SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร
1.1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
• เทคโนโลยี( Technology ) หมายถึง การนาความรู้ด้านวิทยาศาสตร์มา
ประยุกต์ในการพัฒนาเครื่องมือ เครื่องใช้อุปกรณ์ วิธีการและกระบวนการ
• สารสนเทศ( Information ) หมายถึง ผลลัพธ์ที่เกดจากการนาข้อมูลมา
ผ่านกระบวนการต่างๆ อย่างมีระบบ
• เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การนาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มา
ประยุกต์ใช้เพื่อสร้างหรือจัดการสารสนเทศ อย่างเป็นระบบและรวดเร็ว
โดยอาศัยเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์
• เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตามแผ่นแม่บท เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสารประเทศไทย พ.ศ. 2545-2549 หมายถึง เทคโนโลยีเกี่ยวข้อง
กับข่าวสารข้อมูล และการสื่อสารนับตั้งแต่การสร้าง การนามาวิเคราะห์หรือ
การประมวลผล
1.2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
• ระบบสารสนเทศ เป็นระบบที่ช่วยเสริมประสิทธิภาพการทางานโดยใช่
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระบบสารสนเทศประกอบด้วย
1. ฮาร์ดแวร์ ( hardware ) หมายถึง ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อ
พ่วงต่างๆ เช่นคีย์บอร์ด( keyboand ) เมาส์ ( mouse ) จอภาพ
( monitor ) เป็นต้น รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสาหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์
เข้าเป็นเครือข่าย เช่น โมเด็ม ( modem ) และ สายสัญญาณ
2. ชอฟต์แวร์ ( soflware ) หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคาสั่ง
( instruction ) ที่ใช่ควบคุมการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
ต่อพ่วงต่างๆ ชุดคาสั่งจะถูกแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ
- ซอฟต์แวร์ระบบ ( system software ) หมายถึง ชุดคาสั่งที่ทาหน้าที่
ควบคุมการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อ พ่วงต่างๆ และทา
หน้าที่เป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ระบบแบ่ง
ออกเป็น
1) ระบบปฏิบัติการ ( Operating System: OS ) เป็นซอฟต์แวร์ที่ทาหน้าที่
ควบคุมการทางานของอุปกรณ์และซอฟต์แวร์ทั้งหมดภายใน คอมพิวเตอร์ ตัวอย่าง
ระบบปฏิบัติการ เช่น วินโดวส์( Windowns ) ลินุกซ์ ( Linux ) และ แมคโอ
เอส ( Mac OS)
2)โปรแกรมอรรถประโยชน์ ( utilities program ) เป็นโปรแกรมที่ช่วยเสริม
การทางานของคอมพิวเตอร์ หรือช่วยเสริมการทางานอื่นๆให้มีความสามารถใช่วาน
ได้สะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น
3) โปรแกรมขับอุปกรณ์ หรือดีไวซ์ไดร์ฟเวอร์ ( device driver ) เป็น
โปรแกรมที่ช่วยในการติดตั้งระบบเพื่อให้คอมพิวเตอรืสามารถติดต่อหรือใช่งาน
อุปกรณ์ต่าง
4) โปรแกรมแปลภาษา เป็นโปรแกรมที่ทาหน้าที่แปลโปรแกรมที่เขียนขึ้นด้วย
ภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงให้ เป็นรหัสที่อยู่ในรูปแบบที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถ
ทางานได้ตัวอย่างตัวแปล ภาษา เช่น ตัวแปลภาษาจาวา ตัวแปลภาษาซี
- ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (application software) หมายถึง ชุดคาสั่งที่เขียนขึ้น
เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานตามวัตถุประสงค์เฉพาะ อย่าง ซอฟต์แวร์
ประยุกต์อาจเขียนขึ้นโดยใช้โปรแกรม ภาษาคอมพิวเตอร์ เช่น เบสิก (Basic)
ปาสคาล (Pascal) โคบอล (Cobol) ซี (C) ซีพลัสพลัส (C++) และจาวา
(Java) ซอฟต์แวร์ประยุกต์แบ่งตามกลุ่มการ
1) ข้อมูล (data) ข้อมูล จะถูกรวบรวมและป้อนเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์โดยผ่าน
อุปกรณ์ของหน่วยรับเข้า เช่น คีย์บอร์ด เมาส์ และสแกนเนอร์ (scanner) ข้อมูลต้อง
มีโครงสร้างในการจัดเก็บที่เป็นระบบเพื่อการสืบค้นที่รวดเร็วและ มีประสิทธิภาพ
ข้อมูลจะถูกจัดเก็บอยู่ในหน่วยความจา (memory unit) ก่อนที่จะถูกย้ายไปเก็บที่
หน่วยเก็บข้อมูล (storage unit) เช่น ฮาร์ดดิสก์ และแผ่นซีดี (Compact
Disc: CD)
2) บุคลากร (people) บุคลากรเป็นองค์ประกอบที่สาคัญที่สุดของระบบสารสนเทศ
ในที่นี้หมายถึงบุคลากรที่เป็นผู้ใช้ระบบสารสนเทศ จะต้องมีความรู้ความสามารถใน
การพัฒนาระบบสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพให้สามารถ ทางานได้ตามความต้องการ
ของผู้ใช้ใช้ง่ายและสะดวก ส่วนผู้ใช้ต้องมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความสามารถใน
การใช้งานระบบสารสนเทศและการสื่อสารต่างๆ ได้อย่างถูกต้องจึงจะเกิดสารสนเทศ
ที่เป็นประโยชน์
3) ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (procedure) ระบบสารสนเทศต้องมีขั้นตอนการ
ปฏิบัติงานที่เป็นลาดับขั้นชัดเจน เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเข้าใจได้ง่าย และดาเนินงานได้
อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในสถานการณ์ปกติและสถานการณ์ฉุกเฉิน เช่น ขั้นตอนการ
