SlideShare a Scribd company logo
โดย
นายคณิน วงศ์ใหญ่
กฎหมายอาญา ภาค 1
ความหมาย
ความหมายอย่างแคบ
กฎหมายที่ว่าด้วยความผิดและโทษ
ความหมายอย่างกว้าง
บรรดากฎหมายทั้งหลายที่ระบุถึงความผิดอาญา โทษ
วิธีการเพื่อความปลอดภัยและมาตรการบังคับทาง
อาญาอื่น
ความผิด
 ความผิดในตัวเอง mala inse
 ความผิดที่กฎหมายบัญญัติ mala prohibita
 ความผิดโดยเด็ดขาด strict liability
โทษ
 มาตรา 18
 ประหาร
 จาคุก
 กักขัง
 ปรับ
 ริบทรัพย์
หลักประกันของประชาชนในการใช้กฎหมายความอาญา
 หัวใจของกฎหมายอาญา ม.2
 หลักไม่มีกฎหมายไม่มีโทษ
 No punishment without law
 Nulla poena sine lege
 เป็นหลักป้องกันมิให้เจ้าหน้าที่รัฐใช้อานาจเกินขอบเขต
 จาแนกเป็นกฎ 4 ข้อ
หลักประกันของประชาชนในการใช้กฎหมายความอาญา
 กฎหมายต้องชัดเจนแน่นอน
 ห้ามใช้กฎหมายประเพณีมาลงโทษ
 ห้ามใช้กฎหมายใกล้เคียงอย่างยิ่งมาลงโทษ
 กฎหมายไม่มีผลย้อนหลัง
การตีความ
 ตีความหมายความหมายพจณานุกรม
 ตีความโดยพิจารณาเจตนารมณ์ของกฎหมาย (คุณธรรมทางกฎหมาย)
 ตีความจากประวัติศาสตร์
 ตีความตามความสัมพันธ์ของบัญญัติกฎหมาย
ข้อสังเกตของการตีความ
 หลักยกประโยชน์แห่งความสงสัยให้แก่ผู้ต้องหา หรือจาเลย
in dubio pro reo
 วิอาญา ม.227
“เมื่อมีความสงสัยตามสมควรว่าจาเลยได้กระทาผิดหรือไม่ ให้ยกประโยชน์แห่งความ
สงสัยให้จาเลย”

More Related Content

What's hot

กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้
montira
 
ทหารกับการทำหน้าที่บังคับใช้กฎหมาย
ทหารกับการทำหน้าที่บังคับใช้กฎหมายทหารกับการทำหน้าที่บังคับใช้กฎหมาย
ทหารกับการทำหน้าที่บังคับใช้กฎหมายhideuki
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีthnaporn999
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003billy ratchadamri
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2 กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
AJ Por
 
ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปSiriyagon Pusod
 
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายbilly ratchadamri
 
เฉลยข้อสอบติว
เฉลยข้อสอบติวเฉลยข้อสอบติว
เฉลยข้อสอบติวMac Legendlaw
 
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้นชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้นMac Legendlaw
 
อาญาภาค 1 บทที่ 4 โครงสร้าง 3 ความชั่ว (ยกเว้นโทษ)
อาญาภาค 1 บทที่ 4 โครงสร้าง 3 ความชั่ว (ยกเว้นโทษ)อาญาภาค 1 บทที่ 4 โครงสร้าง 3 ความชั่ว (ยกเว้นโทษ)
อาญาภาค 1 บทที่ 4 โครงสร้าง 3 ความชั่ว (ยกเว้นโทษ)
Kanin Wongyai
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีthnaporn999
 
ระบอบประชาธิปไตย 3
ระบอบประชาธิปไตย 3ระบอบประชาธิปไตย 3
ระบอบประชาธิปไตย 3thnaporn999
 
พรบคอมพิวเตอร์
พรบคอมพิวเตอร์พรบคอมพิวเตอร์
พรบคอมพิวเตอร์
Bosspattarapon
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
Andy Hung
 
Policy computer manual
Policy computer manualPolicy computer manual
Policy computer manualMJ's Can Do
 

What's hot (19)

กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้
 
T1 b1
T1 b1T1 b1
T1 b1
 
ทหารกับการทำหน้าที่บังคับใช้กฎหมาย
ทหารกับการทำหน้าที่บังคับใช้กฎหมายทหารกับการทำหน้าที่บังคับใช้กฎหมาย
ทหารกับการทำหน้าที่บังคับใช้กฎหมาย
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2 กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
ลักษณะความผิดทางอาญา
ลักษณะความผิดทางอาญาลักษณะความผิดทางอาญา
ลักษณะความผิดทางอาญา
 
ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
 
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
 
เฉลยข้อสอบติว
เฉลยข้อสอบติวเฉลยข้อสอบติว
เฉลยข้อสอบติว
 
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้นชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
 
อาญาภาค 1 บทที่ 4 โครงสร้าง 3 ความชั่ว (ยกเว้นโทษ)
อาญาภาค 1 บทที่ 4 โครงสร้าง 3 ความชั่ว (ยกเว้นโทษ)อาญาภาค 1 บทที่ 4 โครงสร้าง 3 ความชั่ว (ยกเว้นโทษ)
อาญาภาค 1 บทที่ 4 โครงสร้าง 3 ความชั่ว (ยกเว้นโทษ)
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
เนติบัณฑิตคืออะไร
เนติบัณฑิตคืออะไรเนติบัณฑิตคืออะไร
เนติบัณฑิตคืออะไร
 
ระบอบประชาธิปไตย 3
ระบอบประชาธิปไตย 3ระบอบประชาธิปไตย 3
ระบอบประชาธิปไตย 3
 
พรบคอมพิวเตอร์
พรบคอมพิวเตอร์พรบคอมพิวเตอร์
พรบคอมพิวเตอร์
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
กฎหมายที่ใช้เรียนเนติฯ
กฎหมายที่ใช้เรียนเนติฯกฎหมายที่ใช้เรียนเนติฯ
กฎหมายที่ใช้เรียนเนติฯ
 
Policy computer manual
Policy computer manualPolicy computer manual
Policy computer manual
 

More from Kanin Wongyai

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updated
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updatedความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updated
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updated
Kanin Wongyai
 
ละเมิด
ละเมิดละเมิด
ละเมิด
Kanin Wongyai
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61
Kanin Wongyai
 
อาญาภาค 1 บทที่ 9 ขอบเขตของการใช้กฎหมาย
อาญาภาค 1 บทที่ 9 ขอบเขตของการใช้กฎหมายอาญาภาค 1 บทที่ 9 ขอบเขตของการใช้กฎหมาย
อาญาภาค 1 บทที่ 9 ขอบเขตของการใช้กฎหมาย
Kanin Wongyai
 
อาญาภาค 1 บทที่ 8 ผู้กระทำความผิดหลายคน
อาญาภาค 1 บทที่ 8 ผู้กระทำความผิดหลายคนอาญาภาค 1 บทที่ 8 ผู้กระทำความผิดหลายคน
อาญาภาค 1 บทที่ 8 ผู้กระทำความผิดหลายคน
Kanin Wongyai
 
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิดอาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
Kanin Wongyai
 
อาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาด
อาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาดอาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาด
อาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาด
Kanin Wongyai
 
อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2
อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2
อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2
Kanin Wongyai
 
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอกอาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
Kanin Wongyai
 
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิดอาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
Kanin Wongyai
 
แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง ฉบับเผยแพร่
แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง  ฉบับเผยแพร่แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง  ฉบับเผยแพร่
แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง ฉบับเผยแพร่
Kanin Wongyai
 
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอกอาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
Kanin Wongyai
 

More from Kanin Wongyai (12)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updated
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updatedความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updated
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updated
 
ละเมิด
ละเมิดละเมิด
ละเมิด
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61
 
อาญาภาค 1 บทที่ 9 ขอบเขตของการใช้กฎหมาย
อาญาภาค 1 บทที่ 9 ขอบเขตของการใช้กฎหมายอาญาภาค 1 บทที่ 9 ขอบเขตของการใช้กฎหมาย
อาญาภาค 1 บทที่ 9 ขอบเขตของการใช้กฎหมาย
 
อาญาภาค 1 บทที่ 8 ผู้กระทำความผิดหลายคน
อาญาภาค 1 บทที่ 8 ผู้กระทำความผิดหลายคนอาญาภาค 1 บทที่ 8 ผู้กระทำความผิดหลายคน
อาญาภาค 1 บทที่ 8 ผู้กระทำความผิดหลายคน
 
