SlideShare a Scribd company logo
ประวัติศาสตร  กรุงธนบุรี




                             กรุงธนบุรี



                                    พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงธนบุรี




         ในป พ.ศ. 2308 พระยาตากสิน ไดรับ
    แตงตั้งใหเปน พระยาวชิรปราการ ตําแหนงเจา
    เมืองกําแพงเพชร แตยังไมทันไดรับตําแหนงใหม
    ทางเมืองหลวงไดเรียกตัวเขาชวยปองกันพระนคร
    ในการทําสงครามกับพมา ขณะที่ปฏิบัติการรบอยู
    นั้น ไดเกิดความทอใจในความออนแอของพระเจา
    เอกทัศ และเห็นวากรุงศรีอยุธยาจะตองเสียแกพมา
    อยางแนนอน จึงไดนํากําลังทหารประมาณ 500
    คน ตีฝาวงลอมพมาออกมา เมื่อเดือนยี่ พ.ศ.
    2309 มุงไปทางทะเลดานตะวันออกเพื่อหาที่มั่น
    รวบรวมผูคนยอนกลับมาสูรบพมาอีกครั้ง                       http://www.bloggang.com/viewblog.php?id=fso
                                                                 thaihistory&date=02-09-
                                                                 2008&group=3&gblog=1




                                                      พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงธนบุรี




              พระยาตากสิน พิจารณาเห็นวาเมือง
       จันทบุรีเปนหัวเมืองใหญกวา บรรดาหัวเมือง
       ชายทะเลตะวันออกดวยกันมีภูมิประเทศ
       เหมาะสมในการติดตอซื้อหาเสบียงอาหาร
       อาวุธ จากตางประเทศ มีความอุดมสมบูรณดี
       สมควรที่จะเกลี้ยกลอมไวเปนกําลังในการตอสู
       กับพมา พระยาตากสินจึงไดดําเนินการ
       เกลี้ยกลอมเจาเมืองจันทบุรีใหเขาเปนพรรค
       พวก ซึ่งในระยะแรกพระยาจันทบุรีก็ใหความ          http://statics.atcloud.com/files/comments/114/1145842/ima

       รวมมือดวยดี                                    ges/1_display.jpg




                                                       พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงธนบุรี




               แตตอมาพระยาจันทบุรีกลับไปรวมมือกับขุนราม หมื่นชอง กรมการเทาเมือง
          ระยอง ที่เคยคบคิดจะกําจัดพระยาตากสิน โดยลวงใหกองทัพพระยาตากสินเขาไป
          อยูในดินแดนขาศึกที่มีกําลังเหนือกวา แตพระยาตากสินก็สามารถตีฝาออกมาได
          พระยาตากสินจึงตกลงที่จะยึดเมืองจันทบุรีใหได และเพื่อเปนการปลุกขวัญและ
          กําลังใจของบรรดาทหารทั้งปวง พระยาตากสินจึงไดสั่งใหทหารทั้งหมดเทอาหาร
          มื้อเย็นที่เหลือจากรับประทานแลวทิ้ง และใหทุกหมอขาวหมอแกงทิ้งเสียสิ้น
          ทั้งนี้เพราะตองการใหทหารในกองทัพมีความมุมานะ พยายามที่จะยึดเมืองจันทบุรี
          ใหไดในวันรุงขึ้น และก็สามารถนําทหารยึดเมืองจันทบุรีไดสําเร็จ ทําใหบรรดาหัว
          เมืองชายทะเลดานตะวันออกทั้งหมดยอมสวามิภักดิ์กับพระยาตากสิน



                                                         พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงธนบุรี



              เมื่อพมายกกองทัพสวนใหญกลับพมา ภายหลังการทําลายกรุงศรีอยุธยาอยาง
         ราบคาบแลวจึงใหนายสุกี้ ตําแหนงเปนทนายกองคุมกองกําลังดุแลกรุงศรีอยุธยา
         อยูพรอมกองทหารเพียงเล็กนอย โดยไดตั้งคายพักอยูที่ คายโพธิ์สามตน
              พระยาตากสินจึงถือโอกาสยกกองทัพเขาตีคายโพธิ์สามตน เมื่อเดินทางมาตอง
         รบกับนายทองอิน ซึ่งเปนคนไทยแตไป
         เขากับฝายพมา และตั้งดานรักษาเมือง
         อยูทีปากแมน้ําเจาพระยา พระยาตากสิน
         รบชนะนายทองอินและจับตัวไปประหาร
         ชีวิตเสีย
              จากนั้นก็โจมตีคายโพธิ์สามตน
         สามารถรบชนะนายสุกี้ทนายกอง เมื่อ
         วันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2310
                                                   http://www.chanpradit.ac.th/~lex/Taksin/taksin%20(9).JPG


