SlideShare a Scribd company logo
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 รับรู้ข้อมูล
รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กลุ่ม
สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เวลา
เรียน 4 ชั่วโมง
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ง 3.1 ป.1/1 บอกข้อมูลที่สนใจ และแหล่งข้อมูลที่อยู่
ใกล้ตัว
2. สาระสำาคัญ/ความคิดรวบยอด
ข้อมูลเป็นเรื่องราวหรือสิ่งต่างๆ ที่สามารถรับรู้ได้จากแหล่งข้อมูล
ที่อยู่ใกล้ตัว
3. สาระการเรียนรู้
3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
- ข้อมูลของสิ่งที่สนใจอาจเป็นข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล สัตว์
สิ่งของ เรื่องราว และเหตุการณ์ต่างๆ
3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
-
4.สมรรถนะสำาคัญของผู้เรียน
4.1 ความสามารถในการสื่อสาร
4.2 ความสามารถในการคิด
- ทักษะการคิดวิเคราะห์
- ทักษะการคิดสร้างสรรค์
4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
- กระบวนการสังเกต
- กระบวนการทำางานกลุ่ม
5.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
1
6. ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
การเขียนบันทึกข้อมูลที่สนใจ
7. การวัดและการประเมินผล
7.1 การประเมินก่อนเรียน
 นักเรียนทำาแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
7.2 การประเมินระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1) ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ข้อมูลส่วนตัว
2) ใบงานที่ 2.1 เรื่อง ประโยชน์ของข้อมูล
3) สังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม
7.3 การประเมินหลังเรียน
 นักเรียนทำาแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
7.4 การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
 ประเมินการเขียนบันทึกข้อมูลที่สนใจ
การประเมินชิ้นงาน / ภาระงาน (รวบยอด)
แบบประเมินการเขียนบันทึกข้อมูลที่สนใจ
คำาอธิบายระดับคุณภาพ / ระดับคะแนน
2
รายการ
ประเมิน
ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1)
1. ข้อมูลที่
สนใจ
เลือกข้อมูลที่เป็น
ประโยชน์
น่าสนใจ
เลือกข้อมูลที่เป็น
ประโยชน์
แต่ไม่น่าสนใจ
เลือกข้อมูลที่ไม่เป็น
ประโยชน์
และไม่น่าสนใจ
2. ราย
ละเอียด
ของ
ข้อมูล
บอกรายละเอียดของ
ข้อมูล
ได้ถูกต้อง ชัดเจน
ครบถ้วน
บอกรายละเอียดของ
ข้อมูล
ได้ถูกต้อง ชัดเจน
เป็นส่วนใหญ่
บอกรายละเอียดของ
ข้อมูล
ได้ถูกต้องเพียงบาง
ส่วน
3. การ
เขียน
บันทึก
ข้อมูล
ใช้ภาษาถูกต้อง
อ่านเข้าใจง่าย
เขียนสะกดคำาถูก
ต้องทั้งหมด
ใช้ภาษาถูกต้อง
อ่านเข้าใจง่าย
เขียนสะกดคำาผิด
เป็นส่วนน้อย
ใช้ภาษาถูกต้องบาง
ส่วน
อ่านไม่เข้าใจ เขียน
สะกดคำาผิดเป็นส่วน
ใหญ่
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
7-9 ดี
4-6 พอใช้
1-3 ปรับปรุง
8. กิจกรรมการเรียนรู้
 นักเรียนทำาแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
กิจกรรมที่ 1 ความหมายของข้อมูล เวลา
2 ชั่วโมง
3
(วิธีสอนโดยการใช้เกม และวิธีสอนโดยเน้นกระบวนการ
: กระบวนการกลุ่ม)
1. ครูเล่านิทานเรื่อง ปูกับงู ให้นักเรียนฟัง เมื่อฟังนิทานจบแล้ว
ให้นักเรียนให้นักเรียนร่วมกัน
ตอบคำาถาม
2. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปข้อคิดที่ได้จากนิทานเรื่องนี้ว่า คน
ที่ไร้ความซื่อสัตย์ ยากที่จะสำานึก
ตัวได้ แม้เมื่อตายจากโลกนี้ไปแล้ว
3. ครูอธิบายให้นักเรียนทราบว่า การฟังนิทานเป็นการรับข้อมูล
ผ่านประสาทสัมผัสทางหู ซึ่งการ
รับข้อมูลในชีวิตประจำาวันของคนเรามีมากมายและหลากหลาย
จึงควรรู้จักเลือกรับข้อมูลต่างๆ
มาใช้ให้เกิดประโยชน์
4. ให้นักเรียนช่วยกันบอกว่า คนเราสามารถรับข้อมูลผ่านทางใด
บ้าง แล้วยกตัวอย่างประกอบ
ข้อมูลรอบตัว
5. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ออกเป็น 6 กลุ่มเท่าๆ กัน เพื่อศึกษา
ความรู้เกี่ยวกับข้อมูลรอบตัว โดยครู
แนะนำาให้นักเรียนใช้หนังสือเรียนประกอบการศึกษา แต่ละ
กลุ่มสรุปความรู้ที่ได้ร่วมกันศึกษา
6. ครูให้ตัวแทนของแต่ละกลุ่มออกมาจับสลาก เพื่อร่วมกันตอบ
คำาถามและยกตัวอย่างเกี่ยวกับ
ข้อมูลรอบตัวที่ครูกำาหนดในสลาก
7. ครูตรวจสอบคำาตอบ และการยกตัวอย่างของนักเรียน
8. ให้นักเรียนทำาใบงานที่ 1.1 เรื่อง ข้อมูลส่วนตัว
9. ครูนำาถาดขนาดใหญ่ใส่ส้มเขียวหวานที่มีจำานวนเท่ากับ
นักเรียนในชั้น มาแสดงหน้าชั้นเรียน
10.ให้ตัวแทนนักเรียน 2 คน ออกมารับถาดส้มเขียวหวาน และ
กระดาษ A4 เพื่อแจกให้สมาชิก
ในชั้นเรียน เมื่อนักเรียนได้รับส้มเขียวหวาน และกระดาษ
A4 แล้ว ให้นักเรียนฟังคำาถามจาก
ครูและตอบคำาถามลงในกระดาษที่ครูแจกให้
11.ให้นักเรียนช่วยกันบอกว่า นักเรียนสามารถตอบคำาถามทั้ง 4
ข้อที่ครูถามได้อย่างไร
4
12. ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจาก
กิจกรรม และการรับรู้ข้อมูล
ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวหนัง ครู
เปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถาม
ข้อสงสัย เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง
กิจกรรมที่ 2 ประเภทและประโยชน์ของข้อมูล เวลา
2 ชั่วโมง
(วิธีสอนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการคิดวิเคราะห์)
1. ครูนำาข้อมูลประเภทต่างๆ ออกมาแสดงหน้าชั้นเรียน แล้วถาม
นักเรียนว่า สิ่งที่นักเรียน
เห็นมีอะไรบ้าง และเป็นข้อมูลเกี่ยวกับอะไร
2. ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า สิ่งที่ครูนำามาแสดงจัดเป็นข้อมูล
ภาพ ข้อมูลตัวอักษร และข้อมูล
ตัวเลข ตามลำาดับ
3. ให้นักเรียนศึกษาเรื่อง ประเภทของข้อมูล จากหนังสือเรียน
เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจมาก
ยิ่งขึ้น
4. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับประเภทของข้อมูล
5. ครูตั้งคำาถามเพื่อให้นักเรียนช่วยกันตอบ
6. ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า ข้อมูลในชีวิตประจำาวันมี
มากมาย ซึ่งสามารถนำาข้อมูลเหล่านี้
มาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำาวัน
7. ให้นักเรียนศึกษาเรื่อง ประโยชน์ของข้อมูล จาก
หนังสือเรียน
8. นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ และทำาใบงานที่ 2.1 เรื่อง
ประโยชน์ของข้อมูล
9. ให้นักเรียนรวบรวมข้อมูลที่นักเรียนสนใจมา 1 เรื่อง เพื่อเขียน
บันทึกความรู้
 นักเรียนทำาแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
9.1 สื่อการเรียนรู้
5
1) หนังสือเรียน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ป.1
2) นิทาน เรื่อง ปูกับงู
3) ส้มเขียวหวาน
4) กระดาษ A4
5) สลาก
6) ตัวอย่าง ข้อมูลประเภทต่างๆ
7) ใบงาน
9.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องสมุด
2) สื่อต่างๆ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์
3) ผู้ปกครอง / ผู้รู้
แบบทดสอบก่อน-
หลังเรียน
หน่วยการ
เรียนรู้ที่ 1
คำาชี้แจง : กา  คำาตอบที่ถูกทีีี่สุด
1. ข้อใดกล่าวถึงความหมายของข้อมูลได้ถูกต้อง
ก. ข้อเท็จจริงของสถานที่ต่างๆ
ข. เหตุการณ์เกี่ยวกับสิ่งต่างๆ
ค. ข้อเท็จจริง หรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่างๆ
2. ข้อมูลของนักเรียน เป็นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับข้อใด
ก. ข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล
ข. ข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งของ
ค. ข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่
3. ข้อใดจัดเป็นข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่
ก. ข้อมูลเกี่ยวกับอาหารไทย
ข. ข้อมูลเกี่ยวกับวัดพระแก้ว
ค. ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ปกครอง
4. ข้อใดกล่าวถึงข้อมูลไม่ถูกต้อง
ก. ปลาทองเป็นปลานำ้าจืด
ข. แมวเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
ค. เต่าเป็นสัตว์เลื้อยคลานที่มีอายุสั้น
6
5. การรับรู้รสชาติอาหาร เป็นการรับรู้ข้อมูลผ่านประสาทสัมผัสใด
ก. ตา
ข. ลิ้น
ค. ปาก
6. APPLE จัดเป็นข้อมูลประเภทใด
ก. ข้อมูลภาพ
ข. ข้อมูลตัวอักษร
ค. ข้อมูลตัวเลข
7. การเปิดเพลงที่ชื่นชอบฟัง จัดเป็นการรับข้อมูลประเภทใด
ก. ข้อมูลภาพ
ข. ข้อมูลตัวอักษร
ค. ข้อมูลอื่นๆ
