฒนา เพราะแม้ว่าเทคโนโลยีนี้จะยังไม่มีบทบาทโดดเด่นในการพัฒนาด้านอุตสาหกรรม
และการค้าในกลุ่มประเทศที่กาลังพัฒนาทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม แต่ก็มีความสาคัญอย่างยิ่งยวดในด้านการพัฒนา
สังคมและคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในด้านการจัดให้บริการสังคมพื้นฐาน (การศึกษา และการ
สาธารณสุข ฯลฯ) ในการบริหารประเทศ และในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน ในปัจจุบัน
อุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศได้กลายเป็นอุตสาหกรรมการผลิตที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก มีการประมาณการว่า
ตลาดโลกสาหรับอุปกรณ์ ทั้งฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ โทรคมนาคม และผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ จะมีขนาด 1,600
พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 1994 ด้วยอัตราการเติบโตเฉลี่ยถึงร้อยละ 20 ต่อปี
การลงทุนในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทาให้เกิดศักยภาพในการแข่งขัน จึงย่อมส่งผลทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อ
เศรษฐกิจของนานาประเทศ จากผลการศึกษาใน 11 ประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ซึ่งมีทั้งประเทศที่ถือว่าพัฒนาแล้ว
พัฒนาใหม่ และกาลังพัฒนา
เทคโนโลยีสารสนเทศจะมีผลกระทบต่อสังคมมากน้อยเพียงใด ย่อมขึ้นอยู่กับว่ามนุษย์จะเลือกใช้มันอย่างไร ในโลก
ปัจจุบันแรงผลักดันทางเศรษฐกิจมักจะมีบทบาทสูงในการกาหนดทิศทางของเทคโนโลยีเป็นที่ทราบกันดีว่าเทคโนโลยี
การสื่อสารทั้งในอดีตและปัจจุบันได้เปลี่ยนโฉมไปอย่างมาก ในอนาคตธุรกิจ
บันเทิงจะเป็นธุรกิจอีกประเภทหนึ่งที่จะทาเงินให้แก่ผู้ประกอบการทางด้านการสื่อสารโทรคมนาคม เนื่องจากเป็น
ธุรกิจที่มีอิทธิพลอย่างสูงกับแนวความคิด ความอ่านของผู้คนในสังคม เพราะเป็นวิถีทางหนึ่งที่ผู้ร่วมบันเทิงได้รับ
อิทธิพลทางความคิดจากผู้อื่นที่ร่วมอยู่ในวงบันเทิง และยอมรับสถานภาพว่าตนก็เป็นส่วนหนึ่งของสังคมนั้นๆ การ
ถ่ายทอดแนวความคิดระหว่างบุคคลในสังคมนั้นก็เป็นสิ่งที่เราเรียกว่า วัฒนธรรมนั่นเอง
บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อด้านศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา หมายถึง การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับงาน
ด้านการศึกษา อันได้แก่ การจัดเก็บข้อมูล และประมวลผลฐานข้อมูล การพัฒนาระบบสารสนเทศช่วย
การเรียนการสอน การวางแผนและการบริหารการศึกษา การวางแผนหลักสูตร การแนะแนวและ
บริการ การทดสอบวัดผล การพัฒนาบุคลากร
ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทต่อการศึกษาเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะ
เทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ และการสื่อสารโทรคมนาคม บทบาทที่สาคัญของเทคโนโลยีต่อการ
พัฒนาการศึกษา
1. เทคโนโลยีที่เข้ามามีส่วนช่วยในเรื่องการเรียนรู้
ปัจจุบันมีเครื่องมือเครื่องใช้ที่ช่วยสนับสนุนการเรียนรู้หลายอย่าง เช่น ระบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
, ระบบมัลติมีเดีย, ระบบวิดีโอออนดีมานด์, วิดีโอเทเลคอนเฟอเรนซ์ และอินเตอร์เน็ต (Internet) เป็นต้น ระบบ
เหล่านี้เป็นระบบสนับสนุนการรับรู้ข่าวสารและการค้นหาข้อมูลข่าวสารเพื่อการเรียนรู้
2. เทคโนโลยีที่เข้ามาช่วยให้การสื่อสารระหว่างบุคคล
เกือบทุกวงการทั้งทางด้านการศึกษาจาเป็นต้องอาศัยการสื่อสารระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ผู้เรียนกับ
ผู้เรียน ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการเรียนการสอน และการดาเนินงานในหลายด้าน ทั้งนี้โดย
อาศัยเทคโนโลยีการสื่อสาร การดาเนินงานและเทคโนโลยีการสื่อสารระหว่างบุคคล เช่น การใช้โทรศัพท์
โทรสาร เทเลคอนเฟอเรนส์ และไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
3. เทคโนโลยีที่เข้ามาสนับสนุนการจัดการศึกษา
ในการจัดการศึกษาสมัยใหม่จาเป็ นต้องอาศัยข้อมูลข่าวสารเพื่อการวางแผนการดาเนินการ
การติดตามประเมินผลคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารโทรคมนาคม
ประโยชน์อย่างหนึ่งของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศควบคู่ไปกับการเรียนรู้ในห้องเรียนแบบเดิม คือ
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยการสนับสนุนให้ผู้เรียน ได้รับการเรียนรู้แบบมีการ
โต้ตอบ และเป็นแบบเห็นจริง อันจะเอื้ออานวยให้เข้าใจแนวความคิดที่ซับซ้อน และได้รับข้อมูลความรู้อย่าง
ถูกต้องมากกว่าการนั่งฟังบรรยายเพียงอย่างเดียว เนื่องจากว่าการศึกษาในหลาย สาขาวิชานั้นต้องการการอบรม
ที่ให้เห็นเสมือนเป็นการทางานจริง คือมีการโต้ตอบ และแสดงผลโดยภาพกราฟิกที่มีคุณภาพดี หรือ
ภาพเคลื่อนไหว รวมถึงการมีแบบทดสอบ เพื่อวัดความรู้ของตนเอง
ระบบการเรียนการสอนแบบ e-learning เป็นส่วนหนึ่งของการนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ใน
กระบวนการจัดการเรียนการสอนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ซึ่งอาจเป็นได้ ทั้งสื่อแบบ offline, online หรือ web-
based หรือแม้แต่ผ่านเครื่องใช้ไฟฟ้าหลายๆชนิด เช่นโทรทัศน์, วิทยุ, เทป, ซีดีรอม หรือแม้แต่โทรศัพท์มือถือ ที่
ต่อเชื่อมกับอินเตอร์เน็ตได้ รวมถึงการติดต่อผ่านระบบดาวเทียม ที่ไม่ได้มีการพิมพ์ออกมาเป็นหนังสือ ทาให้
การปรับปรุงแก้ไขทาได้โดยสะดวกและรวดเร็ว
ดังนั้น จึงอาจกล่าวได้ว่า การจัดการเรียนการสอนด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นการจัด
การศึกษาที่เป็นการศึกษาตลอดชีวิต นั่นคือ การจัดการศึกษาในภาพรวมทั้งหมดที่เกิดจากการผสมผสาน
ระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ที่จัดให้แก่บุคคลทุกช่วงอายุตั้งแต่
เกิดจนตาย เพื่อมุ่งพัฒนาบุคคลอย่างเต็มศักยภาพให้มีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์อย่างเพียงพอต่อการ
ดารงชีวิต การประกอบอาชีพและการปรับตัวเข้ากับสภาพสังคมสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปได้อย่างเหมาะสม
ในทุกช่วงชีวิต
 ประโยชน์หลักของเครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา
1. โดยผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ ภาพที่ถูกเก็บไว้สามารถเรียกมาใช้ในการสอนอย่างง่ายดายและเพิ่ม
หน่วยความจาของนักเรียน
2. โดยผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ ครูสามารถอธิบายขั้นตอนที่ซับซ้อนและมั่นใจในความเข้าใจของ
นักเรียน
3. โดยผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ ครูสามารถสร้างชั้นเรียนให้โต้ตอบกันได้ทาให้บทเรียนสนุกสนานมาก
ขึ้น ซึ่งสามารถเพิ่มการเข้าเรียนของนักเรียนและความเอาใจใส่
 ข้อเสียเปรียบหลักของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา
1. การติดตั้งเครื่องอาจเป็นการลาบาก
2. เครื่องมีราคาแพงเกินไป
3. ยากสาหรับครูที่ขาดประสบการณ์การใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสื่อสารและโทรคมนาคม ใช้ในการติดต่อสื่อสารรับ/ส่งข้อมูลจากที่ไกล ๆ เป็นการส่งของ
ข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์หรือเครื่องมือที่อยู่ห่างไกลกัน ซึ่งจะช่วยให้การเผยแพร่ข้อมูลหรือสารสนเทศไป
ยังผู้ใช้ในแหล่งต่าง ๆ เป็นไปอย่างสะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วน และทันการณ์ ซึ่งรูปแบบของข้อมูลที่
รับ/ส่งอาจเป็นตัวเลข (Numeric Data) ตัวอักษร (Text) ภาพ (Image) และเสียง (Voice)
บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อด้านการสื่อสารโทรคมนาคม
F
เทคโนโลยีที่ใช้ในการสื่อสารหรือเผยแพร่สารสนเทศ ได้แก่ เทคโนโลยีที่ใช้ในระบบโทรคมนาคมทั้ง
ชนิดมีสายและไร้สาย เช่น ระบบโทรศัพท์, โมเด็ม, แฟกซ์, โทรเลข, วิทยุกระจายเสียง, วิทยุโทรทัศน์ เคเบิ้ลใย
แก้วนาแสง คลื่นไมโครเวฟ และดาวเทียม เป็นต้น
สาหรับกลไกหลักของการสื่อสารโทรคมนาคมมีองค์ประกอบพื้นฐาน 3 ส่วน ได้แก่ ต้นแหล่งของ
ข้อความ (Source/Sender), สื่อกลางสาหรับการรับ/ส่งข้อความ (Medium), และส่วนรับข้อความ (Sink/Decoder)
ดังแผนภาพต่อไปนี้ คือ
แผนภาพแสดงกลไกหลักของการสื่อสารโทรคมนาคม
เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถจาแนกตามลักษณะการใช้งานได้เป็น 6 รูปแบบ ดังนี้ต่อไปนี้ คือ
1. เทคโนโลยีที่ใช้ในการเก็บข้อมูล เช่น ดาวเทียมถ่ายภาพทางอากาศ, กล้องดิจิทัล, กล้องถ่ายวีดีทัศน์,
เครื่องเอกซเรย์ฯลฯ
2. เทคโนโลยีที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล จะเป็นสื่อบันทึกข้อมูลต่าง ๆ เช่น เทปแม่เหล็ก, จานแม่เหล็ก,
จานแสงหรือจานเลเซอร์, บัตรเอทีเอ็ม ฯลฯ
3. เทคโนโลยีที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูล ได้แก่ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ทั้งฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์
4. เทคโนโลยีที่ใช้ในการแสดงผลข้อมูล เช่น เครื่องพิมพ์, จอภาพ, พลอตเตอร์ ฯลฯ
5. เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดทาสาเนาเอกสาร เช่น เครื่องถ่ายเอกสาร, เครื่องถ่ายไมโครฟิล์ม
6. เทคโนโลยีสาหรับถ่ายทอดหรือสื่อสารข้อมูล ได้แก่ ระบบโทรคมนาคมต่าง ๆ เช่น โทรทัศน์,