                                                        พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงธนบุรี



              เมื่อพระยาตากสินยึดกรุงศรีอยุธยาคืนจากพมา
         ไดแลว ก็ไดตรวจดูสภาพกรุงศรีอยุธยาในขณะนั้น
         เห็นวา ไมเหมาะสมที่จะปฏิสังขรณใหกลับคืนสูสภาพ
         ดั้งเดิม เพื่อเปนเมืองหลวงอีกตอไป เพราะมีปญหา
         ทั้งทางดานการเมือง ยุทธศาสตร การทหาร และ
         เศรษฐกิจเปนอยางมาก จึงตัดสินใจสถาปนา
         ศูนยกลางของราชอาณาจักรไทยขึ้นใหมที่ กรุงธนบุรี                   http://www1.tv5.co.th/service/mod/herit
                                                                            age/king/taksin/t1.jpg

         โดยไดยายมาสรางเมืองขึ้นอีกฝากหนึ่งของแมน้ําเจาพระยา เนื่องจากรุงธนบุรีมีขนาด
         พอเหมาะกับกําลังกองทัพของพระองคในขณะนั้นที่จะดูแลรักษาไดอยางทั่วถึง
         จากนั้นจึงไดสถาปนาตนเองขึ้นเปนพระมหากษัตริย เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ.2311
         ทรงพระนามวา สมเด็จพระบรมราชาที่ 4 หรือ สมเด็จพระเจากรุงธนบุรี
         คนทั่วไปสวนใหญชอบเรียกวา สมเด็จพระเจาตากสิน

                                                        พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงธนบุรี




         การตั้งราชธานี
             สาเหตุที่พระยาตากสินทรงเลือกเอากรุงธนบุรีเปนราชธานีนั้น นักประวัติศาสตร
         ใหเหตุผลไวหลายๆ ประการ ซึ่งพอสรุปไดดังนี้
             1. กรุงศรีอยุธยาชํารุดทรุดโทรมมาก เกินกวาจะบูรณะใหมได และมีบริเวณกวาง
         เกินไปที่กําลังพลของพระเจาตากสิน จะสามารถดูแลรักษาและปกปองใหปลอดภัยได
         สําหรับกรุงธนบุรีนั้นมีขนาดเล็กเหมาะสมกับกองกําลังที่มีอยู มีปอมปราการมั่นคง
            2. ขาศึกรูทิศทางที่จะเขากรุงศรีอยุธยาไดทุกทาง กรุงศรีอยุธยาจึงไมเหมาะกับ
         การใชเปนศูนยยุทธศาสตรสําหรับตั้งรับพมาอีก สําหรับกรุงธนบุรีนั้น ขาศึกยังไมรู
         ทิศทางที่จะเขาโจมตีไดสะดวก ถาหากใชกรุงธนยุรีเปนศูนยยุทธศาสตรในการตั้งรับ
         แลว หากสูไมไดก็สามารถหนีไปตั้งรับที่มั่นอื่นๆ ไดสะดวก




                                                          พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงธนบุรี

       การตั้งราชธานี
           3. มีแมน้ําเจาพระยาเปนดานปองกันขาศึก กรุงธนบุรีมีแมน้ําเจาพระยาขวางกั้น
       หากพมาจะเดินทัพเขาโจมตีก็กระทําไดไมสะดวกนัก เพราะตองขามลําน้ําเจาพระยา
       กอนเขาถึงตัวเมือง
          4. ธนบุรีอยูใกลปากอาว สะดวกในการติดตอคาขายกับตางประเทศ และสะดวก
       ในการสงกําลังอาวุธเมื่อเกิดศึกสงคราม