8. การนำาข้อมูลทางการแพทย์มาปฏิบัติตนเพื่อป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ 2009
จัดเป็นประโยชน์ในด้านใด
ก. ด้านพัฒนาตนเอง
ข. ด้านการแก้ไขปัญหา
ค. ด้านการพัฒนาชุมชน
9. ข้อใดเป็นการนำาประโยชน์ของข้อมูลมาพัฒนาชุมชน
ก. การปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย
ข. การปรับเวลาในการอ่านหนังสือให้เหมาะสม
ค. การสร้างสนามเด็กเล่นในโรงเรียนให้เพียงพอกับจำานวนเด็ก
10. หากนักเรียนไม่สามารถรับรสชาติของอาหารได้ นักเรียนคิดว่าจะเกิด
ผลอย่างไร
ก. ขาดการรับข้อมูลทางลิ้น
ข. ขาดการรับข้อมูลทางผิวหนัง
ค. ขาดการรับข้อมูลทางประสาทสัมผัส
7
เฉลย แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
ข้อ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
เฉล
ย
ค ก ข ค ข ข ค ข ค ก
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 รับรู้ข้อมูล ชั้นประถม
ศึกษาปีที่ 1
เรื่อง ความหมายของข้อมูล เวลา 2
ชั่วโมง
1. สาระสำาคัญ/ความคิดรวบยอด
ข้อมูลเป็นข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัว
เรา
2. ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ตัวชี้วัด
ง 3.1 ป.1/1 บอกข้อมูลที่สนใจ และแหล่งข้อมูลที่อยู่
ใกล้ตัว
2.2 จุดประสงค์การเรียนรู้
1) อธิบายข้อมูลที่อยู่ใกล้ตัวได้
2) บอกแหล่งของข้อมูลที่สนใจได้
3. สาระการเรียนรู้
3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
- ข้อมูลของสิ่งที่สนใจอาจเป็นข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล สัตว์
สิ่งของ เรื่องราว และเหตุการณ์ต่างๆ
3.3 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
-
8
4.สมรรถนะสำาคัญของผู้เรียน
4.1 ความสามารถในการสื่อสาร
4.2 ความสามารถในการคิด
- ทักษะการคิดวิเคราะห์
- ทักษะการคิดสร้างสรรค์
4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
- กระบวนการสังเกต
- กระบวนการทำางานกลุ่ม
5.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
6. กิจกรรมการเรียนรู้ (วิธีสอนโดยการใช้เกม และวิธี
สอนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการกลุ่ม )
 นักเรียนทำาแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
1. ครูเล่านิทานเรื่อง ปูกับงู ให้นักเรียนฟัง
2. เมื่อฟังนิทานจบแล้วให้นักเรียนร่วมกันตอบคำาถาม ดังนี้
- นิทานเรื่องนี้มีตัวละครกี่ตัว
- เหตุใดปูจึงหนีบงูตาย
- ข้อคิดที่ได้รับจากนิทาน
3. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปข้อคิดที่ได้จากนิทานเรื่องนี้ว่า คนที่
ไร้ความซื่อสัตย์ ยากที่จะสำานึก
ตัวได้ แม้เมื่อตายจากโลกนี้ไปแล้ว
9
ชั่วโมง
ที่ 1
ปูกับงูเป็นเพื่อนที่คบหากันมานาน ปูนั้นซื่อตรงต่องูไม่เคย
ทรยศหักหลัง ตรงกันข้ามกับงู ซึ่งมักไม่ซื่อตรงทำาให้ปูได้รับ
ความเดือดร้อนอยู่เสมอ แม้จะพยายามตักเตือนอย่างไรแต่งูก็
ไม่ยอมกลับตัว จนในที่สุดปูหมดความอดทนจึงใช้ก้ามหนีบงูจน
ตาย
“ ถ้าจิตใจของเจ้าซื่อตรงเหมือนร่างของเจ้าที่นอนยาวเหยียดอยู่
เช่นนี้ เจ้าก็คงไม่ต้องพบจุดจบ
ในวันนี้ ”
4. ครูอธิบายให้นักเรียนทราบว่า การฟังนิทานเป็นการรับข้อมูล
ผ่านประสาทสัมผัสทางหู ซึ่งการ
รับข้อมูลในชีวิตประจำาวันของคนเรามีมากมายและหลากหลาย
จึงควรรู้จักเลือกรับข้อมูล
ต่างๆ มาใช้ให้เกิดประโยชน์
5. ให้นักเรียนช่วยกันบอกว่า คนเราสามารถรับข้อมูลผ่านทางใด
บ้าง แล้วยกตัวอย่างประกอบ
เช่น การรับข้อมูลจากการมองเห็น (ภาพต่างๆ)
6. ให้นักเรียนบอกความหมายของคำาว่า ข้อมูล ตามที่นักเรียน
เข้าใจ แล้วครูอธิบายให้นักเรียนฟัง
ว่าข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวกับสิ่งต่างๆ
ได้แก่ คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่
รวมถึงสิ่งต่างๆ ที่เรารับรู้โดยการดู ฟัง ดมกลิ่น สัมผัส และชิม
รสชาติ
7. ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า ข้อมูลรอบตัวมีมากมาย ซึ่ง
สามารถจำาแนกได้ ดังนี้
1) ข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล
2) ข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่
3) ข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งของ
4) ข้อมูลเกี่ยวกับสัตว์
5) ข้อมูลเกี่ยวกับพืช
6) ข้อมูลเกี่ยวกับธรรมชาติ
8. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็น 6 กลุ่มเท่าๆ กัน เพื่อศึกษาความรู้
เกี่ยวกับข้อมูลรอบตัว โดยครู
แนะนำาให้นักเรียนใช้หนังสือเรียนประกอบการศึกษา
ชั่วโมง
ที่ 2
1. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสรุปความรู้ที่ได้ร่วมกันศึกษา
2. ครูให้ตัวแทนของแต่ละกลุ่มออกมาจับสลาก เพื่อร่วมกันตอบ
คำาถามและยกตัวอย่างเกี่ยวกับ
ข้อมูลรอบตัวที่ครูกำาหนดในสลาก ดังนี้
สลากหมายเลข 1 อธิบายความหมายข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล
และยกตัวอย่าง
10
สลากหมายเลข 2 อธิบายความหมายข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่
และยกตัวอย่าง
สลากหมายเลข 3 อธิบายความหมายข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งของ
และยกตัวอย่าง
สลากหมายเลข 4 อธิบายความหมายข้อมูลเกี่ยวกับสัตว์ และ
ยกตัวอย่าง
สลากหมายเลข 5 อธิบายความหมายข้อมูลเกี่ยวกับพืช และ
ยกตัวอย่าง
สลากหมายเลข 6 อธิบายความหมายข้อมูลเกี่ยวกับธรรมชาติ
และยกตัวอย่าง
3. ครูตรวจสอบคำาตอบ และการยกตัวอย่างของนักเรียน
4. ให้นักเรียนทำาใบงานที่ 1.1 เรื่อง ข้อมูลส่วนตัว เป็นการบ้าน
แล้วนำาส่งครูตรวจในชั่วโมงเรียน
ต่อไป
5. ครูนำาถาดขนาดใหญ่ใส่ส้มเขียวหวานที่มีจำานวนเท่ากับ
นักเรียนทั้งชั้น มาแสดงหน้าชั้นเรียน
6. ให้ตัวแทนนักเรียน 2 คน ออกมารับถาดส้มเขียวหวาน และ
กระดาษ A4 เพื่อแจกให้สมาชิก
ในชั้นเรียน
7. เมื่อนักเรียนได้รับส้มเขียวหวาน และกระดาษ A4 แล้ว ให้
นักเรียนฟังคำาถามจากครูและตอบ
คำาถามลงในกระดาษที่ครูแจกให้
8. ครูให้ตัวแทนนักเรียนเก็บกระดาษคำาตอบส่งครู แล้วร่วมกัน
เฉลยคำาตอบที่ถูกต้อง
9. ให้นักเรียนช่วยกันบอกว่า นักเรียนสามารถตอบคำาถามทั้ง 4
ข้อ ที่ครูถามได้อย่างไร โดยมี
11
คำาถาม
1. ส้มเขียวหวานมีลักษณะรูปร่างเป็นอย่างไร
2. ส้มเขียวหวานมีลักษณะพื้นผิวเป็นอย่างไร
3. ส้มเขียวหวานมีกลิ่นอย่างไร
4. ส้มเขียวหวานมีรสชาติอย่างไร
แนวคำาตอบ ดังนี้
- ส้มเขียวหวานมีลักษณะรูปร่างกลม (การมอง)
- ส้มเขียวหวานมีลักษณะพื้นผิวเรียบ (การสัมผัสการลูบ)
- ส้มเขียวหวานมีกลิ่นหอม (การดมสูดกลิ่น)
- ส้มเขียวหวานมีรสชาติหวาน / เปรี้ยว (การชิมรส)
10. ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจาก
กิจกรรม และการรับรู้ข้อมูล
ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวหนัง
11. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามข้อสงสัย เพื่อให้มีความรู้
ความเข้าใจที่ถูกต้อง
7.การวัดและประเมินผล
วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
ตรวจแบบทดสอบก่อน
เรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน ร้อยละ 60 ผ่าน
เกณฑ์
ตรวจใบงานที่ 1.1 ใบงานที่ 1.1 ร้อยละ 60 ผ่าน
เกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการ
ทำางานกลุ่ม
แบบสังเกตพฤติกรรมการ
ทำางานกลุ่ม
ระดับคุณภาพ 2
ผ่านเกณฑ์
8.สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
8.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ป.1
2) นิทานเรื่อง ปูกับงู
3) ส้มเขียวหวาน
4) กระดาษ A4
5) สลาก
6) ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ข้อมูลส่วนตัว
8.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องสมุด
12
ชื่อ นามสกุล
ชื่อเล่น อายุ
เกิดวันที่ เดือน พ.ศ.
ภูมิลำาเนา
อาหารที่ชอบ
กีฬาโปรด
สัตว์เลี้ยงแสนรัก
2) สื่อต่างๆ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง
ข้อมูลส่วนตัว
คำาชี้แจง : เขียนข้อมูลส่วนตัวของนักเรียน พร้อมติดรูปภาพให้
สวยงาม
13
ชื่อ นามสกุล
ชื่อเล่น อายุ
เกิดวันที่ เดือน พ.ศ.
ภูมิลำาเนา
อาหารที่ชอบ
กีฬาโปรด
สัตว์เลี้ยงแสนรัก
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง
ข้อมูลส่วนตัว
คำาชี้แจง : เขียนข้อมูลส่วนตัวของนักเรียน พร้อมติดรูปภาพให้
สวยงาม
14
แบบสังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม
กลุ่มที่..................................................
สมาชิกของกลุ่ม 1.