บันทึกข้อมูล ขั้นตอนการทาสาเนาข้อมูล ขั้นตอนการปฏิบัติเมื่อข้อมูลได้รับความ
เสียหาย หรือเมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่างๆ เกิดการชารุดเสียหาย ขั้นตอน
ต่างๆ เหล่านี้ควรได้รับการรวบรวมและจัดทาให้เป็นรูปเล่ม
1.3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร
1. ด้านการศึกษา เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารถูกนามาใช้เพื่ออานวย
ความสะดวกในการบริหารด้านการ บริหารด้านการศึกษา เช่น ระบบการ
ลงทะเบียน และระบบการจัดตารางสอน นอกจากนี้ยังใช้เป็นเครื่องมือในการเพิ่ม
โอกาสทางด้านการศึกษาและเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอน
2. ด้านการแพทย์และสาธารณสุข เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารถูก
นามาใช้เริ่มตั้งแต่การทาทะเบียนคนไข้การรักษาพยาบาลทั่วไป ตลอดจนการ
วินิจฉัยและรักษาโรคต่างๆได้อย่างรวดเร็วและแม่นยา นอกจากนี้ยังใช้ใน
ห้องทดลอง การศึกษาและการวิจัยทางการแพทย์งานศึกษาโมเลกุลสารเคมี
สามารถค้นคว้าข้อมูลทางการแพทย์รักษาคนไข้ด้วยระบบการรักษาทางไกล
ตลอดเวลาผ่านเครือข่ายการสื่อสาร เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า อีเอ็มไอ
สแกนเนอร์ (EMI scanner) ถูกนามาถ่ายภาพสมองมนุษย์เพื่อตรวจหาความ
ผิดปกติในสมอง
3. ด้านการเกษตรและอุตสาหกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูก
นามาใช้ประโยชน์ในด้านเกษตรกรรม เช่น การจัดทาระบบข้อมูลเพื่อการเกษตร
และพยากรณ์ผลผลิตด้านการเกษตร นอกจากนี้ยังช่วยพัฒนาความก้าวหน้า
ทางด้านอุตสาหกรรม การประดิษฐ์หุ่นยนต์เพื่อใช้ทางานบ้าน และหุ่นยนต์เพื่อ
งานอุตสาหกรรมที่ต้องเสี่ยงภัยและเป็นอันตรายต่อสุขภาพ เฃ่น โรงงานสารเคมี
โรงผลิตและการจ่ายไฟฟ้า รวมถึงงานที่ต้องทาซ้าๆ
4. ด้านการเงินธนาคาร เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารถูกนามาใช้ในด้าน
การเงินและการธนาคาร โดยใช้ช่วยด้านการบัญชี การฝากถอนเงิน โอนเงิน
บริการสินเชื่อ และเปลี่ยนเงินตรา บริการข่าวสารธนาคาร การใช้คอมพิวเตอร์
ด้านการเงินการธนาคารที่รู้จักและนิยมใช้กันทั่วไป เช่น บริการฝากถอนเงิน การ
โอนเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์
5. ด้านความมั่นคง มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกันอย่าง
แพร่หลาย เช่น ใช้ในการควบคุมประสานงานวงจรสื่อสารทหาร การแปลรหัส
ลับในงานจารกรรมระหว่างประเทศ การส่งดาวเทียมและการคานวณวิถีโคจร
ของจรวดไปสู่อวกาศ สานักงานตารวจแห่งชาติของประเทศไทยมีศูนย์
ประมวลข่าวสาร มีระบบจัดทาทะเบียนปืน ทะเบียนประวัติอาชญากร ทาให้
เกิดความสะดวกและรวดเร็วในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสืบสวนคดีต่างๆ
6. ด้านการคมนาคม มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในส่วนที่
เกี่ยวกับการเดินทาง เช่น การเดินทางโดยรถไฟ มีการเชื่อมโยงข้อมูลการจองที่
นั่งไปยังทุกสถานี ทาให้สะดวกต่อผู้โดยสาร การเช็คอินของสายการบิน ได้
จัดทาเครื่องมือที่สะดวกต่อลูกค้า ในรูปแบบของการเช็คอินด้วยตนเอง
7. ด้านวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสารในการออกแบบ หรือจาลองสถานการณ์ต่างๆ เช่น การรับ
แรงสั่นสะเทือนของอาคารเมื่อเกิดแผ่นดินไหว โดยการคานวณและแสดงภาพ
สถานการณ์ใกล้เคียงความจริง
8. ด้านการพาณิชย์ องค์กร ในภาคธุรกิจใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารในการบริหารจัดการ เพื่อช่วยเพิ่มความยืดหยุ่น
ให้กับองค์กรในการทางาน ทาให้การประสานงานหรือการทากิจกรรมต่างๆ
ของแต่ละหน่วยงานในองค์กรหรือระหว่างองค์กรเป็นไปได้อย่างมี
ประสิทธิภาพมาก ขึ้น นอกจากนี้ยังสามารถใช้ปรับปรุงการให้บริการกับลูกค้า
ทั่วไป สิ่งเหล่านี้นับเป็นการสร้างโอกาสความได้เปรียบในการแข่งขันให้กับ
องค์กร
1.4 แนวโน้มการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
1. ด้านอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เมื่อ พิจารณาเครือข่ายการ
สื่อสารทั่วไปจากอดีตจนถึงปัจจุบัน เห็นได้ชัดว่ามนุษย์ใช้อุปกรณ์การสื่อสาร
แบบพกพามากขึ้นเรื่อยๆ เริ่มจากวิทยุเรียกตัว (pager)ซึ่งเป็นเครื่องรับ
ข้อความ มาเป็นถึงโทรศัพท์เคลื่อนที่ อุปกรณ์สื่สารชนิดนี้ได้ถูกพัฒนาจน
สามารถใช้งานด้านอื่นๆได้นอกจากการพูดคุยธรรมดา โทรศัพท์เคลื่อนที่รุ่น
ใหม่สามารถใช้ถ่ายรูป ฟังเพลง ฟังวิทยุดูโทรทัศน์ บันทึกข้อมูงสั้นๆ บางรุ่นมี
ลักษณะเป็นเครื่องช่วยงานส่วนบุคคล (PersonalDigital Assistant:
PDA) ซึ่งสามารถเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตได้อีกทั้งยังมีหน้าจอแบบสัมผัส ทา
ให้สะดวกต่อการใช้งานมากขึ้น บางรุ่นมีอุปกรณ์สไตลัส (stylus)
2. ด้านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบเครื่องข่ายคอมพิวเตอร์ในอดีตมักเป็น
ระบบที่ใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เชื่อม ต่อตรงโดยจุดเดียว (stand alone
ต่อมามีการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันภายในองค์กร เพื่อทาให้สามารถใช้