                             http://web.schq.mi.th/~afed/mil_museum_2007/images/pano_06.jpg

                                                                       พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงธนบุรี



       การปราบชุมนุม
            เมื่อพระยาตากสินไดสถาปนาขึ้นครองราชยสมบัติปกครองกรุงธนบุรีแลว ปรากฏ
       วามีคนไทยบางกลุมบางพวกไมยอมรับ พยายามตั้งตนเปนผูนํา หลายกกหลายเหลา
       โดยเฉพาะกลุมของผูที่มีอํานาจและกองกําลังที่เขมแข็ง เชน
           1. ชุมนุมเจาเมืองพิษณุโลก มีพระยาพิษณุโลก (เรือง) เปนหัวหนา และมี
       พระอินทรอากร นองชายเปนรองหัวหนา มีเขตอิทธิพลตั้งแตเมืองพิชัย (อุตรดิตถ)
       ลงมาถึงเมืองนครสวรรค คือ มีอิทธิพลเหนือเมืองพิษณุโลก สุโขทัย บางสวนของ
       เมืองตาก กําแพงเพชร พิจิตร เพชรบูรณ และบางสวนของนครสวรรค




                                                     พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงธนบุรี




                                ปราบชุมนุมเจาพระยาพิษณุโลก
                             http://61.19.145.8/student/web42106/502/502-3437/0pic/08.jpg




                                                                       พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงธนบุรี



               2. ชุมนุมเจาเมืองพิมาย มีกรมหมื่นเทพพิพิธ เชื้อพระวงศของกรุงศรีอยุธยา
       เปนหัวหนา ครองเมืองพิมายและหัวเมือในเขตอิทธิพลของนครราชสีมาเดิมทั้งหมด
       ตั้งแตสระบุรีไปจนจดดินแดนเขมรปาดง (บุรีรัมย สุรินทร ขุขันธ และศรีษะเกศ)




                              http://www.chaoprayanews.com/wp-content/uploads/2009/03/t8.jpg

                                                                           พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงธนบุรี


                3. ชุมนุมเจาเมืองนครศรีธรรมราช มีพระปลัด (หนู) เปนหัวหนา
       มีอิทธิพลตั้งแตเขตชุมพร ไชยา จนจดเขตเมืองปตตานี




                               http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/2/3002/images/T10.jpg

                                                                          พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงธนบุรี




               4. ชุมนุมเจาพระฝาง มีเจาอาวาสวัดพระฝาง
      เมืองสวางคบุรี (อุตรดิตถ) มีชื่อเดิมวา เรือน เปนหัวหนา
      มีพระสงฆรูปอื่นๆ เปนแมทัพนายกอง นุงหมสีแดง เชน
      พระครูศริมานนท พระครูเพชรรัตน พระอาจารยจันทร
               ิ
      และพระอาจารยเกิด เปนตน มีอิทธิพลเหนือเมืองอุตรดิตถ
      ขึ้นไป
           สมเด็จพระเจาตากสินทรงใชเวลาในการปราบปราม
      ชุมนุมตางๆ เหลานี้อยู 3 ป จึงปราบปรามไดสําเร็จทุก
      ชุมนุม เมื่อป พ.ศ. 2311

                                                                         http://www.royjaithai.com/phrachaotaksin/1090082
                                                                         952sinopatracom1.gif




                                                        พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงธนบุรี




                                                                         บั้นปลายรัชกาลเองประวัติศาสตร
                                                                    เกี่ยวกับพระองคทานก็ยังคงคลุมเครือ
                                                                    มีหลายกระแสความเชื่อบางวาพระองค
                                                                    ทานสติวิปลาส และถูกสําเร็จโทษใน
                                                                    เวลาตอมา บางวาพระองคทานทรงสละ
                                                                    ราชสมบัติอยางเงียบๆ และทรงออก
                                                                    ผนวช จําพรรษาอยูที่จังหวัด
                                                                    นครศรีธรรมราชอันเปนหัวเมืองสําคัญ
                                                                    ทางภาคใตในขณะนั้น
         http://4.bp.blogspot.com/_AfqyBrErO1c/SVOnfJPqXPI/AAAAAA
         AAAP4/_6ITCN9H5uk/s400/123949.jpg