.............................................................................. 2.
..............................................................................
3. .............................................................................. 4.
..............................................................................
5. .............................................................................. 6.
..............................................................................
ลำา
ดับ
ที่
พฤติกรรม
คุณภาพการ
ปฏิบัติ
3 2 1
1 มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น
2 มีความกระตือรือร้นในการทำางาน
15
3 รับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
4 มีขั้นตอนในการทำางานอย่างเป็นระบบ
5 ใช้เวลาในการทำางานอย่างเหมาะสม
รวม
ลงชื่อ..............................................................................ผู้ประเมิน
......................./.........................../........................
เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสมำ่าเสมอ = ดี ให้ 3
คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง = พอใช้ให้ 2
คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้งหรือน้อยครั้ง = ปรับปรุง
ให้ 1 คะแนน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
11-15
6-10
1-5
ดี
พอใช้
ปรับปรุง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 รับรู้ข้อมูล ชั้นประถม
ศึกษาปีที่ 1
เรื่อง ประเภทและประโยชน์ของข้อมูล เวลา 2
ชั่วโมง
1. สาระสำาคัญ/ความคิดรวบยอด
ข้อมูลที่อยู่รอบตัวมีความหลากหลาย และมีประโยชน์สำาหรับนำามา
ใช้ในชีวิตประจำาวัน
2. ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ตัวชี้วัด
16
ง 3.1 ป.1/1 บอกข้อมูลที่สนใจ และแหล่งข้อมูลที่อยู่
ใกล้ตัว
2.2 จุดประสงค์การเรียนรู้
1) จำาแนกประเภทของข้อมูลได้
2) บอกประโยชน์ของข้อมูลได้
3. สาระการเรียนรู้
3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
- ข้อมูลของสิ่งที่สนใจอาจเป็นข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล สัตว์
สิ่งของ เรื่องราว และเหตุการณ์ต่างๆ
3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
-
4.สมรรถนะสำาคัญของผู้เรียน
4.1 ความสามารถในการสื่อสาร
4.2 ความสามารถในการคิด
- ทักษะการคิดวิเคราะห์
- ทักษะการคิดสร้างสรรค์
4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
- กระบวนการสังเกต
- กระบวนการทำางานกลุ่ม
5.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินัย
1. ใฝ่เรียนรู้
6. กิจกรรมการเรียนรู้ (วิธีสอนโดยเน้นกระบวนการ :
กระบวนการคิดวิเคราะห์ )
1. ครูนำาข้อมูลประเภทต่างๆ ออกมาแสดงหน้าชั้นเรียน แล้วถาม
นักเรียนว่า สิ่งที่นักเรียนเห็น
อะไรบ้าง และเป็นข้อมูลเกี่ยวกับอะไร
- รูปช้าง
- แผ่นพับ
17
ชั่วโมง
ที่ 1
- ป้ายราคาสินค้า
2. ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า สิ่งที่ครูนำามาแสดงจัดเป็นข้อมูล
ภาพ ข้อมูลตัวอักษร และข้อมูล
ตัวเลข ตามลำาดับ
3. ให้นักเรียนศึกษาเรื่อง ประเภทของข้อมูล จากหนังสือเรียน
เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจมากยิ่งขึ้น
4. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับประเภทของข้อมูล
ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้
- ข้อมูลภาพ
- ข้อมูลตัวอักษร
- ข้อมูลตัวเลข
- ข้อมูลอื่นๆ
1. ครูตั้งคำาถามเพื่อให้นักเรียนช่วยกันตอบ เช่น
- ข้อมูลมีประโยชน์ในชีวิตประจำาวันอย่างไร
- การรับข้อมูลจำาเป็นจะต้องพิจารณาข้อเท็จจริง ความน่าเชื่อถือ
หรือไม่ อย่างไร
- ข้อมูลที่ดี มีลักษณะอย่างไร
2. ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า ข้อมูลในชีวิตประจำาวันมี
มากมาย ซึ่งเราสามารถนำาข้อมูลเหล่านี้
มาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำาวัน
3. ให้นักเรียนศึกษาเรื่อง ประโยชน์ของข้อมูล จากหนังสือเรียน
4. นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ที่ได้ศึกษา และทำาใบงานที่ 2.1
เรื่อง ประโยชน์ของข้อมูล เมื่อทำา
ใบงานเสร็จแล้ว ให้อาสาสมัครนักเรียน 2-3 คน ออกมานำาเสนอ
ผลงานหน้าชั้นเรียน
5. ให้นักเรียนรวบรวมข้อมูลที่นักเรียนสนใจมา 1 เรื่อง เพื่อเขียน
บันทึกความรู้ ครูและนักเรียน
นัดหมายเวลาในการส่งผลงาน
 นักเรียนทำาแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
7.การวัดและประเมินผล
18
ชั่วโมง
ที่ 2
วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
ตรวจใบงานที่ 2.1 ใบงานที่ 2.1 ร้อยละ 60 ผ่าน
เกณฑ์
ประเมินการเขียน
บันทึกข้อมูล
ที่สนใจ
แบบประเมินการเขียน
บันทึกข้อมูล
ที่สนใจ
ระดับคุณภาพ 2
ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการ
ทำางานกลุ่ม
แบบสังเกตพฤติกรรมการ
ทำางานกลุ่ม
ระดับคุณภาพ 2
ผ่านเกณฑ์
ตรวจแบบทดสอบหลัง
เรียน
แบบทดสอบหลังเรียน ร้อยละ 60 ผ่าน
เกณฑ์
8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
8.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ป.1
2) ตัวอย่างข้อมูลประเภทต่างๆ
3) ใบงานที่ 2.1 เรื่อง ประโยชน์ของข้อมูล
8.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องสมุด
2) ผู้ปกครอง / ผู้รู้
ใบงานที่ 2.1 เรื่อง
ประโยชน์ของข้อมูล
คำาชี้แจง : เขียนแผนผังความคิดสรุปประโยชน์ของข้อมูล
19
ประโ
ยชน์
ของ
ข้อมู
ล
ใบงานที่ 2.1 เรื่อง
ประโยชน์ของข้อมูล
คำาชี้แจง : เขียนแผนผังความคิดสรุปประโยชน์ของข้อมูล
20
ประโ
ยชน์
ของ
ข้อมู
ล
ชิ้นงาน/ภาระ
งาน (รวบยอด)
การเขียนบันทึกข้อมูลที่สนใจ
คำาชี้แจง : นักเรียนรวบรวมข้อมูลที่สนใจมา 1 เรื่อง แล้วบันทึก
ตามหัวข้อที่กำาหนด
21
ช่วยในการตัดสินใจ /
แก้ไขปัญหา
ช่วยพัฒนาชุมชน
และสังคม
ช่วยพัฒนา
ตนเอง
 ข้อมูลที่สนใจ
 ประเภทของข้อมูล
 รายละเอียดของข้อมูล
 ประโยชน์ของข้อมูล
แบบประเมินการเขียนบันทึกข้อมูลที่สนใจ
ชื่อ
.........................................................................................
.................. ชั้น .............................
รายการประเมิน คุณภาพผลงาน
22
ลำา
ดับ
ที่
3 2 1
1 ข้อมูลที่สนใจ
2 รายละเอียดของข้อมูล
3 การเขียนบันทึกข้อมูล
รวม
ลงชื่อ.................................................ผู้ประเมิน
............./............./.........
...
เกณฑ์การให้คะแนน
ดี = 3
พอใช้ = 2
ปรับปรุง = 1
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วง
คะแนน
ระดับ
คะแนน
7 - 9 ดี
4 - 6 พอใช้
1 - 3 ปรับปรุง
แบบสังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม
23
กลุ่มที่..................................................
สมาชิกของกลุ่ม 1.
.............................................................................. 2.
..............................................................................
3. .............................................................................. 4.
..............................................................................
5. .............................................................................. 6.
..............................................................................
ลำา
ดับ
ที่
พฤติกรรม
คุณภาพการ
ปฏิบัติ
3 2 1
1 มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น
2 มีความกระตือรือร้นในการทำางาน
3 รับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
4 มีขั้นตอนในการทำางานอย่างเป็นระบบ
5 ใช้เวลาในการทำางานอย่างเหมาะสม
รวม
ลงชื่อ..............................................................................ผู้ประเมิน
......................./.........................../........................
เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสมำ่าเสมอ = ดี ให้ 3
คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง = พอใช้ให้ 2
คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้งหรือน้อยครั้ง = ปรับปรุง
ให้ 1 คะแนน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
11-15
6-10
1-5
ดี
พอใช้
ปรับปรุง
24
แผนการจัดการ
25