วิทยุกระจายเสียง, โทรเลข, เทเล็กซ์ และระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั้งระยะใกล้และไกล
 ลักษณะของข้อมูลหรือสารสนเทศที่ส่งผ่านระบบคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร ดังนี้
ข้อมูลหรือสารสนเทศที่ใช้กันอยู่ทั่วไปในระบบสื่อสาร เช่น ระบบโทรศัพท์ จะมีลักษณะของสัญญาณ
เป็นคลื่นแบบต่อเนื่องที่เราเรียกว่า "สัญญาณอนาลอก" แต่ในระบบคอมพิวเตอร์จะแตกต่างไป เพราะระบบ
คอมพิวเตอร์ใช้ระบบสัญญาณไฟฟ้าสูงต่าสลับกัน เป็นสัญญาณที่ไม่ต่อเนื่อง เรียกว่า "สัญญาณดิจิตอล" ซึ่ง
ข้อมูลเหล่านั้นจะส่งผ่านสายโทรศัพท์ เมื่อเราต้องการส่งข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังเครื่องอื่น ๆ
ผ่านระบบโทรศัพท์ ก็ต้องอาศัยอุปกรณ์ช่วยแปลงสัญญาณเสมอ ซึ่งมีชื่อเรียกว่า "โมเด็ม" (Modem)
บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อด้านสาธารณสุข
ปัจจุบันได้มีการนาเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้งานในด้านสาธารณสุขอย่างมากมาย นับเป็นเวลา
กว่า 10 ปี ที่งานด้านนี้ ได้วิวัฒนาการมามีบทบาทโดยเริ่มจากการใช้งานในลักษณะของการประมวลผลสถิติ
ต่าง ๆ มาจนถึงการ ON LINE ระบบคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะในช่วงระหว่างปี 2537 - 2538 พบว่ามีการ
เปลี่ยนแปลงในด้านนี้อย่างมาก มีการลงทุนทางด้านคอมพิวเตอร์และพัฒนาบุคลากรต่าง ๆ ให้มีความรู้
ทางด้านนี้มากขึ้น
การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชนทุกส่วน
ของประเทศ แม้แต่ในส่วนภูมิภาคที่งบประมาณในการสนับสนุนทางด้านนี้ยังไม่เพียงพอ บุคลากรในท้องถิ่นนั้นก็
ได้พยายามที่จะนาระบบนี้ เข้ามาช่วยในการบริการสาธารณสุขในหลากหลายวิธี แต่ถึงกระนั้นก็ตาม การพัฒนา
ระบบบริการสาธารณสุขในอนาคตบนความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศได้
ตั้งอยู่บนพื้นฐานของ 8 องค์ประกอบ ที่สาคัญ คือ
1. บริการโรงพยาบาลระบบอัตโนมัติสาหรับอนาคต
ช่วยเพิ่มความสะดวก และคุณภาพบริการ ทาให้ผู้ป่วยไม่ต้องเสียเวลานานในขั้นตอนต่าง ๆ อีกทั้งในบาง
โรงพยาบาลสามารถบันทึกประวัติการเจ็บป่วยไว้ในบัตรคอมพิวเตอร์เก็บไว้ประจาตัวผู้ป่วยได้
2. ระบบทะเบียน เพื่อส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
ทะเบียนแผนที่ (Family Folder) สามารถบอกรายละเอียดในแต่ละพื้นที่ ช่วยให้เจ้าหน้าที่สามารถวางแผน
ออกไปให้บริการได้อย่างถูกต้อง
3. ระบบการให้คาปรึกษาทางไกลทางการแพทย์ (Telemedicine)
ช่วยให้การส่งข้อมูลทั้งที่เป็นเอกสารหรือภาพเพื่อประกอบการพิจารณาของแพทย์ได้ดียิ่งขึ้น
4. ระบบควบคุมโรคติดต่อ
เนื่องจากสามารถรวบรวมและประมวลผลแจ้งข่าวไปยังที่ต่าง ๆ ได้รวดเร็วยิ่งขึ้น ไม่ต้องเสียเวลารอ
รายงานทางไปรษณีย์
5. การให้ความรู้หรือการเรียนการสอนทางไกล
การสื่อสารผ่านดาวเทียม สามารถช่วยให้การเรียนการสอนทางไกลเป็นไปได้มากขึ้นและยังเปิดโอกาส ให้
ผู้เรียนซึ่งอยู่ห่างไกลโต้ตอบ ถามคาถามมายังผู้สอนได้อีกด้วย
6. การบริหารจัดการสถานบริการต่าง ๆ
เนื่องจากผ่อนภาระเจ้าหน้าที่ในฝ่ายต่าง ๆ ไม่ต้องเสียเวลาไปกับการทารายงานและเอกสารต่างๆ ทาให้มี
เวลาในการให้บริการประชาชนมากขึ้น
7. การกาหนดนโยบายและการกากับการดาเนินงานตามนโยบาย
ข้อมูลที่ถูกต้องฉับไวทันต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างครบถ้วน สามารถนามาช่วยในการ
ตัดสินใจของผู้บริหารได้เป็นอย่างดี
8. การให้ความรู้แก่ประชาชนทั่วไป
เนื่องจากสามารถนาเทคโนโลยีต่าง ๆ มาสร้างข้อความหรือสื่อต่าง ๆ ที่น่าสนใจในการให้ความรู้แก่
ประชาชน โดยไม่ต้องรอให้มีการส่งมาจากส่วนกลาง ซึ่งสามารถปรับหรือใส่เนื้อหาที่สอดคล้องกับปัญหา ใน
ท้องที่ได้จะเห็นได้ว่าเทคโนโลยีสารสนเทศมีประโยชน์ในด้านงานบริการสาธารณสุขอย่างมาก ซึ่งจะเป็นการ
พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในประเทศต่อไปในอนาคต
นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศไทย
เมื่อ 19 มีนาคม พ.ศ. 2545 คณะรัฐมนตรีได้เห็นชอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ ระยะ พ.ศ.2544 –
2553 ของประเทศไทยได้เสนอเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ และความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์กับการพัฒนา
ประเทศไทยให้เป็นสังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้เพื่อใช้และสร้างภูมิปัญญาของคนไทยที่จะทาให้ประเทศ
ไทยมีความแข็งแกร่งและความสามารถเพื่อใช้และสร้างภูมิปัญญาของคนไทยที่จะทาให้ประเทศไทยมีความ
แข็งแกร่งและความสามารถที่จะรับการท้าทายของการแข่งขันในระบบเศรษฐกิจใหม่ของสังคมโลกาภิวัฒน์ได้
อย่างเต็มที่
 กรอบนโยบายมี 3 เรื่อง คือ
1. ความท้าทายในยุคโลกาภิวัฒน์
2. สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้
3. ประเทศไทยในทศวรรษแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 21
นโยบายฯ นี้มีสาระโดยรวมว่า เทคโนโลยีใหม่ที่รวมคอมพิวเตอร์ สารสนเทศ และการสื่อสาร
(โทรคมนาคม) เรียกว่า เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communications Technology หรือ
ICT) ได้ก่อให้เกิดกิจรรมใหม่ๆ ในทางเศรษฐกิจและสังคมอันส่งผลต่อการดารงอยู่และการพัฒนาของประเทศต่างๆ
ในโลกที่แตกต่างจากอดีตอย่างมาก จนเป็นที่ยอมรับกันว่าในศตวรรษที่ 21 (เริ่มจาก ค.ศ. 2001 หรือ พ.ศ. 2544 เป็น
ต้นไป) จะเกิดเศรษฐกิจใหม่ที่เรียกว่า เศรษฐกิจแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ (Knowledge – based Learning
Economy) และจะมีผลทาให้ประเทศไทยซึ่งมีทรัพยากรบุคคล อันมีความรู้เป็นพื้นฐานสามารถจะพัฒนาล้าหน้า
ประเทศอื่นๆ ที่ด้อยในส่วนนี้อย่างมาก
 กรอบนโยบายนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะทาให้ประเทศไทยบรรลุเป้าหมายสาคัญ 3 ประการ คือ
1. เพิ่มขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือพัฒนาประเทศ โดยมีเป้าหมายในการเลื่อนสถานภาพ
ของประเทศไทยจากประเทศ ในกลุ่มผู้ตามมีพลวัต (dynamic adopters) อันดับต้นๆ ไปสู่ประเทศ ในกลุ่มประเทศที่มี
ศักยภาพเป็นผู้นา (potential leaders) อันดับต้นๆ โดยใช้ดัชนีผลสัมฤทธิ์ทางเทคโนโลยีของสานักงานโครงการ
พัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) เป็นเครื่องมือประเมินวัด
2. เพิ่มจานวนแรงงานความรู้ของประเทศ จากประมาณร้อยละ 12 ของแรงงานทั้งหมดให้เป็นร้อยละ 30
ซึ่งเท่ากับค่าเฉลี่ยของแรงงานความรู้ของกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว (OECD) ใน พ.ศ. 2544 ตามสถิติขององค์การ
แรงงานระหว่างประเทศ (ILO)
3. พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ โดยเพิ่มสัดส่วนของมูลค่าอุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับการใช้ความรู้เป็นพื้นฐาน
ให้มีมูลค่าถึงร้อยละ 50 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (GDP)
จากวิสัยทัศน์และนโยบายดังกล่าว นาไปสู่การกาหนดกลยุทธ์การพัฒนาโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่สาคัญไว้
5 กลุ่ม คือ
1. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาด้านภาครัฐ (e – Government)
2. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาด้านพาณิชย์ (e – Commerce)
3. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาด้านอุตสาหกรรม (e – Industry)
4. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาด้านการศึกษา (e – Education)
5. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาด้านสังคม (e – Society)
 เป้าหมายและยุทธศาสตร์การพัฒนาใน นโยบาย IT 2010
ด้านภาครัฐ (e – Govemment)
มีเป้าหมายในการนา ICT มาพัฒนาและปรับปรุงระบบงานบริหารที่สาคัญทุกประเภทของส่วนงาน
ของรัฐ ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด ภายใน พ.ศ. 2547 และพัฒนาบริการที่ให้แก่สาธารณชนให้ได้ครบทุกขั้นตอน
ใน พ.ศง 2553
ด้านพาณิชย์ (e – Cbommerce)
มีเป้าหมายมุ่งสร้างประโยชน์โดยรวมในกิจการพาณิชย์ของประเทศ ทั้งในความสามารถในการ
แข่งขันของคนไทย และการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์สาหรับธุรกิจส่งออก การค้าและบริการ
ด้านอุตสาหกรรม (e – Industry)
มีเป้าหมายในการส่งเสริมและพัฒนาการใช้และการผลิตอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศของ
ภาคเอกชน เพื่อให้เกิดอุตสาหกรรมการผลิตที่ใช้ความรู้เป็นทรัพยากรสาคัญ ใน พ.ศ. 2553
ด้านสังคม (e – Society)
มีเป้าหมายที่จะลดความเหลื่อมล้าของสังคม อันเป็นผลเนื่องมาจากความเหลื่อมล้าในการเข้าถึง
สารสนเทศและความรู้ ซึ่งหมายถึงการพัฒนาให้คุณภาพชีวิตของประชาชนทั่วไปดีขึ้น
ด้านการศึกษา (e – Education)
มีเป้าหมายในการสร้างความพร้อมของทรัพยากรมนุษย์ทั้งหมดของประเทศ เพื่อช่วยกันพัฒนาให้
เกิดสังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ
-
เ
ที่มา
- http://5332011101.blogspot.com
- http:// www.baanjomyut.com
- http://blog.eduzones.com
- http://www.gotoknow.org
- http:// www.gpo.or.th
- http://www.kmitl.ac.th
- http://kanokwanusaka.exteen.com
- http://www.thaigoodview.com
- http://www.thaigoodview.com
- http://std.eng.src.ku.ac.th