                                                                            พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงธนบุรี




            แหลงที่มาของขอมูล
             http://4.bp.blogspot.com/
             http://61.19.145.8/
             http://statics.atcloud.com/
             http://web.schq.mi.th/
             http://www.bloggang.com/
             http://www.chanpradit.ac.th/
             http://www.chaoprayanews.com/
             http://www.chaoprayanews.com/
             http://www.oknation.net/
             http://www.royjaithai.com/
             http://www1.tv5.co.th/




                                             พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

More Related Content

What's hot

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
fernbamoilsong
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย
JulPcc CR
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย
JulPcc CR
 
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
JulPcc CR
 
เสิ่นหยาง ฉางชุน-จี๋หลิน-ฮาร์บิน 6 d5n 28 ธ.ค.-2 ม.ค.(ox)34,900 ปรับแล้ว
เสิ่นหยาง ฉางชุน-จี๋หลิน-ฮาร์บิน 6 d5n 28 ธ.ค.-2 ม.ค.(ox)34,900   ปรับแล้วเสิ่นหยาง ฉางชุน-จี๋หลิน-ฮาร์บิน 6 d5n 28 ธ.ค.-2 ม.ค.(ox)34,900   ปรับแล้ว
เสิ่นหยาง ฉางชุน-จี๋หลิน-ฮาร์บิน 6 d5n 28 ธ.ค.-2 ม.ค.(ox)34,900 ปรับแล้ว
Apichaya Savetvijit
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
พัน พัน
 

What's hot (13)

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราชสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
 
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราชสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย
 
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
 
สมเด็พระนารายณ์มหาราช
สมเด็พระนารายณ์มหาราชสมเด็พระนารายณ์มหาราช
สมเด็พระนารายณ์มหาราช
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
 
เสิ่นหยาง ฉางชุน-จี๋หลิน-ฮาร์บิน 6 d5n 28 ธ.ค.-2 ม.ค.(ox)34,900 ปรับแล้ว
เสิ่นหยาง ฉางชุน-จี๋หลิน-ฮาร์บิน 6 d5n 28 ธ.ค.-2 ม.ค.(ox)34,900   ปรับแล้วเสิ่นหยาง ฉางชุน-จี๋หลิน-ฮาร์บิน 6 d5n 28 ธ.ค.-2 ม.ค.(ox)34,900   ปรับแล้ว
เสิ่นหยาง ฉางชุน-จี๋หลิน-ฮาร์บิน 6 d5n 28 ธ.ค.-2 ม.ค.(ox)34,900 ปรับแล้ว
 
ทดสอบบทเรียนและทดสอบหลังเรียน+567+55t2his p04 f17-1page
ทดสอบบทเรียนและทดสอบหลังเรียน+567+55t2his p04 f17-1pageทดสอบบทเรียนและทดสอบหลังเรียน+567+55t2his p04 f17-1page
ทดสอบบทเรียนและทดสอบหลังเรียน+567+55t2his p04 f17-1page
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
 
โอกาสใหญ่ : ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทย
โอกาสใหญ่ : ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทยโอกาสใหญ่ : ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทย
โอกาสใหญ่ : ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทย
 
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
 

Viewers also liked

I am legend – promotional package
I am legend – promotional packageI am legend – promotional package
I am legend – promotional package
aaran95
 
ใบงาน 11
ใบงาน 11ใบงาน 11
ใบงาน 11
Teerachot
 
【ビジネススキル】情報リテラシーを高めるSns活用セミナー
【ビジネススキル】情報リテラシーを高めるSns活用セミナー【ビジネススキル】情報リテラシーを高めるSns活用セミナー
【ビジネススキル】情報リテラシーを高めるSns活用セミナー
ashizawa1 Ashizawa
 
Fitness application english
Fitness application englishFitness application english
Fitness application english
ingaolegovna
 
Doomsday chosen Works
Doomsday chosen WorksDoomsday chosen Works
Doomsday chosen Works
YU YOU DESIGN
 
MMLLC2015FlyerPixBriefInvite120915d3 (2)
MMLLC2015FlyerPixBriefInvite120915d3 (2)MMLLC2015FlyerPixBriefInvite120915d3 (2)
MMLLC2015FlyerPixBriefInvite120915d3 (2)
James Murray
 

Viewers also liked (18)

I am legend – promotional package
I am legend – promotional packageI am legend – promotional package
I am legend – promotional package
 