More Related Content

What's hot

แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1
แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1
แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1
chartphysic
 
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษ
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษวิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษ
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษAoyly Aoyly
 
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2kruthirachetthapat
 
ทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศอิ่' เฉิ่ม
 
วิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุดวิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุด25462554
 
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์Kruorawan Kongpila
 
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยบทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยairja
 
แผนFamous people
แผนFamous peopleแผนFamous people
แผนFamous people
Ict Krutao
 
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
Thanawut Rattanadon
 
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูงปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
vru.ac.th
 
การสัมภาษณ์แหล่งข่าว
การสัมภาษณ์แหล่งข่าวการสัมภาษณ์แหล่งข่าว
การสัมภาษณ์แหล่งข่าว
sriburin
 

What's hot (14)

แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1
แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1
แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1
 
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษ
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษวิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษ
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษ
 
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2
 
หน่วยที่๘
หน่วยที่๘หน่วยที่๘
หน่วยที่๘
 
ทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศ
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2
 
หน่วยที่๙
หน่วยที่๙หน่วยที่๙
หน่วยที่๙
 
วิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุดวิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุด
 
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
 
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยบทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
 
แผนFamous people
แผนFamous peopleแผนFamous people
แผนFamous people
 
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
 
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูงปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
 
การสัมภาษณ์แหล่งข่าว
การสัมภาษณ์แหล่งข่าวการสัมภาษณ์แหล่งข่าว
การสัมภาษณ์แหล่งข่าว
 

Similar to หน่วยการเรียนรู้ที่ 1

เทคโนโลยี ป.1
เทคโนโลยี ป.1เทคโนโลยี ป.1
เทคโนโลยี ป.1
Kungkunk Naruk
 
ข้อมูลและแหล่งข้อมูลรอบตัว
ข้อมูลและแหล่งข้อมูลรอบตัวข้อมูลและแหล่งข้อมูลรอบตัว
ข้อมูลและแหล่งข้อมูลรอบตัวadd17m01y2528
 
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์keatsunee.b
 
Lesson2 1meterail
Lesson2 1meterailLesson2 1meterail
Lesson2 1meterailSamorn Tara
 