More Related Content

What's hot

เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24Ilhyna
 
สัปดาห์ที่ 11
สัปดาห์ที่ 11สัปดาห์ที่ 11
สัปดาห์ที่ 11Nattaka_Su
 
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการบทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการPrakaywan Tumsangwan
 
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศjanny5655
 
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศPrakaywan Tumsangwan
 

What's hot (9)

ระบบสารสนเทศ 333
ระบบสารสนเทศ  333ระบบสารสนเทศ  333
ระบบสารสนเทศ 333
 
Dss pp
Dss ppDss pp
Dss pp
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24
 
สัปดาห์ที่ 11
สัปดาห์ที่ 11สัปดาห์ที่ 11
สัปดาห์ที่ 11
 
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการบทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
 
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Information technology
Information technologyInformation technology
Information technology
 
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
 
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
 

Similar to บทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ

อรณี มารดาวงค์
อรณี  มารดาวงค์ อรณี  มารดาวงค์
อรณี มารดาวงค์ orathai
 
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25อรนุช พรฤทธา
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศTheerapat Nilchot
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศTheerapat Nilchot
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศyanika12
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ kiwikiiwii
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1Sangduan12345
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบSPipe Pantaweesak
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาJenchoke Tachagomain
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ Thanawut Rattanadon
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารSirithorn609
 

Similar to บทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ (20)

อรณี มารดาวงค์
อรณี  มารดาวงค์ อรณี  มารดาวงค์
อรณี มารดาวงค์
 
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
 
ณัฐชา ม.201 เลขที่20
ณัฐชา ม.201 เลขที่20ณัฐชา ม.201 เลขที่20
ณัฐชา ม.201 เลขที่20
 
วรกานต์ ต๋าตุ๋น
วรกานต์ ต๋าตุ๋น วรกานต์ ต๋าตุ๋น
วรกานต์ ต๋าตุ๋น
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
Computerbasic
ComputerbasicComputerbasic
Computerbasic
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
ฟิต
ฟิตฟิต
ฟิต
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบ
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
 