ใบงาน 11
ใบงาน 11ใบงาน 11
ใบงาน 11
 
Presentatie buurtwerking 2012
Presentatie buurtwerking 2012Presentatie buurtwerking 2012
Presentatie buurtwerking 2012
 
"SEO is geen spelletje, het is een Kunst", voor NIMA The Case 2012
"SEO is geen spelletje, het is een Kunst", voor NIMA The Case 2012"SEO is geen spelletje, het is een Kunst", voor NIMA The Case 2012
"SEO is geen spelletje, het is een Kunst", voor NIMA The Case 2012
 
Церебральный васкулит у больных сифилисом: возможности диагностики и лечения
Церебральный васкулит у больных сифилисом: возможности диагностики и леченияЦеребральный васкулит у больных сифилисом: возможности диагностики и лечения
Церебральный васкулит у больных сифилисом: возможности диагностики и лечения
 
Presentacion
PresentacionPresentacion
Presentacion
 
【ビジネススキル】情報リテラシーを高めるSns活用セミナー
【ビジネススキル】情報リテラシーを高めるSns活用セミナー【ビジネススキル】情報リテラシーを高めるSns活用セミナー
【ビジネススキル】情報リテラシーを高めるSns活用セミナー
 
Fitness application english
Fitness application englishFitness application english
Fitness application english
 
El manatí
El manatíEl manatí
El manatí
 
Media lang invest
Media lang investMedia lang invest
Media lang invest
 
Script
ScriptScript
Script
 
Alexis Chard – The Most Trusted Realtor
Alexis Chard – The Most Trusted RealtorAlexis Chard – The Most Trusted Realtor
Alexis Chard – The Most Trusted Realtor
 
Payment of min wages act mah amendment july 2011
Payment of min wages act mah amendment july 2011Payment of min wages act mah amendment july 2011
Payment of min wages act mah amendment july 2011
 
Startupfest 2012 - Fashion: Tech: The New Wave of Online Retail
Startupfest 2012 - Fashion: Tech: The New Wave of Online RetailStartupfest 2012 - Fashion: Tech: The New Wave of Online Retail
Startupfest 2012 - Fashion: Tech: The New Wave of Online Retail
 
Doomsday chosen Works
Doomsday chosen WorksDoomsday chosen Works
Doomsday chosen Works
 
Tips to Keep Up Your Hotel Occupancy Rate
Tips to Keep Up Your Hotel Occupancy RateTips to Keep Up Your Hotel Occupancy Rate
Tips to Keep Up Your Hotel Occupancy Rate
 
MMLLC2015FlyerPixBriefInvite120915d3 (2)
MMLLC2015FlyerPixBriefInvite120915d3 (2)MMLLC2015FlyerPixBriefInvite120915d3 (2)
MMLLC2015FlyerPixBriefInvite120915d3 (2)
 
2016 sandra erbe, resume organizational advancement
2016 sandra erbe, resume   organizational advancement2016 sandra erbe, resume   organizational advancement
2016 sandra erbe, resume organizational advancement
 

Similar to 08กรุงธนบุรี

09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
JulPcc CR
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
JulPcc CR
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
JulPcc CR
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
JulPcc CR
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย
JulPcc CR
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
JulPcc CR
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราช
JulPcc CR
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราช
JulPcc CR
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์
JulPcc CR
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์
JulPcc CR
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
JulPcc CR
 

Similar to 08กรุงธนบุรี (20)

09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราช
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราช
 
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราชพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
 
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
006
006006
006
 
006
006006
006
 
006
006006
006
 
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
 
การสถาปนา..
การสถาปนา..การสถาปนา..
การสถาปนา..
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
 

More from JulPcc CR

13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร813รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
JulPcc CR
 
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร712รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
JulPcc CR
 
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร611กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
JulPcc CR
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
JulPcc CR
 
16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย
JulPcc CR
 
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร813รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
JulPcc CR
 
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร712รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
JulPcc CR
 
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร611กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
JulPcc CR
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5
10กรุงรัตนโกสินทร์ร510กรุงรัตนโกสินทร์ร5
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5
JulPcc CR
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
JulPcc CR
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี
JulPcc CR
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
JulPcc CR
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
JulPcc CR
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี
JulPcc CR
 

More from JulPcc CR (14)

13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร813รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
 
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร712รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
 
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร611กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
 