LibJu - 2.3 แหล่งสารสนเทศ
LibJu - 2.3 แหล่งสารสนเทศLibJu - 2.3 แหล่งสารสนเทศ
LibJu - 2.3 แหล่งสารสนเทศ
Ploykarn Lamdual
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012tassanee chaicharoen
 
บริการแนะแนว
บริการแนะแนวบริการแนะแนว
บริการแนะแนวwanwisa491
 
Chapter4 lecture
Chapter4 lectureChapter4 lecture
Chapter4 lecturesupimon1956
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
Portfolio 5-5 no.33
Portfolio 5-5 no.33Portfolio 5-5 no.33
Portfolio 5-5 no.33
jungsoekook97
 
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4dechathon
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
KruBeeKa
 
Portfolio ม.5/5 เลขที่ 33
Portfolio ม.5/5 เลขที่ 33Portfolio ม.5/5 เลขที่ 33
Portfolio ม.5/5 เลขที่ 33
jungsoekook97
 
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
รัชศวรรณ มูลหา
 
การสัมภาษณ์แหล่งข่าว
การสัมภาษณ์แหล่งข่าวการสัมภาษณ์แหล่งข่าว
การสัมภาษณ์แหล่งข่าว
sriburin
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4supphawan
 

Similar to หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 (20)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
ป.1 หน่วย1.1
ป.1 หน่วย1.1ป.1 หน่วย1.1
ป.1 หน่วย1.1
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 รับรู้ข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1  รับรู้ข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 1  รับรู้ข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 รับรู้ข้อมูล
 
เทคโนโลยี ป.1
เทคโนโลยี ป.1เทคโนโลยี ป.1
เทคโนโลยี ป.1
 
ข้อมูลและแหล่งข้อมูลรอบตัว
ข้อมูลและแหล่งข้อมูลรอบตัวข้อมูลและแหล่งข้อมูลรอบตัว
ข้อมูลและแหล่งข้อมูลรอบตัว
 
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
 
Lesson2 1meterail
Lesson2 1meterailLesson2 1meterail
Lesson2 1meterail
 
LibJu - 2.3 แหล่งสารสนเทศ
LibJu - 2.3 แหล่งสารสนเทศLibJu - 2.3 แหล่งสารสนเทศ
LibJu - 2.3 แหล่งสารสนเทศ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
 
บริการแนะแนว
บริการแนะแนวบริการแนะแนว
บริการแนะแนว
 
Chapter4 lecture
Chapter4 lectureChapter4 lecture
Chapter4 lecture
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
 
Portfolio 5-5 no.33
Portfolio 5-5 no.33Portfolio 5-5 no.33
Portfolio 5-5 no.33
 
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
 
Portfolio ม.5/5 เลขที่ 33
Portfolio ม.5/5 เลขที่ 33Portfolio ม.5/5 เลขที่ 33
Portfolio ม.5/5 เลขที่ 33
 
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
 
การสัมภาษณ์แหล่งข่าว
การสัมภาษณ์แหล่งข่าวการสัมภาษณ์แหล่งข่าว
การสัมภาษณ์แหล่งข่าว
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
 

More from อนงค์นารถ จันทร์ชนะ

More from อนงค์นารถ จันทร์ชนะ (12)

ใบงานที่ 2.1
ใบงานที่ 2.1ใบงานที่ 2.1
ใบงานที่ 2.1
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
ใบงานที่ 1.1
ใบงานที่ 1.1ใบงานที่ 1.1
ใบงานที่ 1.1
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
ใบงานที่ 2.2
ใบงานที่  2.2ใบงานที่  2.2
ใบงานที่ 2.2
 
ใบงานที่ 2.1
ใบงานที่  2.1ใบงานที่  2.1
ใบงานที่ 2.1
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่  1ใบงานที่  1
ใบงานที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
การนำไฟล์
การนำไฟล์การนำไฟล์
การนำไฟล์
 