Part1
Part1Part1
Part1
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 

บทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ

  • 1. รายชื่อสมาชิก 1.สุทัตตา ติลกเรืองชัย ม.6/6 เลขที่ 14 2.อติญา ศุกลวิริยะกุล ม.6/6 เลขที่ 22 3.ศิศิรา เริ่มตระกูล ม.6/6 เลขที่ 34
  • 2. บทที่ 11 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ Information Technology หรือ IT คือ การประยุกต์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในระบบ สารสนเทศ ตั้งแต่กระบวนการจัดเก็บ ประมวลผล และการเผยแพร่สารสนเทศ เพื่อช่วยให้ได้สารสนเทศ ที่มีประสิทธิภาพและรวดเร็วทันต่อเหตุการณ์ โดยเทคโนโลยีสารสนเทศ อาจประกอบด้วย 1. เครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องใช้สานักงาน อุปกรณ์สื่อสาร โทรคมนาคมต่างๆ รวมทั้งซอฟท์แวร์ทั้งแบบสาเร็จรูปและแบบพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในงานเฉพาะด้าน ซึ่ง เครื่องมือเหล่านี้จัดเป็นเครื่องมือทันสมัย และใช้เทคโนโลยีระดับสูง (High Technology) 2. กระบวนการในการนาอุปกรณ์เครื่องมือต่างๆ ข้างต้นมาใช้งาน เพื่อรวบรวม จัดเก็บ ประมวลผล และแสดงผลลัพธ์เป็นสารสนเทศในรูปแบบต่างๆ ที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป เช่น การจัดเก็บข้อมูลในลักษณะของฐานข้อมูล เป็นต้น ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถอธิบายความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศในด้านที่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมด้านต่าง ๆ ของผู้คนไว้หลายประการดังต่อไปนี้
  • 3. ประการที่หนึ่ง เทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้สังคมเปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมมาเป็น สังคมสารสนเทศ ประการที่สอง เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้ระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนจากระบบแห่งชาติไปเป็นเศรษฐกิจ โลก ที่ทาให้ระบบเศรษฐกิจของโลกผูกพันกับทุกประเทศ ความเชื่อมโยงของเครือข่ายสารสนเทศทาให้ เกิดสังคมโลกาภิวัฒน์ ประการที่สาม เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้องค์กรมีลักษณะผูกพัน มีการบังคับบัญชาแบบแนวราบมาก ขึ้น หน่วยธุรกิจมีขนาดเล็กลง และเชื่อมโยงกันกับหน่วยธุรกิจอื่นเป็นเครือข่าย การดาเนินธุรกิจมีการ แข่งขันกันในด้านความเร็ว โดยอาศัยการใช้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสารโทรคมนาคม เป็นตัวสนับสนุน เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลได้ง่ายและรวดเร็ว ประการที่สี่ เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเทคโนโลยีแบบสุนทรียสัมผัส และสามารถตอบสนองตามความ ต้องการการใช้เทคโนโลยีในรูปแบบใหม่ที่เลือกได้เอง ประการที่ห้า เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้เกิดสภาพทางการทางานแบบทุกสถานที่และทุกเวลา ประการที่หก เทคโนโลยีสารสนเทศก่อให้เกิดการวางแผนการดาเนินการระยะยาวขึ้น อีกทั้งยังทาให้วิถี การตัดสินใจ หรือเลือกทางเลือกได้ละเอียดขึ้น กล่าวโดยสรุปแล้ว เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทที่สาคัญในทุกวงการ มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงโลก ด้านความเป็นอยู่ สังคม เศรษฐกิจ การศึกษา การแพทย์เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การเมือง ตลอดจน การวิจัยและการพัฒนาต่าง ๆ
  • 4. ระบบสารสนเทศ (Information System ) หมายถึง ระบบที่มีการนาคอมพิวเตอร์มาช่วยในการรวบรวม จัดเก็บ หรือจัดการกับข้อมูลข่าวสารเพื่อให้ ข้อมุลนั้นกลายเป็นสารสนเทศที่ดี สามารถนาไปใช้ในการประกอบการตัดสินใจได้ในเวลาอันรวดเร็ว และถูกต้อง ระบบสารสนเทศประกอบด้วยองค์ประกอบดังนี้ 1. Hardware หมายถึงอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องในการจัดกระทากับข้อมูล ทั้งที่เป็นอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อื่น ๆ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องคิดเลข 2. Software หมายถึง ชุดคาสั่ง หรือเรียกให้เข้าง่ายว่า โปรแกรม ที่สามารถ สั่งการให้คอมพิวเตอร์ทางานในลักษณะที่ต้องการภายใต้ขอบเขตความสามารถที่เครื่อง คอมพิวเตอร์ หรือโปรแกรมนั้น ๆ สามารถทาได้ซอร์ฟแวร์แบ่งออกเป็น ซอร์ฟแวร์ระบบ และ ซอร์ฟแวร์ประยุกต์ 3 User หมายถึง กลุ่มผุ้คนที่ทางานหรือเกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศ
  • 5. 4. Data หมายถึง ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ที่อาจอยู่ในรูปแบบต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น ตัวหนังสือ แสง สี เสียง สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ ภาพ วัตถุ หรือ หลาย ๆ อย่างผสมผสานกัน ซึ่งข้อมูลที่ดีจะต้องตรงกับความ ต้องการของผู้ใช้ 5. Procedure หมายถึง ขั้นตอน กระบวนการต่าง ๆ ในการปฏิบัติงานในระบบสารสนเทศ เมื่อทั้ง 5 ส่วนดังกล่าวข้างต้น ทางานประสานกัน ส่งผลให้ข้อมูลเกิดการประมวลผลและ นาไปใช้ประโยชน์ นั่นก็คือ สารสนเทศนั่นเอง ซึ่งสารเสนทศนี้จะเป็นสารสนเทศที่ดี จะต้องเป็น สารสนเทศที่มีความถูกต้องตรงกับความต้องการของผู้ใช้และทันเวลาในการใช้งาน กล่าวโดยสรุปก็คือ กระบวนการสารสนเทศเป็นกระบวนการที่ทาให้เกิดสารเสนเทศขึ้นมานั่นเอง ซึ่ง จะต้องประกอบด้วยองค์ประกอบสาคัญ 5 ส่วน นั่นคือ Hardware Software User Procedure และ Data
  • 6. ระดับของผู้ใช้ระบบสารสนเทศ ระดับของผู้ใช้ระบบสารสนเทศแบ่งตามลักษณะการบริหารจัดการได้3 ระดับดังนี้ - ระดับสูง (Top LevelManagement) กลุ่มของผู้ใช้ระดับนี้จะเกี่ยวข้องกับ ผู้บริหารระดับสูง มีหน้าที่ กาหนดและวางแผนกลยุทธ์ขององค์กรเพื่อนาไปสู่เป้าหมาย โดยมีทั้งสารสนเทศภายใน และสารสนเทศ ภายนอก เพื่อวิเคราะห์แนวโน้มสถานการณ์โดยรวม ซึ่งระบบสารสนเทศในระดับนี้ต้องออกแบบให้ง่าย และสะดวกต่อการใช้งาน ไม่มีความซับซ้อนหรือยุ่งยาก แสดงผลทางด้านกราฟฟิคบ้าง ต้องตอบสนองที่ รวดเร็วและทันท่วงทีด้วยเช่นกัน - ระดับกลาง (Middle Level Management) เกี่ยวข้องกับกลุ่มผู้ใช้งานระดับการบริหารและจัดการ องค์กร ซึ่งมีหน้าที่รับนโยบายมาจากผู้บริหารระดับสูง นามาสานต่อให้บรรลุตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ ด้วยการใช้หลักบริหารและจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ระบบสารสนเทศที่ใช้มักได้มาจากแหล่งข้อมูล ภายใน ระบบสารสนเทศจึงต้องมีการจัดอันดับทางเลือกแบบต่างๆไว้โดยเลือกใช้ค่าทางสถิติช่วย พยากรณ์หรือทานายทิศทางไว้ด้วย หากระดับของการตัดสินใจนั้นมีความซับซ้อนหรือยุ่งยากมากเกินไป
  • 7. ประเภทของระบบสารสนเทศ ปัจจุบันจะเห็นความสัมพันธ์ระหว่างองค์กร กับระบบสารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศชัดเจนมาก ขึ้น และเนื่องจากการบริหารงานในองค์กรมีหลายระดับ กิจกรรมขององค์กรแต่ละประเภทอาจจะ แตกต่างกัน ดังนั้นระบบสารสนเทศของแต่ละองค์กรอาจแบ่งประเภทแตกต่างกันออกไป พิจารณาจาแนกระบบสารสนเทศตามการสนับสนุนระดับการทางานในองค์กร จะแบ่งระบบ สารสนเทศได้เป็น 6 ประเภท ดังนี้ (Laudon & Laudon, 2001) 1. ระบบประมวลผลรายการ (Transaction Processing Systems - TPS)เป็นระบบที่ทา หน้าที่ในการปฏิบัติงานประจา ทาการบันทึกจัดเก็บ ประมวลผลรายการที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน โดยใช้ ระบบคอมพิวเตอร์ทางานแทนการทางานด้วยมือ ทั้งนี้เพื่อที่จะทาการสรุปข้อมูลเพื่อสร้างเป็น สารสนเทศ ระบบประมวลผลรายการนี้ ส่วนใหญ่จะเป็นระบบที่เชื่อมโยงกิจการกับลูกค้า ตัวอย่าง เช่น ระบบการจองบัตรโดยสารเครื่องบิน ระบบการฝากถอนเงินอัตโนมัติ เป็นต้น ในระบบต้องสร้าง ฐานข้อมูลที่จาเป็น ระบบนี้มักจัดทาเพื่อสนองความต้องการของผู้บริหารระดับต้นเป็นส่วนใหญ่เพื่อให้ สามารถปฏิบัติงานประจาได้ ผลลัพธ์ของระบบนี้ มักจะอยู่ในรูปของ รายงานที่มีรายละเอียด รายงานผล เบื้องต้น 2. ระบบสานักงานอัตโนมัติ (Office Automation Systems- OAS)เป็นระบบที่สนับสนุน งานในสานักงาน หรืองานธุรการของหน่วยงาน ระบบจะประสานการทางานของบุคลากรรวมทั้งกับ บุคคลภายนอก หรือหน่วยงานอื่น ระบบนี้จะเกี่ยวข้องกับการจัดการเอกสาร โดยการใช้ซอฟท์แวร์ด้าน การพิมพ์การติดต่อผ่านระบบไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้นผลลัพธ์ของระบบนี้ มักอยู่ในรูปของ เอกสาร กาหนดการ สิ่งพิมพ์