ข้อมูลร่วมกัน หรือใช้เครื่องพิมพ์ร่วมกัน จนเกิดเป็นระบบรับและให้บริการ หรือที่
เรียกว่าระบบรับ-ให้บริการ (client-server system) โดยมีเครื่องให้บริการ
(server) และเครื่องรับบริการ (client) การให้บริการบนเว็บก็นาหลักการของ
ระบบรับ-ให้บริการมาใช้ช่วยให้การทางาน ง่ายขึ้น สะดวก รวดเร็ว เพราะสามารถ
ทางานจากที่ใดก็ได้โดยผ่านระบบอินเตอร์เน็ต โดยมีเว็บเซอร์เวอร์
(web server) เป็นเครื่องให้บริการ
3. ด้านเทคโนโลยี ระบบ ทางานอัตโนมัติที่สามารถตัดสินใจได้เองจะเข้ามา
แทนที่มากขึ้น เช่น ระบบแนวนาเส้นทางจราจร ระบบจอดรถ ระบบตรวจหา
ตาแหน่งของวัตถุ ระบบควบคุมความปลอดภัยภายในอาคาร ระบบที่ทางาน
อัตโนมัติเช่นนี้ อาจกลายเป็นระบบหลักในการดาเนินการของหน่วยงานต่างๆ
โดยเข้ามาแทนที่การทางานของมนุษย์มีการเชื่อมต่ออย่างกว้างขวางไปยัง
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมากกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน
1.5 ความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร
1. ด้านสังคม สภาพ เสมือนจริง การใช้อินเตอร์เน็ตเชื่อมโยงการทางาน
ต่างๆ จนเกิดเป็นสังคมที่ติดต่อผ่านทางอินเตอร์เน็ต หรือที่รู้จักกีนว่า ไซ
เบอรฺ์สเปช (cyber space) ซึ่งมีกิจกรรมต่างๆ เช่นการพูด การชื้อสินค้า
และบริการ การทางานผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทาให้เกิดสภาพที่เสมือน
จริง(virtual) เช่น เกมส์เสมือนจริง ห้องเรียนเสมือนจริง ซึ่งทาให้ลดเวลา
ในการเดินทางและสามารถใช้งานได้ทุกที่ทุกเวลา
2. ด้านเศรษกิจ เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารส่งผลให้เกิดสังคมโลกาภิ
วัตน์(globalization) เพราะสามารถชมข่าว ชมรายการโทรทัศนที่ส่ง
กระจายผ่านดาวเทียมของประเทศต่างๆ ได้ทั่วโลก สามารถรับรู้ข่าวสารได้ทันที
ใช้อินเทอร์เน็ตในการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน ระบบเศรษกิจซึ่งแต่เดิมมีขอบเขต
จากัดภายในประเทศ ก็กระจายเป็นเศรษญกิจโลก เกิดกระแสการหมุนเวียน
แลกเปลี่ยนสินค้าและบริการอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ระบบเศรษฐกิจของทุก
ประเทศในโลกจึงเชื่อมโยงและผูกพันกันมากขึ้น
3. ด้านสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร มีประโยชน์ในด้าน
ธรรมชาติและและสิ่งแวดล้อม เช่น ระบบป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง โดยใช้
ภาพถ่ายดาวเทียม หรือภาพถ่ายทางอากาศ ร่วมกับการจัดเก็บรักษาข้อมูล
ระดับน้าทะเล ความสูงของคลื่นจากระบบเรดาร์ เป็นการศึกษาเพื่อหาสาเหตุ และ
นาข้อมูลมาวางแผนและสร้างระบบเพื่อป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งแต่ละแห่งได้
อย่างเหมาะสม
1.6 ตัวอย่างอาชีพทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
1. นักเขียนโปรมแกรมหรือโปรแกรมเมอร์ (programmer)
ทาหน้าที่ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในงานด้านต่างๆ เช่น โปรม
แกรมเกี่ยวกับการซื้อขายสินค้า โปรแกรมที่ใช้กับงานด้านบัญชี หรือโปรแกรม
ที่ใช้กับระบบงานขนาดใหญ่ขององค์กร
2. นักวิเคราะห์ระบบ (system analyst)
ทาหน้าที่ในการศึกษาวิเคราะห์และพัฒนาระบบสารสนเทศ นักวิเคราะห์ระบบ
จะทาการวิเคราะห์ระบบงานและออกแบบระบบสารสนเทศให้ตรงกับ ความ
ต้องการของผู้ใช้งาน ซึ่งอาจรวมถึงงานด้านการออกแบบฐานข้อมูลด้วย
3. ผู้ดูแลและบริหารฐานข้อมูล (database administrator)
ทาหน้าที่บริหารและจัดการฐานข้อมูล (database) รวมถึงการออกแบบ
บารุงรักษาข้อมูล และการดูแลระบบความปลอดภัยของฐานข้อมูล เช่น การ
กาหนดบัญชีผู้ใช้การกาหนดสิทธิ์ผู้ใช้
4. ผู้ดูแลและบริหารระบบ(system administrator)
ทาหน้าที่บริหารและจัดการระบบคอมพิวเตอร์ในองค์กร โดยดูแลการติดตั้ง
และบารุงรักษาระบบปฎิบัติการ การติดตั้งฮาร์ดแวร์ สร้าง ออกแบบและ
บารุงรักษาบัญชีผู้ใช้สาหรับองค์กรขนาดเล็กเจ้าหน้าที่ความคุมระบบอาจ
ต้องดูแลและบริหารระบบเครือข่ายด้วย
5. ผู้ดูแลและบริหารระบบเครือข่าย (network administrator)
ทาหน้าที่บริหารและจัดการออกแบบระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และดูแล
รักษาความปลอดภัยของระบบเครือข่ายขององค์กร เช่น ตรวจสอบการใช้งาน
เครือข่ายของพนักงานและติดตั้งโปรแกรมป้องกันผู้บุกรุก เครือข่าย
6. ผู้พัฒนาและบริหารระบบเว็บไซต์ (webmaster)
ทาหน้าที่ออกแบบพัฒนา ปรับปรุงและบารุงรักษาเว็บไซต์ให้มีความ
ทันสมัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งต้องมีการปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ
7. เจ้าหน้าที่เทคนิค (technician)
ทาหน้าที่ซ่อมบารุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ ติดตั้งโปรแกรม หรือติดตั้ง
ฮาร์ดแวร์ต่างๆและแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดจากการใช้อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์
ในองค์กร
8. นักเขียนเกม (game maker)
ทาหน้าที่เขียนหรือพัฒนาโปรแกรมเกมคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันนี้การเขียน
โปรมแกรมคอมพิวเตอร์เป็นอาชีพได้รับความนิยมอย่างสูงในประเทศไทย