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1

  • 1. หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 รับรู้ข้อมูล รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กลุ่ม สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เวลา เรียน 4 ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ง 3.1 ป.1/1 บอกข้อมูลที่สนใจ และแหล่งข้อมูลที่อยู่ ใกล้ตัว 2. สาระสำาคัญ/ความคิดรวบยอด ข้อมูลเป็นเรื่องราวหรือสิ่งต่างๆ ที่สามารถรับรู้ได้จากแหล่งข้อมูล ที่อยู่ใกล้ตัว 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง - ข้อมูลของสิ่งที่สนใจอาจเป็นข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล สัตว์ สิ่งของ เรื่องราว และเหตุการณ์ต่างๆ 3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น - 4.สมรรถนะสำาคัญของผู้เรียน 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 4.2 ความสามารถในการคิด - ทักษะการคิดวิเคราะห์ - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ 4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต - กระบวนการสังเกต - กระบวนการทำางานกลุ่ม 5.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 1
  • 2. 6. ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) การเขียนบันทึกข้อมูลที่สนใจ 7. การวัดและการประเมินผล 7.1 การประเมินก่อนเรียน  นักเรียนทำาแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 7.2 การประเมินระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1) ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ข้อมูลส่วนตัว 2) ใบงานที่ 2.1 เรื่อง ประโยชน์ของข้อมูล 3) สังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม 7.3 การประเมินหลังเรียน  นักเรียนทำาแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 7.4 การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)  ประเมินการเขียนบันทึกข้อมูลที่สนใจ การประเมินชิ้นงาน / ภาระงาน (รวบยอด) แบบประเมินการเขียนบันทึกข้อมูลที่สนใจ คำาอธิบายระดับคุณภาพ / ระดับคะแนน 2
  • 3. รายการ ประเมิน ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1) 1. ข้อมูลที่ สนใจ เลือกข้อมูลที่เป็น ประโยชน์ น่าสนใจ เลือกข้อมูลที่เป็น ประโยชน์ แต่ไม่น่าสนใจ เลือกข้อมูลที่ไม่เป็น ประโยชน์ และไม่น่าสนใจ 2. ราย ละเอียด ของ ข้อมูล บอกรายละเอียดของ ข้อมูล ได้ถูกต้อง ชัดเจน ครบถ้วน บอกรายละเอียดของ ข้อมูล ได้ถูกต้อง ชัดเจน เป็นส่วนใหญ่ บอกรายละเอียดของ ข้อมูล ได้ถูกต้องเพียงบาง ส่วน 3. การ เขียน บันทึก ข้อมูล ใช้ภาษาถูกต้อง อ่านเข้าใจง่าย เขียนสะกดคำาถูก ต้องทั้งหมด ใช้ภาษาถูกต้อง อ่านเข้าใจง่าย เขียนสะกดคำาผิด เป็นส่วนน้อย ใช้ภาษาถูกต้องบาง ส่วน อ่านไม่เข้าใจ เขียน สะกดคำาผิดเป็นส่วน ใหญ่ เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 7-9 ดี 4-6 พอใช้ 1-3 ปรับปรุง 8. กิจกรรมการเรียนรู้  นักเรียนทำาแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 กิจกรรมที่ 1 ความหมายของข้อมูล เวลา 2 ชั่วโมง 3
  • 4. (วิธีสอนโดยการใช้เกม และวิธีสอนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการกลุ่ม) 1. ครูเล่านิทานเรื่อง ปูกับงู ให้นักเรียนฟัง เมื่อฟังนิทานจบแล้ว ให้นักเรียนให้นักเรียนร่วมกัน ตอบคำาถาม 2. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปข้อคิดที่ได้จากนิทานเรื่องนี้ว่า คน ที่ไร้ความซื่อสัตย์ ยากที่จะสำานึก ตัวได้ แม้เมื่อตายจากโลกนี้ไปแล้ว 3. ครูอธิบายให้นักเรียนทราบว่า การฟังนิทานเป็นการรับข้อมูล ผ่านประสาทสัมผัสทางหู ซึ่งการ รับข้อมูลในชีวิตประจำาวันของคนเรามีมากมายและหลากหลาย จึงควรรู้จักเลือกรับข้อมูลต่างๆ มาใช้ให้เกิดประโยชน์ 4. ให้นักเรียนช่วยกันบอกว่า คนเราสามารถรับข้อมูลผ่านทางใด บ้าง แล้วยกตัวอย่างประกอบ ข้อมูลรอบตัว 5. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ออกเป็น 6 กลุ่มเท่าๆ กัน เพื่อศึกษา ความรู้เกี่ยวกับข้อมูลรอบตัว โดยครู แนะนำาให้นักเรียนใช้หนังสือเรียนประกอบการศึกษา แต่ละ กลุ่มสรุปความรู้ที่ได้ร่วมกันศึกษา 6. ครูให้ตัวแทนของแต่ละกลุ่มออกมาจับสลาก เพื่อร่วมกันตอบ คำาถามและยกตัวอย่างเกี่ยวกับ ข้อมูลรอบตัวที่ครูกำาหนดในสลาก 7. ครูตรวจสอบคำาตอบ และการยกตัวอย่างของนักเรียน 8. ให้นักเรียนทำาใบงานที่ 1.1 เรื่อง ข้อมูลส่วนตัว 9. ครูนำาถาดขนาดใหญ่ใส่ส้มเขียวหวานที่มีจำานวนเท่ากับ นักเรียนในชั้น มาแสดงหน้าชั้นเรียน 10.ให้ตัวแทนนักเรียน 2 คน ออกมารับถาดส้มเขียวหวาน และ กระดาษ A4 เพื่อแจกให้สมาชิก ในชั้นเรียน เมื่อนักเรียนได้รับส้มเขียวหวาน และกระดาษ A4 แล้ว ให้นักเรียนฟังคำาถามจาก ครูและตอบคำาถามลงในกระดาษที่ครูแจกให้ 11.ให้นักเรียนช่วยกันบอกว่า นักเรียนสามารถตอบคำาถามทั้ง 4 ข้อที่ครูถามได้อย่างไร 4
  • 5. 12. ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจาก กิจกรรม และการรับรู้ข้อมูล ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวหนัง ครู เปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถาม ข้อสงสัย เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง กิจกรรมที่ 2 ประเภทและประโยชน์ของข้อมูล เวลา 2 ชั่วโมง (วิธีสอนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการคิดวิเคราะห์) 1. ครูนำาข้อมูลประเภทต่างๆ ออกมาแสดงหน้าชั้นเรียน แล้วถาม นักเรียนว่า สิ่งที่นักเรียน เห็นมีอะไรบ้าง และเป็นข้อมูลเกี่ยวกับอะไร 2. ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า สิ่งที่ครูนำามาแสดงจัดเป็นข้อมูล ภาพ ข้อมูลตัวอักษร และข้อมูล ตัวเลข ตามลำาดับ 3. ให้นักเรียนศึกษาเรื่อง ประเภทของข้อมูล จากหนังสือเรียน เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจมาก ยิ่งขึ้น 4. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับประเภทของข้อมูล 5. ครูตั้งคำาถามเพื่อให้นักเรียนช่วยกันตอบ 6. ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า ข้อมูลในชีวิตประจำาวันมี มากมาย ซึ่งสามารถนำาข้อมูลเหล่านี้ มาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำาวัน 7. ให้นักเรียนศึกษาเรื่อง ประโยชน์ของข้อมูล จาก หนังสือเรียน 8. นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ และทำาใบงานที่ 2.1 เรื่อง ประโยชน์ของข้อมูล 9. ให้นักเรียนรวบรวมข้อมูลที่นักเรียนสนใจมา 1 เรื่อง เพื่อเขียน บันทึกความรู้  นักเรียนทำาแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 9.1 สื่อการเรียนรู้ 5
  • 6. 1) หนังสือเรียน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ป.1 2) นิทาน เรื่อง ปูกับงู 3) ส้มเขียวหวาน 4) กระดาษ A4 5) สลาก 6) ตัวอย่าง ข้อมูลประเภทต่างๆ 7) ใบงาน 9.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องสมุด 2) สื่อต่างๆ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ 3) ผู้ปกครอง / ผู้รู้ แบบทดสอบก่อน- หลังเรียน หน่วยการ เรียนรู้ที่ 1 คำาชี้แจง : กา  คำาตอบที่ถูกทีีี่สุด 1. ข้อใดกล่าวถึงความหมายของข้อมูลได้ถูกต้อง ก. ข้อเท็จจริงของสถานที่ต่างๆ ข. เหตุการณ์เกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ค. ข้อเท็จจริง หรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่างๆ 2. ข้อมูลของนักเรียน เป็นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับข้อใด ก. ข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล ข. ข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งของ ค. ข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ 3. ข้อใดจัดเป็นข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ ก. ข้อมูลเกี่ยวกับอาหารไทย ข. ข้อมูลเกี่ยวกับวัดพระแก้ว ค. ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ปกครอง 4. ข้อใดกล่าวถึงข้อมูลไม่ถูกต้อง ก. ปลาทองเป็นปลานำ้าจืด ข. แมวเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ค. เต่าเป็นสัตว์เลื้อยคลานที่มีอายุสั้น 6