  • 8. 3. ระบบงานสร้างความรู้ (Knowledge Work Systems - KWS)เป็นระบบที่ช่วยสนับสนุน บุคลากรที่ทางานด้านการสร้างความรู้เพื่อพัฒนาการคิดค้น สร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ บริการใหม่ ความรู้ ใหม่เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ในหน่วยงาน หน่วยงานต้องนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนให้การ พัฒนาเกิดขึ้นได้โดยสะดวก สามารถแข่งขันได้ทั้งในด้านเวลา คุณภาพ และราคา ระบบต้องอาศัย แบบจาลองที่สร้างขึ้น ตลอดจนการทดลองการผลิตหรือดาเนินการ ก่อนที่จะนาเข้ามาดาเนินการจริงใน ธุรกิจ ผลลัพธ์ของระบบนี้ มักอยู่ในรูปของ สิ่งประดิษฐ์ ตัวแบบ รูปแบบ เป็นต้น 4. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information Systems- MIS) เป็นระบบ สารสนเทศสาหรับผู้ปฏิบัติงานระดับกลาง ใช้ในการวางแผน การบริหารจัดการ และการควบคุม ระบบ จะเชื่อมโยงข้อมูลที่มีอยู่ในระบบประมวลผลรายการเข้าด้วยกัน เพื่อประมวลและสร้างสารสนเทศที่ เหมาะสมและจาเป็นต่อการบริหารงาน ตัวอย่าง เช่น ระบบบริหารงานบุคลากร ผลลัพธ์ของระบบนี้ มัก อยู่ในรูปของรายงานสรุป รายงานของสิ่งผิดปกติ
  • 9. 5. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support Systems – DSS)เป็นระบบที่ช่วย ผู้บริหารในการตัดสินใจสาหรับปัญหา หรือที่มีโครงสร้างหรือขั้นตอนในการหาคาตอบที่แน่นอนเพียง บางส่วน ข้อมูลที่ใช้ต้องอาศัยทั้งข้อมูลภายในกิจการและภายนอกกิจการประกอบกัน ระบบยังต้อง สามารถเสนอทางเลือกให้ผู้บริหารพิจารณา เพื่อเลือกทางเลือกที่เหมาะสมที่สุดสาหรับสถานการณ์นั้น หลักการของระบบ สร้างขึ้นจากแนวคิดของการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยการตัดสินใจ โดยให้ผู้ใช้โต้ตอบ โดยตรงกับระบบ ทาให้สามารถวิเคราะห์ ปรับเปลี่ยนเงื่อนไขและกระบวนการพิจารณาได้โดยอาศัย ประสบการณ์ และ ความสามารถของผู้บริหารเอง ผู้บริหารอาจกาหนดเงื่อนไขและทาการเปลี่ยนแปลง เงื่อนไขต่างๆ ไปจนกระทั่งพบสถานการณ์ที่เหมาะสมที่สุด แล้วใช้เป็นสารสนเทศที่ช่วยตัดสินใจ รูปแบบของผลลัพธ์ อาจจะอยู่ในรูปของ รายงานเฉพาะกิจ รายงานการวิเคราะห์เพื่อตัดสินใจ การทานาย หรือ พยากรณ์เหตุการณ์ 6. ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหารระดับสูง (Executive Information System - EIS) เป็นระบบที่สร้างสารสนเทศเชิงกลยุทธ์สาหรับผู้บริหารระดับสูง ซึ่งทาหน้าที่กาหนดแผนระยะยาวและ เป้าหมายของกิจการ สารสนเทศสาหรับผู้บริหารระดับสูงนี้จาเป็นต้องอาศัยข้อมูลภายนอกกิจกรรมเป็น อย่างมาก ยิ่งในยุคปัจจุบันที่เป็นยุค Globalization ข้อมูลระดับโลก แนวโน้มระดับสากลเป็นข้อมูลที่ จาเป็นสาหรับการแข่งขันของธุรกิจ ผลลัพธ์ของระบบนี้ มักอยู่ในรูปของการพยากรณ์/การคาดการณ์
  • 10. พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ ก่อนการปฏิวัติทางอุตสาหกรรม ประชากรโลกส่วนใหญ่จะยึดอาชีพเกษตรกรรมเป็นแกนหลัก มีเพียงบางส่วนยึดอาชีพ บริการและทางานในโรงงานอุตสาหกรรม แต่เมื่อมีการปฏิวัติอุตสาหกรรม พลเมืองในชนบทเป็นจานวนมากละทิ้งถิ่นฐาน เดิม จากการทาไร่ไถนามาทางานในโรงงานอุตสาหกรรม ทาให้เกิดการขยายตัวของประชากรในภาคอุตสาหกรรมและการ ลดน้อยลงในภาคเกษตรกรรม ขณะที่ผู้ทางานด้านบริการจะค่อย ๆ ขยับสูงขึ้นอย่างช้า ๆ พร้อม ๆ กับการมีผู้ทางานด้าน สารสนเทศ ที่ค่อย ๆ เพิ่มสูงขึ้นตลอดอย่างต่อเนื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศเพิ่งเกิดขึ้น และเริ่มเมื่อไม่นานมานี้เอง เมื่อราว พ.ศ. 2500 เทคโนโลยีสารสนเทศยังไม่แพร่หลาย นัก จะมีเพียงการใช้โทรศัพท์เพื่อการติดต่อสื่อสารและเริ่มมีการนาคอมพิวเตอร์มาช่วยประมวลผลข้อมูล งานด้าน สารสนเทศอื่น ๆ ส่วนใหญ่ยังคงเป็นงานภายในสานักงานที่ยังไม่มีอุปกรณ์และเครื่องมือด้านเทคโนโลยีมาช่วยงานเท่าใด นัก เมื่อมีการประดิษฐ์คิดค้นอุปกรณ์ช่วยงานสารสนเทศมากขึ้น เช่น เครื่องถ่ายสาเนาเอกสาร เครื่องพิมพ์ดีดไฟฟ้า เครื่องโทรสาร และเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ อาชีพของประชากรก็ปรับเปลี่ยนมาสู่งานด้านสารสนเทศมากขึ้น งานด้าน สารสนเทศมีแนวโน้มขยายตัวที่ค่อนข้างสดใส เพราะเทคโนโลยีด้านนี้ได้รับการส่งเสริมสนับสนุนอย่างเต็มที่ด้วยการ พัฒนาค้นคว้าวิจัยให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ ออกมาตอบสนองความต้องการของมนุษย์อยู่ตลอดเวลา
  • 11. การใช้คอมพิวเตอร์ในการทางาน ระบบสารสนเทศที่กาลังได้รับความสนใจอย่างมากในขณะนี้ คือ เทคโนโลยีแบบสื่อประสม (multimedia) ซึ่งรวมข้อความ จานวน ภาพ สัญลักษณ์ และเสียงเข้ามาผสมกัน เทคโนโลยีนี้กาลังได้รับการพัฒนา ในอนาคตเทคโนโลยีแบบสื่อประสม จะช่วยเสริมและสนับสนุนงานด้านสารสนเทศให้ก้าวหน้าต่อไป เป็นที่คาดหมายว่าอัตราการเติบโตของผู้ทางานด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศจะมีมากขึ้น จนนาหน้าสายอาชีพอื่นได้ทั้งหมดในไม่ช้านี้ การพัฒนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นไปอย่างรวดเร็ว ทั้งด้านฮาร์ดแวร์ (hardware) ซอฟต์แวร์ (software) ด้านข้อมูล และการติดต่อสื่อสาร ผู้ใช้จึงต้องปรับตัวยอมรับและเรียนรู้เทคโนโลยีใหม่ที่เกิดขึ้นอยู่เสมอ โดยเฉพาะข้อมูลและการ ติดต่อสื่อสารซึ่งเป็นหัวใจสาคัญของการดาเนินธุรกิจจานวนมาก หากการดาเนินงานธุรกิจใช้ข้อมูล ซึ่งมีการบันทึกใส่ กระดาษและเก็บรวบรวมใส่แฟ้ม การเรียกค้นและสรุปผลข้อมูลย่อมทาได้ช้า และเกิดความผิดพลาดได้ง่ายกว่าการ ประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสมัยใหม่จะช่วยงานให้ง่ายสะดวกและรวดเร็วขึ้น และที่สาคัญช่วยให้ สามารถตัดสินใจดาเนินงานได้เร็ว และถูกต้องดีขึ้น เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาประเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศจัดว่ามีบทบาทสาคัญต่อการพัฒนาประเทศของทุกประเทศ ไม่ว่าจะเป็นประเทศที่พัฒนา แล้ว หรือประเทศที่กาลังพัฒนา เพราะแม้ว่าเทคโนโลยีนี้จะยังไม่มีบทบาทโดดเด่นในการพัฒนาด้านอุตสาหกรรม และ การค้าในกลุ่มประเทศที่กาลังพัฒนาทางเศรษฐกิจ และอุตสาหกรรม แต่ก็มีความสาคัญอย่างยิ่งในด้านการพัฒนาสังคม และคุณภาพชีวิตของประชาชน อันได้แก่ - ด้านการจัดให้บริการสังคมพื้นฐาน ได้แก่ การศึกษาและ การสาธารณสุข - ด้านการบริหารประเทศและในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน - เทคโนโลยีสารสนเทศ ย่อมมีผลกระทบ ต่อสังคมมากน้อยขึ้นอยู่กับว่ามนุษย์จะเลือกใช้มันอย่างไร
  • 12.  สารสนเทศกับบุคคล การพัฒนาของเทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้เกิดความต้องการและการใช้สารสนเทศของบุคคลเพิ่มมากขึ้น  สารสนเทศมีการใช้เพื่อให้เกิดความรู้และความเข้าใจในเรื่องที่ตนเกี่ยวข้อง และนาความรู้ความเข้าใจมา ตัดสินใจแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างถูกต้อง แม่นยา และรวดเร็ว ทันเวลากับสถานการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นได้ อย่างเหมาะสม เป็นเรื่องที่มีความสาคัญกับบุคคลในทุกสาขาอาชีพและทุกวัย  เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเรื่องใกล้ชิดและเกี่ยวพันกับชีวิตประจาวันของมนุษย์ได้แก่ - การถอนเงินอัตโนมัติ (ATM: Automatic Teller Machine) - ธนาคารอิเล็กทรอนิคส์ (Electronic Banking) - การซื้อขายสินค้าทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิคส์ (e-Commerce) - การประชุมทางไกล (Tele-Conference) - การศึกษาทางไกล (Tele-Education) - ระบบห้องสมุดดิจิตอล (Digital Library) - การเข้าถึงบริการและสารสนเทศต่างๆในระบบโทรศัพย์มือถือ ระบบสารสนเทศด้านการตลาด (marketing information system) การตลาด (marketing) เป็นหน้าที่สาคัญทางธุรกิจ เนื่องจากหน่วยงานด้านการตลาดจะรับผิดชอบในการกระจาย สินค้าและบริการไปสู่ลูกค้า ตั้งแต่การศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการ การวางแผนและการสร้างความต้องการ ตลอดจนส่งเสริมการขายจนกระทั้งสินค้าถึงมือลูกค้า ปกติการตัดสินใจทางการตลาดจะเกี่ยวข้องกับการจัดส่วน ประสมทางการตลาด (marketing mix) หรือ ส่วนประกอบที่ทาให้การดาเนินงานทางการตลาดประสบความสาเร็จ ซึ่ง ประกอบด้วยปัจจัยหลัก 4 ประการ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ (product) ราคา (price) สถานที่ (place) และการโฆษณา (promotion) หรือที่เรียกว่า 4Ps โดยสารสนเทศที่นักการตลาดต้องการในการวิเคราะห์ วางแผน ตรวจสอบ และควบคุม ให้แผนการตลาดเป็นไปตามที่ต้องการมาจากแหล่งข้อมูลดังต่อไปนี้