More Related Content

What's hot

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารNew Prapairin
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารNawaminthrachinuthit Bodindecha School
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัสบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัสArt Asn
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารkunlayaneepanichh
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศdevilp Nnop
 
สารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ
สารสนเทศpoonkaeok
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารkaewwonnesakun
 
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศdevilp Nnop
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์สราวุฒิ จบศรี
 
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศpeter dontoom
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1HI BO
 
60923 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
60923 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร60923 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
60923 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารbellbodin3
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศKat Nattawan
 
ข้อมูลและสารสนเทศ โยยยย
ข้อมูลและสารสนเทศ โยยยยข้อมูลและสารสนเทศ โยยยย
ข้อมูลและสารสนเทศ โยยยยokbeer
 

What's hot (18)

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัสบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Unit03
Unit03Unit03
Unit03
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
สารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ
สารสนเทศ
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
 
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
 
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Test1
Test1Test1
Test1
 
60923 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
60923 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร60923 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
60923 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4
เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4
เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ โยยยย
ข้อมูลและสารสนเทศ โยยยยข้อมูลและสารสนเทศ โยยยย
ข้อมูลและสารสนเทศ โยยยย
 

Similar to เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้lalidawan
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารnatsuda_naey
 