16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย
 
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร813รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
 
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร712รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
 
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร611กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5
10กรุงรัตนโกสินทร์ร510กรุงรัตนโกสินทร์ร5
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี
 

08กรุงธนบุรี

  • 1. ประวัติศาสตร กรุงธนบุรี กรุงธนบุรี พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 2. ประวัติศาสตร กรุงธนบุรี ในป พ.ศ. 2308 พระยาตากสิน ไดรับ แตงตั้งใหเปน พระยาวชิรปราการ ตําแหนงเจา เมืองกําแพงเพชร แตยังไมทันไดรับตําแหนงใหม ทางเมืองหลวงไดเรียกตัวเขาชวยปองกันพระนคร ในการทําสงครามกับพมา ขณะที่ปฏิบัติการรบอยู นั้น ไดเกิดความทอใจในความออนแอของพระเจา เอกทัศ และเห็นวากรุงศรีอยุธยาจะตองเสียแกพมา อยางแนนอน จึงไดนํากําลังทหารประมาณ 500 คน ตีฝาวงลอมพมาออกมา เมื่อเดือนยี่ พ.ศ. 2309 มุงไปทางทะเลดานตะวันออกเพื่อหาที่มั่น รวบรวมผูคนยอนกลับมาสูรบพมาอีกครั้ง http://www.bloggang.com/viewblog.php?id=fso thaihistory&date=02-09- 2008&group=3&gblog=1 พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 3. ประวัติศาสตร กรุงธนบุรี พระยาตากสิน พิจารณาเห็นวาเมือง จันทบุรีเปนหัวเมืองใหญกวา บรรดาหัวเมือง ชายทะเลตะวันออกดวยกันมีภูมิประเทศ เหมาะสมในการติดตอซื้อหาเสบียงอาหาร อาวุธ จากตางประเทศ มีความอุดมสมบูรณดี สมควรที่จะเกลี้ยกลอมไวเปนกําลังในการตอสู กับพมา พระยาตากสินจึงไดดําเนินการ เกลี้ยกลอมเจาเมืองจันทบุรีใหเขาเปนพรรค พวก ซึ่งในระยะแรกพระยาจันทบุรีก็ใหความ http://statics.atcloud.com/files/comments/114/1145842/ima รวมมือดวยดี ges/1_display.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 4. ประวัติศาสตร กรุงธนบุรี แตตอมาพระยาจันทบุรีกลับไปรวมมือกับขุนราม หมื่นชอง กรมการเทาเมือง ระยอง ที่เคยคบคิดจะกําจัดพระยาตากสิน โดยลวงใหกองทัพพระยาตากสินเขาไป อยูในดินแดนขาศึกที่มีกําลังเหนือกวา แตพระยาตากสินก็สามารถตีฝาออกมาได พระยาตากสินจึงตกลงที่จะยึดเมืองจันทบุรีใหได และเพื่อเปนการปลุกขวัญและ กําลังใจของบรรดาทหารทั้งปวง พระยาตากสินจึงไดสั่งใหทหารทั้งหมดเทอาหาร มื้อเย็นที่เหลือจากรับประทานแลวทิ้ง และใหทุกหมอขาวหมอแกงทิ้งเสียสิ้น ทั้งนี้เพราะตองการใหทหารในกองทัพมีความมุมานะ พยายามที่จะยึดเมืองจันทบุรี ใหไดในวันรุงขึ้น และก็สามารถนําทหารยึดเมืองจันทบุรีไดสําเร็จ ทําใหบรรดาหัว เมืองชายทะเลดานตะวันออกทั้งหมดยอมสวามิภักดิ์กับพระยาตากสิน พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 5. ประวัติศาสตร กรุงธนบุรี เมื่อพมายกกองทัพสวนใหญกลับพมา ภายหลังการทําลายกรุงศรีอยุธยาอยาง ราบคาบแลวจึงใหนายสุกี้ ตําแหนงเปนทนายกองคุมกองกําลังดุแลกรุงศรีอยุธยา