  • 13. 1.การปฏิบัติงาน (operations) เป็นข้อมูลที่แสดงถึงยอดขายและการดาเนินงานด้านการตลาด ตลอดช่วงระยะเวลาที่ ผ่านมา โดยข้อมูลการปฏิบัติงานจะเป็นข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นจากการดาเนินงานที่ช่วยในการตรวจสอบ ควบคุม และ วางแนวทางปฏิบัติให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นในอนาคต 2. การวิจัยตลาด (marketing research) เป็นข้อมูลที่ได้จากการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลทางการตลาด โดยเฉพาะ พฤติกรรมและความสัมพันธ์ของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์หรือบริการของธุรกิจ โดยนักการตลาดจะทาการวิจัยบน สมมติฐานและการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง ปกติข้อมูลในการวิจัยตลาดจะได้มาจากการรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์ และการใช้แบบสอบถาม การวิจัยตลาดช่วยผู้บริหารในการวางแผนและการตัดสินใจทาง การตลาด แต่อาจมีข้อจากัดของความถูกต้องและความน่าเชื่อถือในการอธิบายพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย 3. คู่แข่ง (competitor) คากล่าวที่ว่า “ รู้เขารู้เรา รอบร้อยครั้งชนะทั้งร้อยครั้ง ” แสดงความสาคัญที่ธุรกิจต้องมีความ เข้าใจในคู่แข่งขันทั้งด้านจานวนและศักยภาพ โดยข้อมูลจากการดาเนินงานของคู่แข่งขันช่วยให้ธุรกิจสามารถวางแผน การตลาดอย่างเหมาะสม ปกติข้อมูลจากคู่แข่งขันจะมีลักษณะไม่มีโครงสร้าง ไม่เป็นทางการ และมีแหล่งที่มีไม่ชัดเจน เช่น การทดลองใช้สินค้าหรือบริการ การสัมภาษณ์ลูกค้าและตัวแทนจาหน่าย การติดตามข้อมูลในตลาด และข้อมูลจาก สื่อสารมวลชน เป็นต้น 4. กลยุทธ์ขององค์การ (corporate strategy) เป็นข้อมูลสาคัญทางการตลาด เนื่องจากกลยุทธ์จะเป็นเครื่องกาหนด แนวทางปฏิบัติของธุรกิจ และเป็นฐานในการกาหนดกลยุทธ์ทางการตลาดขององค์การ 5. ข้อมูลภายนอก (external data) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และเทคโนโลยี ซึ่งจะส่งผล ต่อโอกาสหรืออุปสรรคของธุรกิจ โดยทาให้ความต้องการของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์หรือบริการของลูกค้าขยาย หรือหดตัว ตลอดจนสร้างคู่แข่งขันใหม่หรือเปลี่ยนขั้นตอนและรูปแบบในการดาเนินงาน
  • 14. สารสนเทศด้านการตลาดอาจจะมีความแตกต่างกันตามประเภทของธุรกิจ ซึ่งเราสามารถจาแนกระบบย่อยของระบบ สารสนเทศด้านการตลาดได้ดังต่อไปนี้ 1. ระบบสารสนเทศสาหรับการขาย สามารถแบ่งออกเป็นระบบย่อย 3 ระบบดังต่อไปนี้  ระบบสารสนเทศสาหรับสนับสนุนการขาย จะรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนการ ดาเนินงานของฝ่ายขาย เพื่อให้การขายเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งข้อมูลที่ระบบต้องการ จะเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ที่จะทาการขาย รูปแบบ ราคา และการโฆษณาต่าง ๆ เพื่อดึงดูดความ สนใจของลูกค้า นอกจากนี้อาจเกี่ยวกับช่องทางและวิธีการขายสินค้าผ่านตัวแทนจาหน่ายใน เรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างบริษัทกับลูกค้า ตลอดจนคู่แข่งของผลิตภัณฑ์ที่จะขายและ จาหน่ายสินค้าคงคลังของบริษัท  ระบบสารสนเทศสาหรับวิเคราะห์การขาย จะรวบรวมสารสนเทศในเรื่องของกาไรหรือ ขาดทุนของผลิตภัณฑ์ ความสามารถของพนักงานขายสินค้า ยอดขายของแต่ละเขตการขาย รวมทั้งแนวโน้มการเติบโตของสินค้า ซึ่งสามารถหาข้อมูลได้จากรายงานต่าง ๆ เช่น รายงาน การขาย รายงานของต้นทุนสินค้าและวัตถุดิบ เป็นต้น  ระบบสารสนเทศสาหรับการวิเคราะห์ลูกค้า จะช่วยในการวิเคราะห์ลูกค้าเพื่อให้ทราบถึง รูปแบบของการซื้อและประโยชน์ที่ลูกค้าจะได้รับ เพื่อที่ธุรกิจจะสามารถให้บริการลูกค้าได้ อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
  • 15. 2. ระบบสารสนเทศสาหรับการวิจัยตลาด สามารถแบ่งออกเป็นระบบย่อยตามหน้าที่ได้2 ระบบ ดังต่อไปนี้  ระบบสารสนเทศสาหรับการวิจัยลูกค้า การวิจัยลูกค้าจะต่างกับการวิเคราะห์ลูกค้าตรงที่ว่า การวิจัยลูกค้าจะมีขอบเขตของการใช้สารสนเทศกว้างกว่าการวิเคราะห์ลูกค้า โดยการวิจัย ลูกค้าจะต้องการทราบสารสนเทศที่เกี่ยวกับลูกค้าในด้านสถานะทางการเงิน การดาเนินธุรกิจ ความพอใจ รสนิยมและพฤติกรรมการบริโภค  ระบบสารสนเทศสาหรับการวิจัยตลาด การวิจัยตลาดจะให้ความสาคัญกับการหาขนาดของ ตลาดของแต่ละผลิตภัณฑ์ที่จะนาออกจาหน่าย ซึ่งอาจครอบคลุมทั้งในระยะสั้นและระยะยาว หลังจากนั้นก็จะกาหนดส่วนแบ่งตลาดของผลิตภัณฑ์เพื่อทาการวางแผน กาหนดเป้าหมาย กาหนดกลยุทธ์และวางแผนกลยุทธ์ สารสนเทศที่เป็นที่ต้องการของการวิจัยตลาดคือสภาวะ และแนวโน้มทางเศรษฐกิจ ยอดขายในอดีตของอุตสาหกรรมหรือผลิตภัณฑ์ชนิดเดียวกันใน ตลาด รวมทั้งสภาวะการแข่งขันของผลิตภัณฑ์นี้ด้วย  ระบบสารสนเทศสาหรับการส่งเสริมการขาย เป็นระบบที่ให้ความสาคัญกับแผนงาน ทางด้านการโฆษณาและส่งเสริมการขาย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการขาย เพิ่ม ยอดขายสินค้า และเพิ่มส่วนแบ่งการตลาดให้สูงขึ้น สารสนเทศที่เป็นที่ต้องการคือยอดขาย ของสินค้าทุกชนิดในบริษัท เพื่อให้รู้ว่าสินค้าใด 3. ระบบสารสนเทศสาหรับการส่งเสริมการขาย เป็นระบบที่ให้ความสาคัญกับแผนงานทางด้านการโฆษณา และส่งเสริมการขาย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการขาย เพิ่มยอดขายสินค้า และเพิ่มส่วนแบ่งการตลาด ให้สูงขึ้น สารสนเทศที่เป็นที่ต้องการคือยอดขายของสินค้าทุกชนิดในบริษัท เพื่อให้รู้ว่าสินค้าใดต้องการ แผนการส่งเสริมการขาย และสารสนเทศที่เกี่ยวกับผลกาไรหรือขาดทุนของสินค้าแต่ละชนิด เพื่อให้ ความสาคัญกับสินค้าตัวที่ทากาไร 4. ระบบสารสนเทศสาหรับการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ เป็นระบบสารสนเทศที่วิเคราะห์ถึงความเป็นไป ได้ของผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ลักษณะและความต้องการของลูกค้าต่อผลิตภัณฑ์ใหม่ หรือผลิตภัณฑ์ที่เป็นที่ ต้องการของลูกค้าแต่ยังไม่มีตลาด โดยสารสนเทศที่เป็นที่ต้องการของระบบได้แก่ ยอดขายของผลิตภัณฑ์ ประเภทเดียวกันในอดีต เพื่อให้ทราบถึงขนาดและลักษณะของตลาด และการประมาณการต้นทุน เพื่อตอบ คาถามให้ได้ว่าสมควรที่จะออกผลิตภัณฑ์ใหม่หรือไม่
  • 16. 5. ระบบสารสนเทศสาหรับพยากรณ์การขาย เป็นระบบที่ใช้ในการวางแผนการขาย แผนการทากาไรจาก สินค้าหรือบริการในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งของบริษัท ซึ่งจะส่งผลไปถึงการวางแผนการผลิต การวางกาลังคน และงบประมาณที่จะใช้เกี่ยวกับการขาย โดยสารสนเทศที่เป็นที่ต้องการคือ ยอดขายในอดีต สถานะของคู่ แข่งขัน สภาวการณ์ของตลาด และแผนการโฆษณา 8. ระบบสารสนเทศสาหรับการควบคุมค่าใช้จ่าย บุคคลที่เป็นผู้ควบคุมค่าใช้จ่ายสามารถควบคุมได้โดยดูจาก รายงานของผลการทากาไรกับค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริงหรือสาเหตุของการคลาดเคลื่อนของค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย ที่เกี่ยวกับการขายรวมถึงค่าใช้จ่ายต่าง ๆ เช่น เงินเดือน ค่าโฆษณา ค่าส่วนแบ่งการขาย เป็นต้นปัจจุบัน เทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีส่วนสาคัญต่อการดาเนินธุรกิจ โดยเฉพาะการขยายโอกาสและเปลี่ยนแปลง รูปแบบทางการค้า ซึ่งทาให้นักการตลาดสมัยใหม่ต้องสามารถประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อก่อให้เกิด โอกาสและสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันแก่องค์การ ซึ่งจะส่งผลต่อความก้าวหน้าในอาชีพของตน 6. ระบบสารสนเทศสาหรับการวางแผนกาไร เป็นระบบสารสนเทศที่ให้ความสาคัญกับการวางแผนทากาไร ทั้งในระยะสั้นและระยะยาวของธุรกิจ โดยสารสนเทศที่เป็นที่ต้องการคือสารสนเทศจากการวิจัยตลาด ยอดขายในอดีต สารสนเทศของคู่แข่งขัน การพยากรณ์การขาย และการโฆษณา 7. ระบบสารสนเทศสาหรับการกาหนดราคา การกาหนดราคาของสินค้านับว่าเป็นจิตวิทยาอย่างหนึ่งทาง การตลาด เพราะต้องคานึงถึงความต้องการของลูกค้า คู่แข่งขัน กาลังซื้อของลูกค้า โดยปกติแล้วราคาสินค้า จะตั้งจากราคาต้นทุนรวมกับร้อยละของกาไรที่ต้องการ โดยสารสนเทศที่ต้องการได้แก่ ตัวเลขกาไรของ ผลิตภัณฑ์ในอดีต เพื่อทาการปรับปรุงราคาให้ได้สัดส่วนของกาไรคงเดิม ในกรณีที่ต้นทุนมีการเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยีสารสนเทศด้านพัฒนาสังคม เทคโนโลยีสารสนเทศ จัดว่ามีบทบาทสาคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศของทุกประเทศก็ว่าได้ไม่ว่าจะเป็นประเทศที่ พัฒนาแล้ว หรือประเทศที่กาลังพัฒนา เพราะแม้ว่าเทคโนโลยีนี้จะยังไม่มีบทบาทโดดเด่นในการพัฒนาด้านอุตสาหกรรม และการค้าในกลุ่มประเทศที่กาลังพัฒนาทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม แต่ก็มีความสาคัญอย่างยิ่งยวดในด้านการพัฒนา สังคมและคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในด้านการจัดให้บริการสังคมพื้นฐาน (การศึกษา และการ สาธารณสุข ฯลฯ) ในการบริหารประเทศ และในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน ในปัจจุบัน อุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศได้กลายเป็นอุตสาหกรรมการผลิตที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก มีการประมาณการว่า ตลาดโลกสาหรับอุปกรณ์ ทั้งฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ โทรคมนาคม และผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ จะมีขนาด 1,600 พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 1994 ด้วยอัตราการเติบโตเฉลี่ยถึงร้อยละ 20 ต่อปี