3 เทคโนโลยีกับชีวิตประจำวัน (ใบความรู้)
3 เทคโนโลยีกับชีวิตประจำวัน (ใบความรู้)3 เทคโนโลยีกับชีวิตประจำวัน (ใบความรู้)
3 เทคโนโลยีกับชีวิตประจำวัน (ใบความรู้)phatrinn555
 
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษาChapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษาTeerasak Nantasan
 
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาa35974185
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารjongkoi
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้lalidawan
 
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6ครู อินดี้
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPimเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPimproncharita
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวNart-Anong Srinak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวNart-Anong Srinak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111เทคโนโลยีสารสนเทศ111111
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111jongjang
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวNart-Anong Srinak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวNart-Anong Srinak
 

Similar to เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (20)

เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
3 เทคโนโลยีกับชีวิตประจำวัน (ใบความรู้)
3 เทคโนโลยีกับชีวิตประจำวัน (ใบความรู้)3 เทคโนโลยีกับชีวิตประจำวัน (ใบความรู้)
3 เทคโนโลยีกับชีวิตประจำวัน (ใบความรู้)
 
Part1
Part1Part1
Part1
 
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษาChapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
 
บทที่ 6new
บทที่ 6newบทที่ 6new
บทที่ 6new
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPimเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
 
ระบบเทคโนโลยี
ระบบเทคโนโลยีระบบเทคโนโลยี
ระบบเทคโนโลยี
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111เทคโนโลยีสารสนเทศ111111
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