อยูพรอมกองทหารเพียงเล็กนอย โดยไดตั้งคายพักอยูที่ คายโพธิ์สามตน พระยาตากสินจึงถือโอกาสยกกองทัพเขาตีคายโพธิ์สามตน เมื่อเดินทางมาตอง รบกับนายทองอิน ซึ่งเปนคนไทยแตไป เขากับฝายพมา และตั้งดานรักษาเมือง อยูทีปากแมน้ําเจาพระยา พระยาตากสิน รบชนะนายทองอินและจับตัวไปประหาร ชีวิตเสีย จากนั้นก็โจมตีคายโพธิ์สามตน สามารถรบชนะนายสุกี้ทนายกอง เมื่อ วันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2310 http://www.chanpradit.ac.th/~lex/Taksin/taksin%20(9).JPG พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 6. ประวัติศาสตร กรุงธนบุรี เมื่อพระยาตากสินยึดกรุงศรีอยุธยาคืนจากพมา ไดแลว ก็ไดตรวจดูสภาพกรุงศรีอยุธยาในขณะนั้น เห็นวา ไมเหมาะสมที่จะปฏิสังขรณใหกลับคืนสูสภาพ ดั้งเดิม เพื่อเปนเมืองหลวงอีกตอไป เพราะมีปญหา ทั้งทางดานการเมือง ยุทธศาสตร การทหาร และ เศรษฐกิจเปนอยางมาก จึงตัดสินใจสถาปนา ศูนยกลางของราชอาณาจักรไทยขึ้นใหมที่ กรุงธนบุรี http://www1.tv5.co.th/service/mod/herit age/king/taksin/t1.jpg โดยไดยายมาสรางเมืองขึ้นอีกฝากหนึ่งของแมน้ําเจาพระยา เนื่องจากรุงธนบุรีมีขนาด พอเหมาะกับกําลังกองทัพของพระองคในขณะนั้นที่จะดูแลรักษาไดอยางทั่วถึง จากนั้นจึงไดสถาปนาตนเองขึ้นเปนพระมหากษัตริย เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ.2311 ทรงพระนามวา สมเด็จพระบรมราชาที่ 4 หรือ สมเด็จพระเจากรุงธนบุรี คนทั่วไปสวนใหญชอบเรียกวา สมเด็จพระเจาตากสิน พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 7. ประวัติศาสตร กรุงธนบุรี การตั้งราชธานี สาเหตุที่พระยาตากสินทรงเลือกเอากรุงธนบุรีเปนราชธานีนั้น นักประวัติศาสตร ใหเหตุผลไวหลายๆ ประการ ซึ่งพอสรุปไดดังนี้ 1. กรุงศรีอยุธยาชํารุดทรุดโทรมมาก เกินกวาจะบูรณะใหมได และมีบริเวณกวาง เกินไปที่กําลังพลของพระเจาตากสิน จะสามารถดูแลรักษาและปกปองใหปลอดภัยได สําหรับกรุงธนบุรีนั้นมีขนาดเล็กเหมาะสมกับกองกําลังที่มีอยู มีปอมปราการมั่นคง 2. ขาศึกรูทิศทางที่จะเขากรุงศรีอยุธยาไดทุกทาง กรุงศรีอยุธยาจึงไมเหมาะกับ การใชเปนศูนยยุทธศาสตรสําหรับตั้งรับพมาอีก สําหรับกรุงธนบุรีนั้น ขาศึกยังไมรู ทิศทางที่จะเขาโจมตีไดสะดวก ถาหากใชกรุงธนยุรีเปนศูนยยุทธศาสตรในการตั้งรับ แลว หากสูไมไดก็สามารถหนีไปตั้งรับที่มั่นอื่นๆ ไดสะดวก พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 8. ประวัติศาสตร กรุงธนบุรี การตั้งราชธานี 3. มีแมน้ําเจาพระยาเปนดานปองกันขาศึก กรุงธนบุรีมีแมน้ําเจาพระยาขวางกั้น หากพมาจะเดินทัพเขาโจมตีก็กระทําไดไมสะดวกนัก เพราะตองขามลําน้ําเจาพระยา กอนเขาถึงตัวเมือง 4. ธนบุรีอยูใกลปากอาว สะดวกในการติดตอคาขายกับตางประเทศ และสะดวก ในการสงกําลังอาวุธเมื่อเกิดศึกสงคราม http://web.schq.mi.th/~afed/mil_museum_2007/images/pano_06.