  • 17. การลงทุนในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทาให้เกิดศักยภาพในการแข่งขัน จึงย่อมส่งผลทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อ เศรษฐกิจของนานาประเทศ จากผลการศึกษาใน 11 ประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ซึ่งมีทั้งประเทศที่ถือว่าพัฒนาแล้ว พัฒนาใหม่ และกาลังพัฒนา เทคโนโลยีสารสนเทศจะมีผลกระทบต่อสังคมมากน้อยเพียงใด ย่อมขึ้นอยู่กับว่ามนุษย์จะเลือกใช้มันอย่างไร ในโลก ปัจจุบันแรงผลักดันทางเศรษฐกิจมักจะมีบทบาทสูงในการกาหนดทิศทางของเทคโนโลยีเป็นที่ทราบกันดีว่าเทคโนโลยี การสื่อสารทั้งในอดีตและปัจจุบันได้เปลี่ยนโฉมไปอย่างมาก ในอนาคตธุรกิจ บันเทิงจะเป็นธุรกิจอีกประเภทหนึ่งที่จะทาเงินให้แก่ผู้ประกอบการทางด้านการสื่อสารโทรคมนาคม เนื่องจากเป็น ธุรกิจที่มีอิทธิพลอย่างสูงกับแนวความคิด ความอ่านของผู้คนในสังคม เพราะเป็นวิถีทางหนึ่งที่ผู้ร่วมบันเทิงได้รับ อิทธิพลทางความคิดจากผู้อื่นที่ร่วมอยู่ในวงบันเทิง และยอมรับสถานภาพว่าตนก็เป็นส่วนหนึ่งของสังคมนั้นๆ การ ถ่ายทอดแนวความคิดระหว่างบุคคลในสังคมนั้นก็เป็นสิ่งที่เราเรียกว่า วัฒนธรรมนั่นเอง
  • 18. บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อด้านศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา หมายถึง การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับงาน ด้านการศึกษา อันได้แก่ การจัดเก็บข้อมูล และประมวลผลฐานข้อมูล การพัฒนาระบบสารสนเทศช่วย การเรียนการสอน การวางแผนและการบริหารการศึกษา การวางแผนหลักสูตร การแนะแนวและ บริการ การทดสอบวัดผล การพัฒนาบุคลากร ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทต่อการศึกษาเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะ เทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ และการสื่อสารโทรคมนาคม บทบาทที่สาคัญของเทคโนโลยีต่อการ พัฒนาการศึกษา 1. เทคโนโลยีที่เข้ามามีส่วนช่วยในเรื่องการเรียนรู้ ปัจจุบันมีเครื่องมือเครื่องใช้ที่ช่วยสนับสนุนการเรียนรู้หลายอย่าง เช่น ระบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน , ระบบมัลติมีเดีย, ระบบวิดีโอออนดีมานด์, วิดีโอเทเลคอนเฟอเรนซ์ และอินเตอร์เน็ต (Internet) เป็นต้น ระบบ เหล่านี้เป็นระบบสนับสนุนการรับรู้ข่าวสารและการค้นหาข้อมูลข่าวสารเพื่อการเรียนรู้
  • 19. 2. เทคโนโลยีที่เข้ามาช่วยให้การสื่อสารระหว่างบุคคล เกือบทุกวงการทั้งทางด้านการศึกษาจาเป็นต้องอาศัยการสื่อสารระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ผู้เรียนกับ ผู้เรียน ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการเรียนการสอน และการดาเนินงานในหลายด้าน ทั้งนี้โดย อาศัยเทคโนโลยีการสื่อสาร การดาเนินงานและเทคโนโลยีการสื่อสารระหว่างบุคคล เช่น การใช้โทรศัพท์ โทรสาร เทเลคอนเฟอเรนส์ และไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น 3. เทคโนโลยีที่เข้ามาสนับสนุนการจัดการศึกษา ในการจัดการศึกษาสมัยใหม่จาเป็ นต้องอาศัยข้อมูลข่าวสารเพื่อการวางแผนการดาเนินการ การติดตามประเมินผลคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารโทรคมนาคม ประโยชน์อย่างหนึ่งของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศควบคู่ไปกับการเรียนรู้ในห้องเรียนแบบเดิม คือ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยการสนับสนุนให้ผู้เรียน ได้รับการเรียนรู้แบบมีการ โต้ตอบ และเป็นแบบเห็นจริง อันจะเอื้ออานวยให้เข้าใจแนวความคิดที่ซับซ้อน และได้รับข้อมูลความรู้อย่าง ถูกต้องมากกว่าการนั่งฟังบรรยายเพียงอย่างเดียว เนื่องจากว่าการศึกษาในหลาย สาขาวิชานั้นต้องการการอบรม ที่ให้เห็นเสมือนเป็นการทางานจริง คือมีการโต้ตอบ และแสดงผลโดยภาพกราฟิกที่มีคุณภาพดี หรือ ภาพเคลื่อนไหว รวมถึงการมีแบบทดสอบ เพื่อวัดความรู้ของตนเอง ระบบการเรียนการสอนแบบ e-learning เป็นส่วนหนึ่งของการนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ใน กระบวนการจัดการเรียนการสอนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ซึ่งอาจเป็นได้ ทั้งสื่อแบบ offline, online หรือ web- based หรือแม้แต่ผ่านเครื่องใช้ไฟฟ้าหลายๆชนิด เช่นโทรทัศน์, วิทยุ, เทป, ซีดีรอม หรือแม้แต่โทรศัพท์มือถือ ที่ ต่อเชื่อมกับอินเตอร์เน็ตได้ รวมถึงการติดต่อผ่านระบบดาวเทียม ที่ไม่ได้มีการพิมพ์ออกมาเป็นหนังสือ ทาให้ การปรับปรุงแก้ไขทาได้โดยสะดวกและรวดเร็ว ดังนั้น จึงอาจกล่าวได้ว่า การจัดการเรียนการสอนด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นการจัด การศึกษาที่เป็นการศึกษาตลอดชีวิต นั่นคือ การจัดการศึกษาในภาพรวมทั้งหมดที่เกิดจากการผสมผสาน ระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ที่จัดให้แก่บุคคลทุกช่วงอายุตั้งแต่ เกิดจนตาย เพื่อมุ่งพัฒนาบุคคลอย่างเต็มศักยภาพให้มีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์อย่างเพียงพอต่อการ ดารงชีวิต การประกอบอาชีพและการปรับตัวเข้ากับสภาพสังคมสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปได้อย่างเหมาะสม ในทุกช่วงชีวิต
  • 20.  ประโยชน์หลักของเครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา 1. โดยผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ ภาพที่ถูกเก็บไว้สามารถเรียกมาใช้ในการสอนอย่างง่ายดายและเพิ่ม หน่วยความจาของนักเรียน 2. โดยผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ ครูสามารถอธิบายขั้นตอนที่ซับซ้อนและมั่นใจในความเข้าใจของ นักเรียน 3. โดยผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ ครูสามารถสร้างชั้นเรียนให้โต้ตอบกันได้ทาให้บทเรียนสนุกสนานมาก ขึ้น ซึ่งสามารถเพิ่มการเข้าเรียนของนักเรียนและความเอาใจใส่  ข้อเสียเปรียบหลักของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา 1. การติดตั้งเครื่องอาจเป็นการลาบาก 2. เครื่องมีราคาแพงเกินไป 3. ยากสาหรับครูที่ขาดประสบการณ์การใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสื่อสารและโทรคมนาคม ใช้ในการติดต่อสื่อสารรับ/ส่งข้อมูลจากที่ไกล ๆ เป็นการส่งของ ข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์หรือเครื่องมือที่อยู่ห่างไกลกัน ซึ่งจะช่วยให้การเผยแพร่ข้อมูลหรือสารสนเทศไป ยังผู้ใช้ในแหล่งต่าง ๆ เป็นไปอย่างสะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วน และทันการณ์ ซึ่งรูปแบบของข้อมูลที่ รับ/ส่งอาจเป็นตัวเลข (Numeric Data) ตัวอักษร (Text) ภาพ (Image) และเสียง (Voice) บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อด้านการสื่อสารโทรคมนาคม F
  • 21. เทคโนโลยีที่ใช้ในการสื่อสารหรือเผยแพร่สารสนเทศ ได้แก่ เทคโนโลยีที่ใช้ในระบบโทรคมนาคมทั้ง ชนิดมีสายและไร้สาย เช่น ระบบโทรศัพท์, โมเด็ม, แฟกซ์, โทรเลข, วิทยุกระจายเสียง, วิทยุโทรทัศน์ เคเบิ้ลใย แก้วนาแสง คลื่นไมโครเวฟ และดาวเทียม เป็นต้น สาหรับกลไกหลักของการสื่อสารโทรคมนาคมมีองค์ประกอบพื้นฐาน 3 ส่วน ได้แก่ ต้นแหล่งของ ข้อความ (Source/Sender), สื่อกลางสาหรับการรับ/ส่งข้อความ (Medium), และส่วนรับข้อความ (Sink/Decoder) ดังแผนภาพต่อไปนี้ คือ แผนภาพแสดงกลไกหลักของการสื่อสารโทรคมนาคม เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถจาแนกตามลักษณะการใช้งานได้เป็น 6 รูปแบบ ดังนี้ต่อไปนี้ คือ 1. เทคโนโลยีที่ใช้ในการเก็บข้อมูล เช่น ดาวเทียมถ่ายภาพทางอากาศ, กล้องดิจิทัล, กล้องถ่ายวีดีทัศน์, เครื่องเอกซเรย์ฯลฯ 2. เทคโนโลยีที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล จะเป็นสื่อบันทึกข้อมูลต่าง ๆ เช่น เทปแม่เหล็ก, จานแม่เหล็ก, จานแสงหรือจานเลเซอร์, บัตรเอทีเอ็ม ฯลฯ 3. เทคโนโลยีที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูล ได้แก่ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ทั้งฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ 4. เทคโนโลยีที่ใช้ในการแสดงผลข้อมูล เช่น เครื่องพิมพ์, จอภาพ, พลอตเตอร์ ฯลฯ 5. เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดทาสาเนาเอกสาร เช่น เครื่องถ่ายเอกสาร, เครื่องถ่ายไมโครฟิล์ม 6. เทคโนโลยีสาหรับถ่ายทอดหรือสื่อสารข้อมูล ได้แก่ ระบบโทรคมนาคมต่าง ๆ เช่น โทรทัศน์, วิทยุกระจายเสียง, โทรเลข, เทเล็กซ์ และระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั้งระยะใกล้และไกล