  • 2. 1.1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร • เทคโนโลยี( Technology ) หมายถึง การนาความรู้ด้านวิทยาศาสตร์มา ประยุกต์ในการพัฒนาเครื่องมือ เครื่องใช้อุปกรณ์ วิธีการและกระบวนการ • สารสนเทศ( Information ) หมายถึง ผลลัพธ์ที่เกดจากการนาข้อมูลมา ผ่านกระบวนการต่างๆ อย่างมีระบบ • เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การนาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มา ประยุกต์ใช้เพื่อสร้างหรือจัดการสารสนเทศ อย่างเป็นระบบและรวดเร็ว โดยอาศัยเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ • เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตามแผ่นแม่บท เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารประเทศไทย พ.ศ. 2545-2549 หมายถึง เทคโนโลยีเกี่ยวข้อง กับข่าวสารข้อมูล และการสื่อสารนับตั้งแต่การสร้าง การนามาวิเคราะห์หรือ การประมวลผล
  • 3. 1.2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ • ระบบสารสนเทศ เป็นระบบที่ช่วยเสริมประสิทธิภาพการทางานโดยใช่ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระบบสารสนเทศประกอบด้วย 1. ฮาร์ดแวร์ ( hardware ) หมายถึง ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อ พ่วงต่างๆ เช่นคีย์บอร์ด( keyboand ) เมาส์ ( mouse ) จอภาพ ( monitor ) เป็นต้น รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสาหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ เข้าเป็นเครือข่าย เช่น โมเด็ม ( modem ) และ สายสัญญาณ 2. ชอฟต์แวร์ ( soflware ) หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคาสั่ง ( instruction ) ที่ใช่ควบคุมการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ต่อพ่วงต่างๆ ชุดคาสั่งจะถูกแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ
  • 4. - ซอฟต์แวร์ระบบ ( system software ) หมายถึง ชุดคาสั่งที่ทาหน้าที่ ควบคุมการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อ พ่วงต่างๆ และทา หน้าที่เป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ระบบแบ่ง ออกเป็น 1) ระบบปฏิบัติการ ( Operating System: OS ) เป็นซอฟต์แวร์ที่ทาหน้าที่ ควบคุมการทางานของอุปกรณ์และซอฟต์แวร์ทั้งหมดภายใน คอมพิวเตอร์ ตัวอย่าง ระบบปฏิบัติการ เช่น วินโดวส์( Windowns ) ลินุกซ์ ( Linux ) และ แมคโอ เอส ( Mac OS) 2)โปรแกรมอรรถประโยชน์ ( utilities program ) เป็นโปรแกรมที่ช่วยเสริม การทางานของคอมพิวเตอร์ หรือช่วยเสริมการทางานอื่นๆให้มีความสามารถใช่วาน ได้สะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น 3) โปรแกรมขับอุปกรณ์ หรือดีไวซ์ไดร์ฟเวอร์ ( device driver ) เป็น โปรแกรมที่ช่วยในการติดตั้งระบบเพื่อให้คอมพิวเตอรืสามารถติดต่อหรือใช่งาน อุปกรณ์ต่าง
  • 5. 4) โปรแกรมแปลภาษา เป็นโปรแกรมที่ทาหน้าที่แปลโปรแกรมที่เขียนขึ้นด้วย ภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงให้ เป็นรหัสที่อยู่ในรูปแบบที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถ ทางานได้ตัวอย่างตัวแปล ภาษา เช่น ตัวแปลภาษาจาวา ตัวแปลภาษาซี - ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (application software) หมายถึง ชุดคาสั่งที่เขียนขึ้น เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานตามวัตถุประสงค์เฉพาะ อย่าง ซอฟต์แวร์ ประยุกต์อาจเขียนขึ้นโดยใช้โปรแกรม ภาษาคอมพิวเตอร์ เช่น เบสิก (Basic) ปาสคาล (Pascal) โคบอล (Cobol) ซี (C) ซีพลัสพลัส (C++) และจาวา (Java) ซอฟต์แวร์ประยุกต์แบ่งตามกลุ่มการ 1) ข้อมูล (data) ข้อมูล จะถูกรวบรวมและป้อนเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์โดยผ่าน อุปกรณ์ของหน่วยรับเข้า เช่น คีย์บอร์ด เมาส์ และสแกนเนอร์ (scanner) ข้อมูลต้อง มีโครงสร้างในการจัดเก็บที่เป็นระบบเพื่อการสืบค้นที่รวดเร็วและ มีประสิทธิภาพ ข้อมูลจะถูกจัดเก็บอยู่ในหน่วยความจา (memory unit) ก่อนที่จะถูกย้ายไปเก็บที่ หน่วยเก็บข้อมูล (storage unit) เช่น ฮาร์ดดิสก์ และแผ่นซีดี (Compact Disc: CD)
  • 6. 2) บุคลากร (people) บุคลากรเป็นองค์ประกอบที่สาคัญที่สุดของระบบสารสนเทศ ในที่นี้หมายถึงบุคลากรที่เป็นผู้ใช้ระบบสารสนเทศ จะต้องมีความรู้ความสามารถใน การพัฒนาระบบสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพให้สามารถ ทางานได้ตามความต้องการ ของผู้ใช้ใช้ง่ายและสะดวก ส่วนผู้ใช้ต้องมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความสามารถใน การใช้งานระบบสารสนเทศและการสื่อสารต่างๆ ได้อย่างถูกต้องจึงจะเกิดสารสนเทศ ที่เป็นประโยชน์ 3) ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (procedure) ระบบสารสนเทศต้องมีขั้นตอนการ ปฏิบัติงานที่เป็นลาดับขั้นชัดเจน เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเข้าใจได้ง่าย และดาเนินงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในสถานการณ์ปกติและสถานการณ์ฉุกเฉิน เช่น ขั้นตอนการ บันทึกข้อมูล ขั้นตอนการทาสาเนาข้อมูล ขั้นตอนการปฏิบัติเมื่อข้อมูลได้รับความ เสียหาย หรือเมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่างๆ เกิดการชารุดเสียหาย ขั้นตอน ต่างๆ เหล่านี้ควรได้รับการรวบรวมและจัดทาให้เป็นรูปเล่ม