  • 7. 5. การรับรู้รสชาติอาหาร เป็นการรับรู้ข้อมูลผ่านประสาทสัมผัสใด ก. ตา ข. ลิ้น ค. ปาก 6. APPLE จัดเป็นข้อมูลประเภทใด ก. ข้อมูลภาพ ข. ข้อมูลตัวอักษร ค. ข้อมูลตัวเลข 7. การเปิดเพลงที่ชื่นชอบฟัง จัดเป็นการรับข้อมูลประเภทใด ก. ข้อมูลภาพ ข. ข้อมูลตัวอักษร ค. ข้อมูลอื่นๆ 8. การนำาข้อมูลทางการแพทย์มาปฏิบัติตนเพื่อป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 จัดเป็นประโยชน์ในด้านใด ก. ด้านพัฒนาตนเอง ข. ด้านการแก้ไขปัญหา ค. ด้านการพัฒนาชุมชน 9. ข้อใดเป็นการนำาประโยชน์ของข้อมูลมาพัฒนาชุมชน ก. การปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย ข. การปรับเวลาในการอ่านหนังสือให้เหมาะสม ค. การสร้างสนามเด็กเล่นในโรงเรียนให้เพียงพอกับจำานวนเด็ก 10. หากนักเรียนไม่สามารถรับรสชาติของอาหารได้ นักเรียนคิดว่าจะเกิด ผลอย่างไร ก. ขาดการรับข้อมูลทางลิ้น ข. ขาดการรับข้อมูลทางผิวหนัง ค. ขาดการรับข้อมูลทางประสาทสัมผัส 7
  • 8. เฉลย แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 เฉล ย ค ก ข ค ข ข ค ข ค ก แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 รับรู้ข้อมูล ชั้นประถม ศึกษาปีที่ 1 เรื่อง ความหมายของข้อมูล เวลา 2 ชั่วโมง 1. สาระสำาคัญ/ความคิดรวบยอด ข้อมูลเป็นข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัว เรา 2. ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 ตัวชี้วัด ง 3.1 ป.1/1 บอกข้อมูลที่สนใจ และแหล่งข้อมูลที่อยู่ ใกล้ตัว 2.2 จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) อธิบายข้อมูลที่อยู่ใกล้ตัวได้ 2) บอกแหล่งของข้อมูลที่สนใจได้ 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง - ข้อมูลของสิ่งที่สนใจอาจเป็นข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล สัตว์ สิ่งของ เรื่องราว และเหตุการณ์ต่างๆ 3.3 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น - 8
  • 9. 4.สมรรถนะสำาคัญของผู้เรียน 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 4.2 ความสามารถในการคิด - ทักษะการคิดวิเคราะห์ - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ 4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต - กระบวนการสังเกต - กระบวนการทำางานกลุ่ม 5.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 6. กิจกรรมการเรียนรู้ (วิธีสอนโดยการใช้เกม และวิธี สอนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการกลุ่ม )  นักเรียนทำาแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 1. ครูเล่านิทานเรื่อง ปูกับงู ให้นักเรียนฟัง 2. เมื่อฟังนิทานจบแล้วให้นักเรียนร่วมกันตอบคำาถาม ดังนี้ - นิทานเรื่องนี้มีตัวละครกี่ตัว - เหตุใดปูจึงหนีบงูตาย - ข้อคิดที่ได้รับจากนิทาน 3. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปข้อคิดที่ได้จากนิทานเรื่องนี้ว่า คนที่ ไร้ความซื่อสัตย์ ยากที่จะสำานึก ตัวได้ แม้เมื่อตายจากโลกนี้ไปแล้ว 9 ชั่วโมง ที่ 1 ปูกับงูเป็นเพื่อนที่คบหากันมานาน ปูนั้นซื่อตรงต่องูไม่เคย ทรยศหักหลัง ตรงกันข้ามกับงู ซึ่งมักไม่ซื่อตรงทำาให้ปูได้รับ ความเดือดร้อนอยู่เสมอ แม้จะพยายามตักเตือนอย่างไรแต่งูก็ ไม่ยอมกลับตัว จนในที่สุดปูหมดความอดทนจึงใช้ก้ามหนีบงูจน ตาย “ ถ้าจิตใจของเจ้าซื่อตรงเหมือนร่างของเจ้าที่นอนยาวเหยียดอยู่ เช่นนี้ เจ้าก็คงไม่ต้องพบจุดจบ ในวันนี้ ”
  • 10. 4. ครูอธิบายให้นักเรียนทราบว่า การฟังนิทานเป็นการรับข้อมูล ผ่านประสาทสัมผัสทางหู ซึ่งการ รับข้อมูลในชีวิตประจำาวันของคนเรามีมากมายและหลากหลาย จึงควรรู้จักเลือกรับข้อมูล ต่างๆ มาใช้ให้เกิดประโยชน์ 5. ให้นักเรียนช่วยกันบอกว่า คนเราสามารถรับข้อมูลผ่านทางใด บ้าง แล้วยกตัวอย่างประกอบ เช่น การรับข้อมูลจากการมองเห็น (ภาพต่างๆ) 6. ให้นักเรียนบอกความหมายของคำาว่า ข้อมูล ตามที่นักเรียน เข้าใจ แล้วครูอธิบายให้นักเรียนฟัง ว่าข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ได้แก่ คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ รวมถึงสิ่งต่างๆ ที่เรารับรู้โดยการดู ฟัง ดมกลิ่น สัมผัส และชิม รสชาติ 7. ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า ข้อมูลรอบตัวมีมากมาย ซึ่ง สามารถจำาแนกได้ ดังนี้ 1) ข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล 2) ข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ 3) ข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งของ 4) ข้อมูลเกี่ยวกับสัตว์ 5) ข้อมูลเกี่ยวกับพืช 6) ข้อมูลเกี่ยวกับธรรมชาติ 8. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็น 6 กลุ่มเท่าๆ กัน เพื่อศึกษาความรู้ เกี่ยวกับข้อมูลรอบตัว โดยครู แนะนำาให้นักเรียนใช้หนังสือเรียนประกอบการศึกษา ชั่วโมง ที่ 2 1. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสรุปความรู้ที่ได้ร่วมกันศึกษา 2. ครูให้ตัวแทนของแต่ละกลุ่มออกมาจับสลาก เพื่อร่วมกันตอบ คำาถามและยกตัวอย่างเกี่ยวกับ ข้อมูลรอบตัวที่ครูกำาหนดในสลาก ดังนี้ สลากหมายเลข 1 อธิบายความหมายข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล และยกตัวอย่าง 10
  • 11. สลากหมายเลข 2 อธิบายความหมายข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ และยกตัวอย่าง สลากหมายเลข 3 อธิบายความหมายข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งของ และยกตัวอย่าง สลากหมายเลข 4 อธิบายความหมายข้อมูลเกี่ยวกับสัตว์ และ ยกตัวอย่าง สลากหมายเลข 5 อธิบายความหมายข้อมูลเกี่ยวกับพืช และ ยกตัวอย่าง สลากหมายเลข 6 อธิบายความหมายข้อมูลเกี่ยวกับธรรมชาติ และยกตัวอย่าง 3. ครูตรวจสอบคำาตอบ และการยกตัวอย่างของนักเรียน 4. ให้นักเรียนทำาใบงานที่ 1.1 เรื่อง ข้อมูลส่วนตัว เป็นการบ้าน แล้วนำาส่งครูตรวจในชั่วโมงเรียน ต่อไป 5. ครูนำาถาดขนาดใหญ่ใส่ส้มเขียวหวานที่มีจำานวนเท่ากับ นักเรียนทั้งชั้น มาแสดงหน้าชั้นเรียน 6. ให้ตัวแทนนักเรียน 2 คน ออกมารับถาดส้มเขียวหวาน และ กระดาษ A4 เพื่อแจกให้สมาชิก ในชั้นเรียน 7. เมื่อนักเรียนได้รับส้มเขียวหวาน และกระดาษ A4 แล้ว ให้ นักเรียนฟังคำาถามจากครูและตอบ คำาถามลงในกระดาษที่ครูแจกให้ 8. ครูให้ตัวแทนนักเรียนเก็บกระดาษคำาตอบส่งครู แล้วร่วมกัน เฉลยคำาตอบที่ถูกต้อง 9. ให้นักเรียนช่วยกันบอกว่า นักเรียนสามารถตอบคำาถามทั้ง 4 ข้อ ที่ครูถามได้อย่างไร โดยมี 11 คำาถาม 1. ส้มเขียวหวานมีลักษณะรูปร่างเป็นอย่างไร 2. ส้มเขียวหวานมีลักษณะพื้นผิวเป็นอย่างไร 3. ส้มเขียวหวานมีกลิ่นอย่างไร 4. ส้มเขียวหวานมีรสชาติอย่างไร
  • 12. แนวคำาตอบ ดังนี้ - ส้มเขียวหวานมีลักษณะรูปร่างกลม (การมอง) - ส้มเขียวหวานมีลักษณะพื้นผิวเรียบ (การสัมผัสการลูบ) - ส้มเขียวหวานมีกลิ่นหอม (การดมสูดกลิ่น) - ส้มเขียวหวานมีรสชาติหวาน / เปรี้ยว (การชิมรส) 10. ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจาก กิจกรรม และการรับรู้ข้อมูล ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวหนัง 11. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามข้อสงสัย เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง 7.การวัดและประเมินผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบก่อน เรียน แบบทดสอบก่อนเรียน ร้อยละ 60 ผ่าน เกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 1.1 ใบงานที่ 1.1 ร้อยละ 60 ผ่าน เกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการ ทำางานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการ ทำางานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ 8.สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ 1) หนังสือเรียน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ป.1 2) นิทานเรื่อง ปูกับงู 3) ส้มเขียวหวาน 4) กระดาษ A4 5) สลาก 6) ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ข้อมูลส่วนตัว 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องสมุด 12
  • 13. ชื่อ นามสกุล ชื่อเล่น อายุ เกิดวันที่ เดือน พ.ศ. ภูมิลำาเนา อาหารที่ชอบ กีฬาโปรด สัตว์เลี้ยงแสนรัก 2) สื่อต่างๆ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ข้อมูลส่วนตัว คำาชี้แจง : เขียนข้อมูลส่วนตัวของนักเรียน พร้อมติดรูปภาพให้ สวยงาม 13
  • 14. ชื่อ นามสกุล ชื่อเล่น อายุ เกิดวันที่ เดือน พ.ศ. ภูมิลำาเนา อาหารที่ชอบ กีฬาโปรด สัตว์เลี้ยงแสนรัก ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ข้อมูลส่วนตัว คำาชี้แจง : เขียนข้อมูลส่วนตัวของนักเรียน พร้อมติดรูปภาพให้ สวยงาม 14