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิดอาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
 
อาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาด
อาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาดอาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาด
อาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาด
 
อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2
อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2
อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2
 
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอกอาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
 
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิดอาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
 
แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง ฉบับเผยแพร่
แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง  ฉบับเผยแพร่แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง  ฉบับเผยแพร่
แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง ฉบับเผยแพร่
 
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอกอาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
 

กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป

Editor's Notes

  1. อ.เกียรติขจร การกระทำหรือไม่กระทำการอย่างใดเป็นความผิด และกำหนดโทษที่จะลงโทษผู้กระทำผิด อ.หยุด กฎหมายว่าด้วยการบังคับโทษ อ.คณิต บรรดากฎหมายทั้งหลายที่ระบุถึงความผิดอาญา โทษ วิธีการเพื่อความปลอดภัยและมาตรการบังคับทางอาญาอื่น อ.แสวง กฎหมายที่ว่าด้วยความผิดและโทษ อ.ทวีเกียติ กฎหมายที่บัญญัติถึงความผิดและโทษ แยกความแตกต่างระวางแพ่งอาญา ใช้สิทธิทางแพ่ง เพื่อลงโทษ
  2. ฆ่าคน ลักทรัพย์ ข่มขืน ควบคุมการก่อสร้าง ควบคุมหลพิษ กฎหมายจราจร อั้งยี่ ซ่องโจร ม.213
  3. เพิกถอนสิทธิ อบรมสถานพินิจ
  4. หลักประกันว่าประช่าชนต้องรู้ว่าตนเองทำอะไรถึงจะผิด 1.แน่นอน อยู่ใน รธน มาตรา 39 ด้วย นาซี ผู้กระทำอันผิดความรู้สึกอันดีงามของประชาชน ถูกลงโทษ 2.ประเพณี ผิดประเพณี ต้องลงโทษไม่ได้ แต่เป็นคุณได้ เล่นกีฬา พ่อตีลูก มีเมียน้อย เมียซ้อมผัว 3.Analogy ยิ่งยืดหยุ่น ยิ่งอันตราย ขาดหลักเกณฑ์ที่แน่นอน ต้องบัญญัติโดยตรงเท่านั้น ฆ่าตัวเอง ไม่ตาม วางเพลิงเผาทรัพย์ผู้อื่น 217 ฎีกา 3643/2526 ลักไฟฟ้า ทรัพย์ คือ สิ่งที่มีรูปร่าง อันอาจมีราคาและถือเอาได้ 877/2501 ,481/2549 ผิดหรือไม่ผิด เลวไม แต่เพื่อประโยชน์ของประชาชนโดยรวม ลักสัญญาโทรศัพท์ วิธีแก้คือ ไปบัญญัติสิ จบ เยอรมันตัดสินว่าไม่ผิด ในฝรั่งเศลมีโทษลักไฟฟ้าโดยเฉพาะ ย้อน ม.2 วรรคสอง ม.3 การพิจารณาคดีของฝ่ายสัมพันธ์มิตร สงครามโลก ตัวอย่าง พรบ อาชญากรรมสงคราม 2488 ลงโทษได้ทั้งก่อนหรือหลัง ประกาศ รศช เรืองยึดทรัพย์ 2536 ส่วนเรื่องอื่นที่ไม่ใช่โทษ มีทั้งสองแนวคิด ไม่สอน แต่ปัจจุบัน แนวฎีกา ย้อนได้
  5. ประวัติ ธรรมเนียม วัฒนธรรม ศีลธรรม เช่น อนาจาร ลามก คุณธรรมของกฎหมาย ลักทรัพย์ ยักยอก พรากผู้เยาว์ วางเพลิง ทรัพย์ตัวเอง ประวัติศาสตร์ ความเป็นมาของกฎหมาย บทความ แนวคิด ความสัมพันธื ลักทรัพย์ ยักยอก ฉ้อโกง
  6. ตัดสินผิดมาทำไง คนชั่วหลุดไป คนนึง คนดีถูกลงโทษโดยไม่ทำผิด นิติธรรม ควบคุมอาชญากรรม ขัดแย้งตลอด