  • 7. 1.3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร 1. ด้านการศึกษา เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารถูกนามาใช้เพื่ออานวย ความสะดวกในการบริหารด้านการ บริหารด้านการศึกษา เช่น ระบบการ ลงทะเบียน และระบบการจัดตารางสอน นอกจากนี้ยังใช้เป็นเครื่องมือในการเพิ่ม โอกาสทางด้านการศึกษาและเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอน 2. ด้านการแพทย์และสาธารณสุข เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารถูก นามาใช้เริ่มตั้งแต่การทาทะเบียนคนไข้การรักษาพยาบาลทั่วไป ตลอดจนการ วินิจฉัยและรักษาโรคต่างๆได้อย่างรวดเร็วและแม่นยา นอกจากนี้ยังใช้ใน ห้องทดลอง การศึกษาและการวิจัยทางการแพทย์งานศึกษาโมเลกุลสารเคมี สามารถค้นคว้าข้อมูลทางการแพทย์รักษาคนไข้ด้วยระบบการรักษาทางไกล ตลอดเวลาผ่านเครือข่ายการสื่อสาร เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า อีเอ็มไอ สแกนเนอร์ (EMI scanner) ถูกนามาถ่ายภาพสมองมนุษย์เพื่อตรวจหาความ ผิดปกติในสมอง
  • 8. 3. ด้านการเกษตรและอุตสาหกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูก นามาใช้ประโยชน์ในด้านเกษตรกรรม เช่น การจัดทาระบบข้อมูลเพื่อการเกษตร และพยากรณ์ผลผลิตด้านการเกษตร นอกจากนี้ยังช่วยพัฒนาความก้าวหน้า ทางด้านอุตสาหกรรม การประดิษฐ์หุ่นยนต์เพื่อใช้ทางานบ้าน และหุ่นยนต์เพื่อ งานอุตสาหกรรมที่ต้องเสี่ยงภัยและเป็นอันตรายต่อสุขภาพ เฃ่น โรงงานสารเคมี โรงผลิตและการจ่ายไฟฟ้า รวมถึงงานที่ต้องทาซ้าๆ 4. ด้านการเงินธนาคาร เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารถูกนามาใช้ในด้าน การเงินและการธนาคาร โดยใช้ช่วยด้านการบัญชี การฝากถอนเงิน โอนเงิน บริการสินเชื่อ และเปลี่ยนเงินตรา บริการข่าวสารธนาคาร การใช้คอมพิวเตอร์ ด้านการเงินการธนาคารที่รู้จักและนิยมใช้กันทั่วไป เช่น บริการฝากถอนเงิน การ โอนเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์
  • 9. 5. ด้านความมั่นคง มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกันอย่าง แพร่หลาย เช่น ใช้ในการควบคุมประสานงานวงจรสื่อสารทหาร การแปลรหัส ลับในงานจารกรรมระหว่างประเทศ การส่งดาวเทียมและการคานวณวิถีโคจร ของจรวดไปสู่อวกาศ สานักงานตารวจแห่งชาติของประเทศไทยมีศูนย์ ประมวลข่าวสาร มีระบบจัดทาทะเบียนปืน ทะเบียนประวัติอาชญากร ทาให้ เกิดความสะดวกและรวดเร็วในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสืบสวนคดีต่างๆ 6. ด้านการคมนาคม มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในส่วนที่ เกี่ยวกับการเดินทาง เช่น การเดินทางโดยรถไฟ มีการเชื่อมโยงข้อมูลการจองที่ นั่งไปยังทุกสถานี ทาให้สะดวกต่อผู้โดยสาร การเช็คอินของสายการบิน ได้ จัดทาเครื่องมือที่สะดวกต่อลูกค้า ในรูปแบบของการเช็คอินด้วยตนเอง
  • 10. 7. ด้านวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารในการออกแบบ หรือจาลองสถานการณ์ต่างๆ เช่น การรับ แรงสั่นสะเทือนของอาคารเมื่อเกิดแผ่นดินไหว โดยการคานวณและแสดงภาพ สถานการณ์ใกล้เคียงความจริง 8. ด้านการพาณิชย์ องค์กร ในภาคธุรกิจใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารในการบริหารจัดการ เพื่อช่วยเพิ่มความยืดหยุ่น ให้กับองค์กรในการทางาน ทาให้การประสานงานหรือการทากิจกรรมต่างๆ ของแต่ละหน่วยงานในองค์กรหรือระหว่างองค์กรเป็นไปได้อย่างมี ประสิทธิภาพมาก ขึ้น นอกจากนี้ยังสามารถใช้ปรับปรุงการให้บริการกับลูกค้า ทั่วไป สิ่งเหล่านี้นับเป็นการสร้างโอกาสความได้เปรียบในการแข่งขันให้กับ องค์กร
  • 11. 1.4 แนวโน้มการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 1. ด้านอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เมื่อ พิจารณาเครือข่ายการ สื่อสารทั่วไปจากอดีตจนถึงปัจจุบัน เห็นได้ชัดว่ามนุษย์ใช้อุปกรณ์การสื่อสาร แบบพกพามากขึ้นเรื่อยๆ เริ่มจากวิทยุเรียกตัว (pager)ซึ่งเป็นเครื่องรับ ข้อความ มาเป็นถึงโทรศัพท์เคลื่อนที่ อุปกรณ์สื่สารชนิดนี้ได้ถูกพัฒนาจน สามารถใช้งานด้านอื่นๆได้นอกจากการพูดคุยธรรมดา โทรศัพท์เคลื่อนที่รุ่น ใหม่สามารถใช้ถ่ายรูป ฟังเพลง ฟังวิทยุดูโทรทัศน์ บันทึกข้อมูงสั้นๆ บางรุ่นมี ลักษณะเป็นเครื่องช่วยงานส่วนบุคคล (PersonalDigital Assistant: PDA) ซึ่งสามารถเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตได้อีกทั้งยังมีหน้าจอแบบสัมผัส ทา ให้สะดวกต่อการใช้งานมากขึ้น บางรุ่นมีอุปกรณ์สไตลัส (stylus)
  • 12. 2. ด้านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบเครื่องข่ายคอมพิวเตอร์ในอดีตมักเป็น ระบบที่ใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เชื่อม ต่อตรงโดยจุดเดียว (stand alone ต่อมามีการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันภายในองค์กร เพื่อทาให้สามารถใช้ ข้อมูลร่วมกัน หรือใช้เครื่องพิมพ์ร่วมกัน จนเกิดเป็นระบบรับและให้บริการ หรือที่ เรียกว่าระบบรับ-ให้บริการ (client-server system) โดยมีเครื่องให้บริการ (server) และเครื่องรับบริการ (client) การให้บริการบนเว็บก็นาหลักการของ ระบบรับ-ให้บริการมาใช้ช่วยให้การทางาน ง่ายขึ้น สะดวก รวดเร็ว เพราะสามารถ ทางานจากที่ใดก็ได้โดยผ่านระบบอินเตอร์เน็ต โดยมีเว็บเซอร์เวอร์ (web server) เป็นเครื่องให้บริการ
  • 13. 3. ด้านเทคโนโลยี ระบบ ทางานอัตโนมัติที่สามารถตัดสินใจได้เองจะเข้ามา แทนที่มากขึ้น เช่น ระบบแนวนาเส้นทางจราจร ระบบจอดรถ ระบบตรวจหา ตาแหน่งของวัตถุ ระบบควบคุมความปลอดภัยภายในอาคาร ระบบที่ทางาน อัตโนมัติเช่นนี้ อาจกลายเป็นระบบหลักในการดาเนินการของหน่วยงานต่างๆ โดยเข้ามาแทนที่การทางานของมนุษย์มีการเชื่อมต่ออย่างกว้างขวางไปยัง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมากกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน
  • 14. 1.5 ความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร 1. ด้านสังคม สภาพ เสมือนจริง การใช้อินเตอร์เน็ตเชื่อมโยงการทางาน ต่างๆ จนเกิดเป็นสังคมที่ติดต่อผ่านทางอินเตอร์เน็ต หรือที่รู้จักกีนว่า ไซ เบอรฺ์สเปช (cyber space) ซึ่งมีกิจกรรมต่างๆ เช่นการพูด การชื้อสินค้า และบริการ การทางานผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทาให้เกิดสภาพที่เสมือน จริง(virtual) เช่น เกมส์เสมือนจริง ห้องเรียนเสมือนจริง ซึ่งทาให้ลดเวลา ในการเดินทางและสามารถใช้งานได้ทุกที่ทุกเวลา
  • 15. 2. ด้านเศรษกิจ เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารส่งผลให้เกิดสังคมโลกาภิ วัตน์(globalization) เพราะสามารถชมข่าว ชมรายการโทรทัศนที่ส่ง กระจายผ่านดาวเทียมของประเทศต่างๆ ได้ทั่วโลก สามารถรับรู้ข่าวสารได้ทันที ใช้อินเทอร์เน็ตในการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน ระบบเศรษกิจซึ่งแต่เดิมมีขอบเขต จากัดภายในประเทศ ก็กระจายเป็นเศรษญกิจโลก เกิดกระแสการหมุนเวียน แลกเปลี่ยนสินค้าและบริการอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ระบบเศรษฐกิจของทุก ประเทศในโลกจึงเชื่อมโยงและผูกพันกันมากขึ้น 3. ด้านสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร มีประโยชน์ในด้าน ธรรมชาติและและสิ่งแวดล้อม เช่น ระบบป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง โดยใช้ ภาพถ่ายดาวเทียม หรือภาพถ่ายทางอากาศ ร่วมกับการจัดเก็บรักษาข้อมูล ระดับน้าทะเล ความสูงของคลื่นจากระบบเรดาร์ เป็นการศึกษาเพื่อหาสาเหตุ และ นาข้อมูลมาวางแผนและสร้างระบบเพื่อป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งแต่ละแห่งได้ อย่างเหมาะสม
  • 16. 1.6 ตัวอย่างอาชีพทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 1. นักเขียนโปรมแกรมหรือโปรแกรมเมอร์ (programmer) ทาหน้าที่ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในงานด้านต่างๆ เช่น โปรม แกรมเกี่ยวกับการซื้อขายสินค้า โปรแกรมที่ใช้กับงานด้านบัญชี หรือโปรแกรม ที่ใช้กับระบบงานขนาดใหญ่ขององค์กร
  • 17. 2. นักวิเคราะห์ระบบ (system analyst) ทาหน้าที่ในการศึกษาวิเคราะห์และพัฒนาระบบสารสนเทศ นักวิเคราะห์ระบบ จะทาการวิเคราะห์ระบบงานและออกแบบระบบสารสนเทศให้ตรงกับ ความ ต้องการของผู้ใช้งาน ซึ่งอาจรวมถึงงานด้านการออกแบบฐานข้อมูลด้วย
  • 18. 3. ผู้ดูแลและบริหารฐานข้อมูล (database administrator) ทาหน้าที่บริหารและจัดการฐานข้อมูล (database) รวมถึงการออกแบบ บารุงรักษาข้อมูล และการดูแลระบบความปลอดภัยของฐานข้อมูล เช่น การ กาหนดบัญชีผู้ใช้การกาหนดสิทธิ์ผู้ใช้
  • 19. 4. ผู้ดูแลและบริหารระบบ(system administrator) ทาหน้าที่บริหารและจัดการระบบคอมพิวเตอร์ในองค์กร โดยดูแลการติดตั้ง และบารุงรักษาระบบปฎิบัติการ การติดตั้งฮาร์ดแวร์ สร้าง ออกแบบและ บารุงรักษาบัญชีผู้ใช้สาหรับองค์กรขนาดเล็กเจ้าหน้าที่ความคุมระบบอาจ ต้องดูแลและบริหารระบบเครือข่ายด้วย
  • 20. 5. ผู้ดูแลและบริหารระบบเครือข่าย (network administrator) ทาหน้าที่บริหารและจัดการออกแบบระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และดูแล รักษาความปลอดภัยของระบบเครือข่ายขององค์กร เช่น ตรวจสอบการใช้งาน เครือข่ายของพนักงานและติดตั้งโปรแกรมป้องกันผู้บุกรุก เครือข่าย
  • 21. 6. ผู้พัฒนาและบริหารระบบเว็บไซต์ (webmaster) ทาหน้าที่ออกแบบพัฒนา ปรับปรุงและบารุงรักษาเว็บไซต์ให้มีความ ทันสมัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งต้องมีการปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ
  • 22. 7. เจ้าหน้าที่เทคนิค (technician) ทาหน้าที่ซ่อมบารุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ ติดตั้งโปรแกรม หรือติดตั้ง ฮาร์ดแวร์ต่างๆและแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดจากการใช้อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ ในองค์กร
  • 23. 8. นักเขียนเกม (game maker) ทาหน้าที่เขียนหรือพัฒนาโปรแกรมเกมคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันนี้การเขียน โปรมแกรมคอมพิวเตอร์เป็นอาชีพได้รับความนิยมอย่างสูงในประเทศไทย