  • 22.  ลักษณะของข้อมูลหรือสารสนเทศที่ส่งผ่านระบบคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร ดังนี้ ข้อมูลหรือสารสนเทศที่ใช้กันอยู่ทั่วไปในระบบสื่อสาร เช่น ระบบโทรศัพท์ จะมีลักษณะของสัญญาณ เป็นคลื่นแบบต่อเนื่องที่เราเรียกว่า "สัญญาณอนาลอก" แต่ในระบบคอมพิวเตอร์จะแตกต่างไป เพราะระบบ คอมพิวเตอร์ใช้ระบบสัญญาณไฟฟ้าสูงต่าสลับกัน เป็นสัญญาณที่ไม่ต่อเนื่อง เรียกว่า "สัญญาณดิจิตอล" ซึ่ง ข้อมูลเหล่านั้นจะส่งผ่านสายโทรศัพท์ เมื่อเราต้องการส่งข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังเครื่องอื่น ๆ ผ่านระบบโทรศัพท์ ก็ต้องอาศัยอุปกรณ์ช่วยแปลงสัญญาณเสมอ ซึ่งมีชื่อเรียกว่า "โมเด็ม" (Modem) บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อด้านสาธารณสุข ปัจจุบันได้มีการนาเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้งานในด้านสาธารณสุขอย่างมากมาย นับเป็นเวลา กว่า 10 ปี ที่งานด้านนี้ ได้วิวัฒนาการมามีบทบาทโดยเริ่มจากการใช้งานในลักษณะของการประมวลผลสถิติ ต่าง ๆ มาจนถึงการ ON LINE ระบบคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะในช่วงระหว่างปี 2537 - 2538 พบว่ามีการ เปลี่ยนแปลงในด้านนี้อย่างมาก มีการลงทุนทางด้านคอมพิวเตอร์และพัฒนาบุคลากรต่าง ๆ ให้มีความรู้ ทางด้านนี้มากขึ้น
  • 23. การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชนทุกส่วน ของประเทศ แม้แต่ในส่วนภูมิภาคที่งบประมาณในการสนับสนุนทางด้านนี้ยังไม่เพียงพอ บุคลากรในท้องถิ่นนั้นก็ ได้พยายามที่จะนาระบบนี้ เข้ามาช่วยในการบริการสาธารณสุขในหลากหลายวิธี แต่ถึงกระนั้นก็ตาม การพัฒนา ระบบบริการสาธารณสุขในอนาคตบนความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศได้ ตั้งอยู่บนพื้นฐานของ 8 องค์ประกอบ ที่สาคัญ คือ 1. บริการโรงพยาบาลระบบอัตโนมัติสาหรับอนาคต ช่วยเพิ่มความสะดวก และคุณภาพบริการ ทาให้ผู้ป่วยไม่ต้องเสียเวลานานในขั้นตอนต่าง ๆ อีกทั้งในบาง โรงพยาบาลสามารถบันทึกประวัติการเจ็บป่วยไว้ในบัตรคอมพิวเตอร์เก็บไว้ประจาตัวผู้ป่วยได้ 2. ระบบทะเบียน เพื่อส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ทะเบียนแผนที่ (Family Folder) สามารถบอกรายละเอียดในแต่ละพื้นที่ ช่วยให้เจ้าหน้าที่สามารถวางแผน ออกไปให้บริการได้อย่างถูกต้อง 3. ระบบการให้คาปรึกษาทางไกลทางการแพทย์ (Telemedicine) ช่วยให้การส่งข้อมูลทั้งที่เป็นเอกสารหรือภาพเพื่อประกอบการพิจารณาของแพทย์ได้ดียิ่งขึ้น 4. ระบบควบคุมโรคติดต่อ เนื่องจากสามารถรวบรวมและประมวลผลแจ้งข่าวไปยังที่ต่าง ๆ ได้รวดเร็วยิ่งขึ้น ไม่ต้องเสียเวลารอ รายงานทางไปรษณีย์
  • 24. 5. การให้ความรู้หรือการเรียนการสอนทางไกล การสื่อสารผ่านดาวเทียม สามารถช่วยให้การเรียนการสอนทางไกลเป็นไปได้มากขึ้นและยังเปิดโอกาส ให้ ผู้เรียนซึ่งอยู่ห่างไกลโต้ตอบ ถามคาถามมายังผู้สอนได้อีกด้วย 6. การบริหารจัดการสถานบริการต่าง ๆ เนื่องจากผ่อนภาระเจ้าหน้าที่ในฝ่ายต่าง ๆ ไม่ต้องเสียเวลาไปกับการทารายงานและเอกสารต่างๆ ทาให้มี เวลาในการให้บริการประชาชนมากขึ้น 7. การกาหนดนโยบายและการกากับการดาเนินงานตามนโยบาย ข้อมูลที่ถูกต้องฉับไวทันต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างครบถ้วน สามารถนามาช่วยในการ ตัดสินใจของผู้บริหารได้เป็นอย่างดี 8. การให้ความรู้แก่ประชาชนทั่วไป เนื่องจากสามารถนาเทคโนโลยีต่าง ๆ มาสร้างข้อความหรือสื่อต่าง ๆ ที่น่าสนใจในการให้ความรู้แก่ ประชาชน โดยไม่ต้องรอให้มีการส่งมาจากส่วนกลาง ซึ่งสามารถปรับหรือใส่เนื้อหาที่สอดคล้องกับปัญหา ใน ท้องที่ได้จะเห็นได้ว่าเทคโนโลยีสารสนเทศมีประโยชน์ในด้านงานบริการสาธารณสุขอย่างมาก ซึ่งจะเป็นการ พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในประเทศต่อไปในอนาคต นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศไทย เมื่อ 19 มีนาคม พ.ศ. 2545 คณะรัฐมนตรีได้เห็นชอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ ระยะ พ.ศ.2544 – 2553 ของประเทศไทยได้เสนอเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ และความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์กับการพัฒนา ประเทศไทยให้เป็นสังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้เพื่อใช้และสร้างภูมิปัญญาของคนไทยที่จะทาให้ประเทศ ไทยมีความแข็งแกร่งและความสามารถเพื่อใช้และสร้างภูมิปัญญาของคนไทยที่จะทาให้ประเทศไทยมีความ แข็งแกร่งและความสามารถที่จะรับการท้าทายของการแข่งขันในระบบเศรษฐกิจใหม่ของสังคมโลกาภิวัฒน์ได้ อย่างเต็มที่
  • 25.  กรอบนโยบายมี 3 เรื่อง คือ 1. ความท้าทายในยุคโลกาภิวัฒน์ 2. สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ 3. ประเทศไทยในทศวรรษแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 21 นโยบายฯ นี้มีสาระโดยรวมว่า เทคโนโลยีใหม่ที่รวมคอมพิวเตอร์ สารสนเทศ และการสื่อสาร (โทรคมนาคม) เรียกว่า เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communications Technology หรือ ICT) ได้ก่อให้เกิดกิจรรมใหม่ๆ ในทางเศรษฐกิจและสังคมอันส่งผลต่อการดารงอยู่และการพัฒนาของประเทศต่างๆ ในโลกที่แตกต่างจากอดีตอย่างมาก จนเป็นที่ยอมรับกันว่าในศตวรรษที่ 21 (เริ่มจาก ค.ศ. 2001 หรือ พ.ศ. 2544 เป็น ต้นไป) จะเกิดเศรษฐกิจใหม่ที่เรียกว่า เศรษฐกิจแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ (Knowledge – based Learning Economy) และจะมีผลทาให้ประเทศไทยซึ่งมีทรัพยากรบุคคล อันมีความรู้เป็นพื้นฐานสามารถจะพัฒนาล้าหน้า ประเทศอื่นๆ ที่ด้อยในส่วนนี้อย่างมาก  กรอบนโยบายนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะทาให้ประเทศไทยบรรลุเป้าหมายสาคัญ 3 ประการ คือ 1. เพิ่มขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือพัฒนาประเทศ โดยมีเป้าหมายในการเลื่อนสถานภาพ ของประเทศไทยจากประเทศ ในกลุ่มผู้ตามมีพลวัต (dynamic adopters) อันดับต้นๆ ไปสู่ประเทศ ในกลุ่มประเทศที่มี ศักยภาพเป็นผู้นา (potential leaders) อันดับต้นๆ โดยใช้ดัชนีผลสัมฤทธิ์ทางเทคโนโลยีของสานักงานโครงการ พัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) เป็นเครื่องมือประเมินวัด 2. เพิ่มจานวนแรงงานความรู้ของประเทศ จากประมาณร้อยละ 12 ของแรงงานทั้งหมดให้เป็นร้อยละ 30 ซึ่งเท่ากับค่าเฉลี่ยของแรงงานความรู้ของกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว (OECD) ใน พ.ศ. 2544 ตามสถิติขององค์การ แรงงานระหว่างประเทศ (ILO) 3. พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ โดยเพิ่มสัดส่วนของมูลค่าอุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับการใช้ความรู้เป็นพื้นฐาน ให้มีมูลค่าถึงร้อยละ 50 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (GDP) จากวิสัยทัศน์และนโยบายดังกล่าว นาไปสู่การกาหนดกลยุทธ์การพัฒนาโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่สาคัญไว้ 5 กลุ่ม คือ 1. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาด้านภาครัฐ (e – Government) 2. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาด้านพาณิชย์ (e – Commerce) 3. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาด้านอุตสาหกรรม (e – Industry) 4. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาด้านการศึกษา (e – Education) 5. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาด้านสังคม (e – Society)
  • 26.  เป้าหมายและยุทธศาสตร์การพัฒนาใน นโยบาย IT 2010 ด้านภาครัฐ (e – Govemment) มีเป้าหมายในการนา ICT มาพัฒนาและปรับปรุงระบบงานบริหารที่สาคัญทุกประเภทของส่วนงาน ของรัฐ ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด ภายใน พ.ศ. 2547 และพัฒนาบริการที่ให้แก่สาธารณชนให้ได้ครบทุกขั้นตอน ใน พ.ศง 2553 ด้านพาณิชย์ (e – Cbommerce) มีเป้าหมายมุ่งสร้างประโยชน์โดยรวมในกิจการพาณิชย์ของประเทศ ทั้งในความสามารถในการ แข่งขันของคนไทย และการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์สาหรับธุรกิจส่งออก การค้าและบริการ ด้านอุตสาหกรรม (e – Industry) มีเป้าหมายในการส่งเสริมและพัฒนาการใช้และการผลิตอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศของ ภาคเอกชน เพื่อให้เกิดอุตสาหกรรมการผลิตที่ใช้ความรู้เป็นทรัพยากรสาคัญ ใน พ.ศ. 2553 ด้านสังคม (e – Society) มีเป้าหมายที่จะลดความเหลื่อมล้าของสังคม อันเป็นผลเนื่องมาจากความเหลื่อมล้าในการเข้าถึง สารสนเทศและความรู้ ซึ่งหมายถึงการพัฒนาให้คุณภาพชีวิตของประชาชนทั่วไปดีขึ้น ด้านการศึกษา (e – Education) มีเป้าหมายในการสร้างความพร้อมของทรัพยากรมนุษย์ทั้งหมดของประเทศ เพื่อช่วยกันพัฒนาให้ เกิดสังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ
  • 27. - เ ที่มา - http://5332011101.blogspot.com - http:// www.baanjomyut.com - http://blog.eduzones.com - http://www.gotoknow.org - http:// www.gpo.or.th - http://www.kmitl.ac.th - http://kanokwanusaka.exteen.com - http://www.thaigoodview.com - http://www.thaigoodview.com - http://std.eng.src.ku.ac.th