  • 15. แบบสังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม กลุ่มที่.................................................. สมาชิกของกลุ่ม 1. .............................................................................. 2. .............................................................................. 3. .............................................................................. 4. .............................................................................. 5. .............................................................................. 6. .............................................................................. ลำา ดับ ที่ พฤติกรรม คุณภาพการ ปฏิบัติ 3 2 1 1 มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น 2 มีความกระตือรือร้นในการทำางาน 15
  • 16. 3 รับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย 4 มีขั้นตอนในการทำางานอย่างเป็นระบบ 5 ใช้เวลาในการทำางานอย่างเหมาะสม รวม ลงชื่อ..............................................................................ผู้ประเมิน ......................./.........................../........................ เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสมำ่าเสมอ = ดี ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง = พอใช้ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้งหรือน้อยครั้ง = ปรับปรุง ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 11-15 6-10 1-5 ดี พอใช้ ปรับปรุง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 รับรู้ข้อมูล ชั้นประถม ศึกษาปีที่ 1 เรื่อง ประเภทและประโยชน์ของข้อมูล เวลา 2 ชั่วโมง 1. สาระสำาคัญ/ความคิดรวบยอด ข้อมูลที่อยู่รอบตัวมีความหลากหลาย และมีประโยชน์สำาหรับนำามา ใช้ในชีวิตประจำาวัน 2. ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 ตัวชี้วัด 16
  • 17. ง 3.1 ป.1/1 บอกข้อมูลที่สนใจ และแหล่งข้อมูลที่อยู่ ใกล้ตัว 2.2 จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) จำาแนกประเภทของข้อมูลได้ 2) บอกประโยชน์ของข้อมูลได้ 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง - ข้อมูลของสิ่งที่สนใจอาจเป็นข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล สัตว์ สิ่งของ เรื่องราว และเหตุการณ์ต่างๆ 3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น - 4.สมรรถนะสำาคัญของผู้เรียน 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 4.2 ความสามารถในการคิด - ทักษะการคิดวิเคราะห์ - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ 4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต - กระบวนการสังเกต - กระบวนการทำางานกลุ่ม 5.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 1. ใฝ่เรียนรู้ 6. กิจกรรมการเรียนรู้ (วิธีสอนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการคิดวิเคราะห์ ) 1. ครูนำาข้อมูลประเภทต่างๆ ออกมาแสดงหน้าชั้นเรียน แล้วถาม นักเรียนว่า สิ่งที่นักเรียนเห็น อะไรบ้าง และเป็นข้อมูลเกี่ยวกับอะไร - รูปช้าง - แผ่นพับ 17 ชั่วโมง ที่ 1
  • 18. - ป้ายราคาสินค้า 2. ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า สิ่งที่ครูนำามาแสดงจัดเป็นข้อมูล ภาพ ข้อมูลตัวอักษร และข้อมูล ตัวเลข ตามลำาดับ 3. ให้นักเรียนศึกษาเรื่อง ประเภทของข้อมูล จากหนังสือเรียน เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจมากยิ่งขึ้น 4. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับประเภทของข้อมูล ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้ - ข้อมูลภาพ - ข้อมูลตัวอักษร - ข้อมูลตัวเลข - ข้อมูลอื่นๆ 1. ครูตั้งคำาถามเพื่อให้นักเรียนช่วยกันตอบ เช่น - ข้อมูลมีประโยชน์ในชีวิตประจำาวันอย่างไร - การรับข้อมูลจำาเป็นจะต้องพิจารณาข้อเท็จจริง ความน่าเชื่อถือ หรือไม่ อย่างไร - ข้อมูลที่ดี มีลักษณะอย่างไร 2. ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า ข้อมูลในชีวิตประจำาวันมี มากมาย ซึ่งเราสามารถนำาข้อมูลเหล่านี้ มาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำาวัน 3. ให้นักเรียนศึกษาเรื่อง ประโยชน์ของข้อมูล จากหนังสือเรียน 4. นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ที่ได้ศึกษา และทำาใบงานที่ 2.1 เรื่อง ประโยชน์ของข้อมูล เมื่อทำา ใบงานเสร็จแล้ว ให้อาสาสมัครนักเรียน 2-3 คน ออกมานำาเสนอ ผลงานหน้าชั้นเรียน 5. ให้นักเรียนรวบรวมข้อมูลที่นักเรียนสนใจมา 1 เรื่อง เพื่อเขียน บันทึกความรู้ ครูและนักเรียน นัดหมายเวลาในการส่งผลงาน  นักเรียนทำาแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 7.การวัดและประเมินผล 18 ชั่วโมง ที่ 2
  • 19. วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 2.1 ใบงานที่ 2.1 ร้อยละ 60 ผ่าน เกณฑ์ ประเมินการเขียน บันทึกข้อมูล ที่สนใจ แบบประเมินการเขียน บันทึกข้อมูล ที่สนใจ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการ ทำางานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการ ทำางานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบหลัง เรียน แบบทดสอบหลังเรียน ร้อยละ 60 ผ่าน เกณฑ์ 8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ 1) หนังสือเรียน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ป.1 2) ตัวอย่างข้อมูลประเภทต่างๆ 3) ใบงานที่ 2.1 เรื่อง ประโยชน์ของข้อมูล 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องสมุด 2) ผู้ปกครอง / ผู้รู้ ใบงานที่ 2.1 เรื่อง ประโยชน์ของข้อมูล คำาชี้แจง : เขียนแผนผังความคิดสรุปประโยชน์ของข้อมูล 19
  • 20. ประโ ยชน์ ของ ข้อมู ล ใบงานที่ 2.1 เรื่อง ประโยชน์ของข้อมูล คำาชี้แจง : เขียนแผนผังความคิดสรุปประโยชน์ของข้อมูล 20
  • 21. ประโ ยชน์ ของ ข้อมู ล ชิ้นงาน/ภาระ งาน (รวบยอด) การเขียนบันทึกข้อมูลที่สนใจ คำาชี้แจง : นักเรียนรวบรวมข้อมูลที่สนใจมา 1 เรื่อง แล้วบันทึก ตามหัวข้อที่กำาหนด 21 ช่วยในการตัดสินใจ / แก้ไขปัญหา ช่วยพัฒนาชุมชน และสังคม ช่วยพัฒนา ตนเอง
  • 22.  ข้อมูลที่สนใจ  ประเภทของข้อมูล  รายละเอียดของข้อมูล  ประโยชน์ของข้อมูล แบบประเมินการเขียนบันทึกข้อมูลที่สนใจ ชื่อ ......................................................................................... .................. ชั้น ............................. รายการประเมิน คุณภาพผลงาน 22
  • 23. ลำา ดับ ที่ 3 2 1 1 ข้อมูลที่สนใจ 2 รายละเอียดของข้อมูล 3 การเขียนบันทึกข้อมูล รวม ลงชื่อ.................................................ผู้ประเมิน ............./............./......... ... เกณฑ์การให้คะแนน ดี = 3 พอใช้ = 2 ปรับปรุง = 1 เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วง คะแนน ระดับ คะแนน 7 - 9 ดี 4 - 6 พอใช้ 1 - 3 ปรับปรุง แบบสังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม 23
  • 24. กลุ่มที่.................................................. สมาชิกของกลุ่ม 1. .............................................................................. 2. .............................................................................. 3. .............................................................................. 4. .............................................................................. 5. .............................................................................. 6. .............................................................................. ลำา ดับ ที่ พฤติกรรม คุณภาพการ ปฏิบัติ 3 2 1 1 มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น 2 มีความกระตือรือร้นในการทำางาน 3 รับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย 4 มีขั้นตอนในการทำางานอย่างเป็นระบบ 5 ใช้เวลาในการทำางานอย่างเหมาะสม รวม ลงชื่อ..............................................................................ผู้ประเมิน ......................./.........................../........................ เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสมำ่าเสมอ = ดี ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง = พอใช้ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้งหรือน้อยครั้ง = ปรับปรุง ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 11-15 6-10 1-5 ดี พอใช้ ปรับปรุง 24