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 9. ประวัติศาสตร กรุงธนบุรี การปราบชุมนุม เมื่อพระยาตากสินไดสถาปนาขึ้นครองราชยสมบัติปกครองกรุงธนบุรีแลว ปรากฏ วามีคนไทยบางกลุมบางพวกไมยอมรับ พยายามตั้งตนเปนผูนํา หลายกกหลายเหลา โดยเฉพาะกลุมของผูที่มีอํานาจและกองกําลังที่เขมแข็ง เชน 1. ชุมนุมเจาเมืองพิษณุโลก มีพระยาพิษณุโลก (เรือง) เปนหัวหนา และมี พระอินทรอากร นองชายเปนรองหัวหนา มีเขตอิทธิพลตั้งแตเมืองพิชัย (อุตรดิตถ) ลงมาถึงเมืองนครสวรรค คือ มีอิทธิพลเหนือเมืองพิษณุโลก สุโขทัย บางสวนของ เมืองตาก กําแพงเพชร พิจิตร เพชรบูรณ และบางสวนของนครสวรรค พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 10. ประวัติศาสตร กรุงธนบุรี ปราบชุมนุมเจาพระยาพิษณุโลก http://61.19.145.8/student/web42106/502/502-3437/0pic/08.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 11. ประวัติศาสตร กรุงธนบุรี 2. ชุมนุมเจาเมืองพิมาย มีกรมหมื่นเทพพิพิธ เชื้อพระวงศของกรุงศรีอยุธยา เปนหัวหนา ครองเมืองพิมายและหัวเมือในเขตอิทธิพลของนครราชสีมาเดิมทั้งหมด ตั้งแตสระบุรีไปจนจดดินแดนเขมรปาดง (บุรีรัมย สุรินทร ขุขันธ และศรีษะเกศ) http://www.chaoprayanews.com/wp-content/uploads/2009/03/t8.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 12. ประวัติศาสตร กรุงธนบุรี 3. ชุมนุมเจาเมืองนครศรีธรรมราช มีพระปลัด (หนู) เปนหัวหนา มีอิทธิพลตั้งแตเขตชุมพร ไชยา จนจดเขตเมืองปตตานี http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/2/3002/images/T10.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 13. ประวัติศาสตร กรุงธนบุรี 4. ชุมนุมเจาพระฝาง มีเจาอาวาสวัดพระฝาง เมืองสวางคบุรี (อุตรดิตถ) มีชื่อเดิมวา เรือน เปนหัวหนา มีพระสงฆรูปอื่นๆ เปนแมทัพนายกอง นุงหมสีแดง เชน พระครูศริมานนท พระครูเพชรรัตน พระอาจารยจันทร ิ และพระอาจารยเกิด เปนตน มีอิทธิพลเหนือเมืองอุตรดิตถ ขึ้นไป สมเด็จพระเจาตากสินทรงใชเวลาในการปราบปราม ชุมนุมตางๆ เหลานี้อยู 3 ป จึงปราบปรามไดสําเร็จทุก ชุมนุม เมื่อป พ.ศ. 2311 http://www.royjaithai.com/phrachaotaksin/1090082 952sinopatracom1.gif พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 14. ประวัติศาสตร กรุงธนบุรี บั้นปลายรัชกาลเองประวัติศาสตร เกี่ยวกับพระองคทานก็ยังคงคลุมเครือ มีหลายกระแสความเชื่อบางวาพระองค ทานสติวิปลาส และถูกสําเร็จโทษใน เวลาตอมา บางวาพระองคทานทรงสละ ราชสมบัติอยางเงียบๆ และทรงออก ผนวช จําพรรษาอยูที่จังหวัด นครศรีธรรมราชอันเปนหัวเมืองสําคัญ ทางภาคใตในขณะนั้น http://4.bp.blogspot.com/_AfqyBrErO1c/SVOnfJPqXPI/AAAAAA AAAP4/_6ITCN9H5uk/s400/123949.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 15. ประวัติศาสตร กรุงธนบุรี แหลงที่มาของขอมูล http://4.bp.blogspot.com/ http://61.19.145.8/ http://statics.atcloud.com/ http://web.schq.mi.th/ http://www.bloggang.com/ http://www.chanpradit.ac.th/ http://www.chaoprayanews.com/ http://www.chaoprayanews.com/ http://www.oknation.net/ http://www.royjaithai.com/ http://www1.tv5.co.th/ พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร