SlideShare a Scribd company logo
Recent Advance


    Treatment of Tuberculosis from WHO guidelines
                        2010
นพ.พรอนันต์ โดมทอง1, ศ.พญ.วิภา รีชัยพิชิตกุล2, รศ.นพ.วัชรา บุญสวัสดิ2
                                                                    ์
1
    แพทย์ประจำาบ้าน, 2สาขาวิชาโรคระบบการหายใจและเวชบำาบัดวิกฤต ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น




	         แนวทางการรักษาวัณโรคของ	WHO	2010	       tutional	symptoms	(loss	of	appetite,	weight	loss,	
ซึ่งพิมพ์ขึ้นเป็นครั้งที่	 4	มีข้อแนะนำาหลายอย่างที่
                                                  fever,	night	
แนะนำาให้ปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ที่มีอยู่             Case of TB: definite	case	of	TB	and	
ในปัจจุบัน	การตีพิมพ์นี้ได้ปรับปรุงจากครั้งที่	3	ซึ่ง
                                                  decided	to	treat
ตีพิมพ์ในปี	2003	เป้าหมายเพื่อหยุดยั้งวัณโรคให้ได้          Definite case of TB: one	or	more	sputum	
ในปี	 2050	เนื้อหาในหนังสือดังกล่าว	จะกล่าวถึง    smear	positive	AFB	or	M.tuberculosis	identified	
หลักการรักษาวัณโรคในผู้ใหญ่	 โดยครอบคลุมถึง       from	clinical	specimen,	either	by	culture	or	mo-
รายละเอียดดังต่อไปนี้                             lecular	line	probe	assay	




                                                                                                                                          IJM
	         -	 Case	definition                                Pulmonary TB (PTB): TB	involving	
	         -	 Standard	treatment	regimens          lung	parenchyma	or	patient	with	both	pulmonary	


                                                                                                                                          Vol. 10 No.1
	         -	 Monitoring	during	treatment          and	extrapulmonary	TB
	         -	 Co-management	of	HIV	and	active	TB	            Extrapulmonary TB (EPTB):	TB	in-
case                                              volving	organs	other	than	lung	parenchyma,	e.g.	
	         -	 Supervision	and	patient	support      pleura,	lymph	nodes,	abdomen,	genitourinary	tract,	
	         -	 Treatment	of	drug-resistant	tuberculosis
                                                  skin,	joints	and	bone,	meninges
	         -	 Treatment	of	extrapulmonary	TB	and	            Smear positive case:	only	one	sputum	
TB	in	special	situations	                         specimen	smear	positive	AFB
                                                            Smear negative case: 2	specimens	are	
Case definition                                   smear	negative	AFB	(at	least	one	early-morning	
	        คำานิยามหรือคำาจำากัดความ                specimen)	in	a	well	functional	external	quality	
         TB suspected case: productive	cough	>2	 assurance	(EQA)	system
weeks	and	other	respiratory	symptoms	(shortness	            Smear not done:	pulmonary	TB	cases	
of	breath,	chest	pain,	hemoptysis)	and/or	consti- without	smear	results

                                                                                           ว า ร ส า ร อ า ยุ ร ศ า ส ต ร์ อี ส า น   1
                                                                                           ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554
Smear positive case: only one sputum specimen smear positive AFB
                           Smear negative case: 2 specimens are smear negative AFB (at least one early-morning
                  specimen) in a well functional external quality assurance (EQA) system
                           Smear not done: pulmonary TB cases without smear results
                        Registration group: new	or	previously	 considered	outcome	of	most	recent	TB	treatment		
                           Registration group: new or previously treated patients, in previously treated patients
               treated	patients,	in	previously	treated	patients	 as	table	1	(No	TB	treatment	category	I	–	IV)IV)
                  considered outcome of most recent TB treatment as table 1 (No TB treatment category I –

               Table 1	TB	registration	group	by	outcome	of	most	recent	TB	treatment TB treatment
                               Table 1 TB registration group by outcome of most recent
Vol. 10 No.1




                        HIV status: TB	register	include	date	of	 ofผู้ป่วยไม่กลับมาเป็นวัco-trimoxazole, andสีstarting
                            HIV status: TB register include date HIV testing, starting ณโรคซำ้า	 ผู้ป่วยไม่เ ยชีวิต
               HIV	testing,	starting	co-trimoxazole,	and	starting	 จากวัณโรค	ลดการแพร่เชื้อวัณโรค	ป้องกันการเกิด
                 ART
IJM




               ART                                                 วัณโรคดื้อยาและป้องกันการแพร่เชื้อวัณโรคดื้อยา
                 Standard treatment regimens                       	         ขนาดยารักษาวัณโรคให้คำานวณตามนำ้า
               Standard treatment regimens เพื่อใหผูปวยหายจากวัณโรคและมีคุณภาพชีวิตเหมือนคน
                            เปาหมายในการรักษาวัณโรค               หนักตัว	ดังตารางที	่ 2	โดยการให้ยาในรูป	fixed-dose	
               	 ปกติ ผูปวยไมกลับมาเปนวัณโรค	เพืํา ให้ผวปวย เสีcombinations	(FDCs)	จะช่วยป้ชื้อวันการเลืปองกัน
                        เป้าหมายในการรักษาวั โรคซ้ อ ผูป ู้ ยไม ยชีวิตจากวัณโรค ลดการแพรเ องกั ณโรค อกรับ
                                                       ่       ่
               หายจากวัดวัโรคและมีคุณภาพชีวงกัเหมือนคนปกติ	ณโรคดื้อยา
                 การเกิ ณ ณโรคดื้อยาและปอ ิต นการแพรเชื้อวั ประทานยาเองบางชนิด	ซึ่งจะทำาให้เกิดปัญหาการ
                                                                   ดื้อยาตามมา
                                                                   2




               2       ว า ร ส า ร อ า ยุ ร ศ า ส ต ร์ อี ส า น
                     ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554
ขนาดยารักษาวัณโรคใหคํานวณตามน้ําหนักตัว ดังตารางที่ 2 โดยการใหยาในรูป fixed-
  dose combinations (FDCs) จะชวยปองกันการเลือกรับประทานยาเองบางชนิด ซึ่งจะทําใหเกิด
  ปญหาการดื้อยาตามมา

Table 2 Recommended	doses	of	first-line	antituberculosis	drugs	for	adults for adults
            Table 2 Recommended doses of first-line antituberculosis drugs




New patients
 New
     patients                                                   phase	แล้วในช่วง	continuation	phase	จึงพิจารณา
	            ผูผูปวยใหม่ ใให้ ถื อ ว่ า ไวต่ อ ยาต้านวัณโรค ยกเวน า	3	ครั้งต่อ่ที่มีคดาห์	 คืกของวัณโรคดื้อตอ
               ้ ป่ ว ยใหม หถือวาไวตอยาต า นวั ณ โรค	 ให้ย ผูที่อยูในที สัป วามชุ อ	2HRZE/4(HR)3	โดย
   isoniazid สูงในผูปวยรายใหม หรือมีประวัติสัมผัสใกลชิดกับผูปวยวัณโรคดื้อยา
ยกเว้น	 ผู้ที่อยู่ในที่ที่มีความชุกของวัณโรคดื้อต่อ	 แต่ละครั้งผู้ป่วยต้องได้รับยาภายใต้การสังเกตุตรง	
              ผูปวยทุกรายควรไดรับยาตานวัณโรคที่มี rifampicin อยูตลอดระยะเวลา 6 เดือนของการ
isoniazid	สูงในผู้ป่วยรายใหม่	หรืควรใหการรััมษาดวย(directly	observed)	ถ้าหากต้องการให้ยา	3	ครั้งต่อ
   รักษา โดยให 2HRZE/4HR ไม
                                             อมีประวัติสกผัส 2HRZE/6HE เนื่องจากมีอัตราตายและอัตรา
ใกล้ชบเปบผู้ปสูยวัสูตโรคดื้อกษา 2HRZE/4HR นี้สามารถใชไดกับ ช่วง	intensive	และ	continuation	phase	
   กลั ิดกั นซ้ํา ่ว ง ณ รการรัยา
                                                                สัปดาห์ทั้ง
                                                                            extrapulmonary TB ยกเวนวัณโรค
	 เยื่อหุมสมองยทุณโรคกระดูกและขอ านวัณโรคที่ คือ	2(HRZE)3/4(HR)3	ผู้ป่วยรายนั้นปวยวัณได้อยู่
             ผู้ป่ว วั กรายควรได้รับยาต้ ซึ่งผูเชี่ยวชาญแนะนําใหยานานขึ้น นอกจากนั้นในผู ต้องไม่
มี	โรคเยื่อหุมสมองแนะนําให streptomycin แทน ethambutolผูจากขอHIV	 หรืออยู่ใานที่ที่มนวาไมมี ของ	
    rifampicin	อยู่ตลอดระยะเวลา	6	เดือนของการ ร่วมกับ ้ป่วย	 แนะนําดังกล วจะเห็ ีความชุก




                                                                                                                           IJM
รักษา	โดยให้	2HRZE/4HR	ไม่ควรให้การรักษาด้วเดิม นั่นคือผูป	และผู้ป่วยต้องได้รับยาภายใต้การสังเกตุ
   การใหยา 2HRZ/4HR (CAT III) ตาม guideline ย	 HIV	สูง วยทุกรายแนะนําให 2HRZE/4HR
2HRZE/6HE	เนื่องจากมีอัตราตายและอัตรากลับ ตรงทุกน้ําหนักตัวของผูปวย และถาสัปนไปไดว่าจะ
              การบริหารยา ใหคํานวณขนาดยาใหเหมาะสมกับ ครั้ง	ไม่ควรให้ยา	2	ครั้งต่อ เป ดาห์ไม่



                                                                                                                           Vol. 10 No.1
เป็แนะนํางใหผูปวยทุกรายรับประทานยาทุก้สามารถ เป็นช่วง	intensive	หรือ	continuation	phase	เนืองจาก
    นซำ้าสู 	สูตรการรักษา	2HRZE/4HR	นี วันตลอดระยะเวลาของการรักษา ในกรณีที่ตองการใหย่ า
ใช้เปนบางวัน แนะนําวาควรใหยาทุนวันในชวง่อintensive phaseยลืมวในชวง continuation่งครั้งในสัปดาห์
    ได้กับ	extrapulmonary	TB	ยกเว้ ก ณโรคเยื หุ้ม หากผู้ป่ว แล รับประทานยาไปหนึ phase จึง
สมอง	วัณโรคกระดูกครั้งตออ	ซึ่งผู้เชี่ยวชาญแนะนำา นั้น	 ก็เท่ากับว่้งผูปวยตองไดยาเพียงครึ่งเดีาร
   พิจารณาใหยา 3 และข้ สัปดาห คือ 2HRZE/4(HR)3 โดยแตละครัาผู้ป่วยได้รับ รับยาภายใตก ยวของ
ให้ยงานานขึ้น(directly observed)่วยวัณโรคเยื่อหุ้ม ขนาดทีครั้งตอสัปดาหทั้งชวง intensive และ
   สั เกตุตรง 	นอกจากนั้นในผู้ป ถาหากตองการใหยา 3 ่ควรจะได้
สมองแนะนำาให้	 streptomycin	แทน	ethambutol	 	้นตองไมดัดนัยูรผู้ป่วย	HIV	หรือผู้ป่วยทีในทีนที่ที่
   continuation phase คือ 2(HRZE)3/4(HR)3 ผูปวยรายนั                    ไ ง อ ้น วมกับผูปวย HIV หรืออยู ่อยู่ใ ่
จากข้ อ แนะนำ า ดั ง กล่ า วจะเห็ น ว่ า ไม่ มี ก ารให้ ย า	 มีความชุกของ	HIV	สูง	คือมีความชุกของ	HIV	ใน
                                                             3
2HRZ/4HR	(CAT	III)	ตาม	guideline	เดิม	นั่นคือผู้ หญิงตั้งครรภ์มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ	1	หรือมี
ป่วยทุกรายแนะนำาให้	2HRZE/4HR                                   ความชุกของ	HIV	ในผู้ป่วยวัณโรคมากกว่าหรือ
	            การบริหารยา	ให้คานวณขนาดยาให้เหมาะ เท่ากับร้อยละ	5	ควรบริหารยาต้านวัณโรคโดยให้รบ
                                     ำ                                                                                 ั
สมกับนำาหนักตัวของผูปวย	และถ้าเป็นไปได้แนะนำา ประทานยาทุกวัน	หรือรับประทานยาทุกวันอย่าง
           ้                  ้ ่
ให้ผู้ป่วยทุกรายรับประทานยาทุกวันตลอดระยะ น้อยในช่วง	intensive	phase	ส่วนระยะเวลาในการ
เวลาของการรักษา	ในกรณีที่ต้องการให้ยาเป็นบาง รักษา	ผูเ้ ชียวชาญบางท่านแนะนำาให้ยานานขึนในผู้
                                                                          ่                                        ้
วัน	 แนะนำาว่าควรให้ยาทุกวันในช่วง	 intensive	 ป่วย	HIV

                                                                            ว า ร ส า ร อ า ยุ ร ศ า ส ต ร์ อี ส า น   3
                                                                            ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554
ในที่ที่มีความชุกของวัณโรคดื้อยา	isonia-     	              ดังนั้นผู้ป่วยที่เคยได้รับการรักษามาก่อน
               zid	สูงในผู้ป่วยใหม่	แนะนำาให้	2HRZE/4HRE	และ          ถ้ า เป็ น ผู้ ป่ ว ยที่ รั ก ษาล้ ม เหลว	 (failure)	 ควรให้ 	
               แนะนำาให้ยาทุกวัน	ไม่ควรให้ยา	3	ครั้งต่อสัปดาห์        empirical	MDR	regimen	แต่ถ้าเป็นผู้ป่วยที่ขาด
               ไม่ว่าจะเป็นช่วง	intensive	หรือ	continuation	phase	    การรักษา	(default)	หรือกลับเป็นซำ้า	(relapse)	อาจ
               ซึ่งข้อมูลปัจจุบันทั่วโลกพบว่า	โดยเฉลี่ยพบผู้ป่วย      ให้การรักษาด้วย	regimen	ที่มี	 first-line	drugs	คือ	
               วัณโรครายใหม่ดื้อยา	isoniazid	ร้อยละ	7.4               2HRZES/1HRZE/5HRE	ผูปวยทีเ่ คยได้รบการรักษา
                                                                                                            ้ ่         ั
                                                                      มาก่อน	ควรได้รับการติดตามการรักษาภายใต้การ
               Previously treated patients                            สังเกตุตรงทุกราย
               	            จากรายงานทั่วโลกพบผู้ป่วยที่เคยได้รับ     	              การเพาะเชื้อนอกจากแนะนำาให้ทำาในผู้
               การรักษามาก่อนร้อยละ	13	ของผู้ป่วยวัณโลก	ในผู้         ป่วยที่เคยได้รับการรักษามาก่อนทุกราย	ยังแนะนำา
               ป่วยกลุ่มนี้จะพบ	MDR-TB	ร้อยละ	15	ซึ่งสูงถึง	5	        ให้ทำาในผู้ป่วยที่อยู่ร่วมกับผู้ป่วย	HIV	ที่ป่วยเป็น
               เท่า	เมือเทียบกับการพบ	MDR-TB	ในผูปวยวัณโรค
                       ่                                   ้ ่        วัณโรค	โดยเฉพาะในที่ที่มีความชุกของ	MDR-TB	
               รายใหม่	(พบ	MDR-TB	ในผูปวยวัณโรครายใหม่รอย
                                            ้ ่                  ้    สูง	และในบางที่ยังแนะนำาให้ทำา	 DST	ใน	HIV-
               ละ	3)	จากการสำารวจขององค์การอนามัยโลกใน	10	            infected	TB	ที่มี	 CD4	counts	ตำ่ากว่า	200	เซลล์/
               ประเทศ	พบว่าในผู้ป่วยที่เคยรักษามาก่อน	ถ้าเป็น         ลูกบาศก์มลลิเมตร	ส่วนในระหว่างการรักษา	ผูปวย
                                                                                      ิ                                       ้ ่
               ผู้ป่วยที่ขาดการรักษา	(default)	หรือกลับเป็นซำ้า	      ทุกรายไม่ว่า	new	หรือ	previously	treated	cases	ที่
               (relapse)	จะพบ	MDR-TB	ร้อยละ	32	แต่ถ้าเป็นผู้          มี	 sputum	smear	positive	AFB	หลังจากสิ้นสุด	
               ป่วยที่รักษาล้มเหลว	(Failure)	จะพบ	MDR-TB	ถึง          intensive	phase	ให้ตรวจซำ้าอีกหนึ่งเดือน	ถ้าหาก
               ร้อยละ	49	และถ้าสูตรการรักษามี	rifampicin	ตลอด	        ยัง	smear	positive	AFB	แนะนำาให้ส่ง	DST	เพื่อให้
               6	เดือนของการรักษาแล้วเกิดรักษาล้มเหลว	ยิ่งมี          ได้ผลเพาะเชื้อก่อนเดือนที่	 5	ของการรักษา	ทำาให้
Vol. 10 No.1




               โอกาสพบ	MDR-TB	สูงถึงร้อยละ	50	ถึง	94                  สามารถปรับเปลี่ยนการรักษาได้เร็วขึ้น
               	            ผูปวยทุกรายต้องส่งเสมหะเพาะเชือ	(drug	
                              ้ ่                              ้
IJM




               susceptibility	 testing,	 DST)	 ก่อนให้การรักษา        Monitoring during treatment
               ครั้ ง ใหม่ 	 โดยการเพาะเชื้ อ ขึ้ น กั บ ความสามารถ   	          ตรวจเสมหะ	AFB	staining	ทุกรายหลังสิน  ้
               ของห้องปฏิบัติการในประเทศนั้น	 ๆ	 โดยอาจใช้	           สุด	intensive	treatment	ดังนันถ้าเป็นผูปวยใหม่	เมือ
                                                                                                   ้         ้ ่         ่
               rapid	molecular-based	DST	(line	probe	assays)	ซึ่ง     ได้รบการรักษาไป	2	เดือน	ให้ตรวจเสมหะ	ถ้า	smear	
                                                                          ั
               สามารถบอกว่าเชือดือต่อ	rifampicin/isoniazid	หรือ
                                   ้ ้                                positive	 AFB	 ให้ตรวจซำ้าที่เดือนที่	 3	 ถ้าหากยัง	
               ไม่ภายใน	1	ถึง	2	วัน	หรืออาจจะใช้	 conventional	       smear	positive	AFB	แนะนำาให้ส่ง	DST	ถ้าผลออก
               DST	ซงสามารถบอกผลได้ภายในสัปดาห์	(ประมาณ	
                         ึ่                                           มาเป็น	MDR-TB	ถือว่าเป็น	treatment	failure	ในผู้
               10	วัน)	ถ้าใช้	 liquid	media	หรือบอกผลได้ภายใน         ป่วยทีเ่ คยได้รบการรักษามาก่อนและได้รบ	regimen	
                                                                                     ั                           ั
               เดือน	(ประมาณ	28	ถึง	42	วัน)	ถ้าใช้	 solid	media	      8	เดือน	(2HRZES/1HRZE/5HRE)	ได้รับการรักษา
               ในประเทศที่ใช้	conventional	DST	ซึ่งกว่าจะทราบ         ไป	3	เดือน	ให้ตรวจเสมหะ	ถ้า	smear	positive	AFB	
               ผลค่อนข้างช้า	จึงควรพิจารณาให้การรักษาผู้ป่วย          ให้ส่ง	DST	ถ้าผลออกมาเป็น	MDR-TB	ถือว่าเป็น	
               ด้วย	empirical	regimen	ขณะที่รอผล	DST                  treatment	failure

               4       ว า ร ส า ร อ า ยุ ร ศ า ส ต ร์ อี ส า น
                     ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554
ดังนั้นผู้ป่วยรายใหม่	โดยทั่วไป	จะติดตาม	                  	          -	 ติดเชื้อ	MDR-TB	ซึ่งไม่ตอบสนองต่อ	
sputum	smear	AFB	ที่	เดือนที่	2,	5	และ	6	ถ้าเดือนที่	                 first-line	treatment
2	sputum	smear	positive	AFB	ให้ตรวจซำ้าที่เดือนที่	                   	          -	 smear	positive	AFB	ที่เห็นจากกล้อง
3	ถ้าได้ผลบวกให้ส่ง	DST	ส่วนเดือนที่	5	และ	6	ถ้า	                     จุลทรรศน์เป็นเชื้อไม่มีชีวิต	
sputum	smear	positive	AFB	ให้ส่ง	DST                                  	          ดังนั้นในผู้ป่วยรายใหม่ที่ได้รับการรักษา
	          ในผู้ป่วยที่ได้รับการรักษามาก่อนและได้                     ด้วย	regimen	ที่มี	 rifampicin	ตลอด	6	เดือน	หาก
รับ	regimen	8	เดือน	(2HRZES/1HRZE/5HRE)	จะ                            ผลการตรวจเสมหะหลังสิ้นสุด	 intensive	 treat-
ติดตาม	sputum	smear	AFB	ที	่ เดือนที	่ 3,	5	และ	8	ถ้า                 ment	แล้วได้ผล	positive	AFB	ใน	guideline	ใหม่นี้	
เดือนที่	3	sputum	smear	positive	AFB	ให้ส่ง	DST	                      ไม่แนะนำาให้	 extension	ช่วง	intensive	phase	ออก
ส่วนเดือนที	่ 5	และ	8	ถ้า	sputum	smear	positive	AFB	                  ไป	แต่แนะนำาให้กลับไปประเมินว่าผู้ป่วยได้รับการ
ให้ส่ง	DST                                                            รักษาทีได้คณภาพและรับประทานยาอย่างสมำาเสมอ
                                                                               ่ ุ                                     ่
	          การเก็บเสมหะส่งตรวจนัน	ผปวยไม่จาเป็น
                                           ้ ู้ ่           ำ         หรือไม่	และให้การแก้ไขทันทีเพือให้ผปวยได้รบการ
                                                                                                        ่ ู้ ่           ั
ต้องหยุดยาต้านวัณโรค	และเมือได้เสมหะแส้ว	ให้สง
                                   ่                             ่    รักษาที่ถูกต้อง	 นอกจากนั้นยังแนะนำาให้ติดตาม
ตรวจทันที	แต่ถาไม่สามารถส่งตรวจได้ทนที	ให้เก็บ
                    ้                               ั                 เสมหะผู้ป่วยซำ้าในเดือนที่	 3	ถ้ายังได้ผล	positive	
ไว้ในตู้เย็น                                                          AFB	ให้สงเสมหะเพาะเชือ	เพราะอาจเป็น	MDR-TB	
                                                                                  ่               ้
	          การตรวจเสมหะหลังสิ้นสุด 	 intensive	                       นอกจากติดตามอาการทางคลินิก	การย้อมเสมหะ	
treatment	แล้วได้ผล	positive	AFB	ไม่ได้บ่งชี้ว่าผู้                   AFB	แล้ว	การติดตามนำ้าหนักตัวของผู้ป่วยจะช่วย
ป่วยรายนั้นจะเกิด	relapse,	failure	หรือ	pretreat-                     บอกว่าผู้ป่วยตอบสนองต่อการรักษาหรือไม่	
ment	isoniazid	resistance	อย่างไรก็ตามผลตรวจ                          	          การทำา	cohort	analysis	of	treatment	out-
ดังกล่าวจะกระตุนให้แพทย์กลับไปติดตามประเมิน
                      ้                                               comes	ซึ่งโดยทั่วไปจะทำาทุก	3	เดือน	โดยเฉพาะ




                                                                                                                                  IJM
การรักษาผู้ป่วยให้ดียิ่งขึ้น	ซึ่งการตรวจเสมหะหลัง                     การประเมิ น ผลการรั ก ษาของ	 new	 pulmonary	



                                                                                                                                  Vol. 10 No.1
สินสุด	intensive	treatment	แล้วได้ผล	positive	AFB	
  ้                                                                   smear-positive	patients	จะถือว่าเป็นตัวบ่งชี้สำาคัญ
อาจเป็นไปได้หลายกรณีดังต่อไปนี้                                       ของคุณภาพของการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรค	(pro-
	          -	 การรักษาในช่วง	intensive	phase	ผู้ป่วย                  gramme	quality)	คำาจำากัดความของผลการรักษา
รับประทานยาไม่สมำ่าเสมอ	และได้รับการติดตาม                            ดังตารางที่	 3	ซึ่งการประเมินผลการรักษาว่า	cure	
การรักษาไม่ดี                                                         นอกจากจะใช้	 sputum	smear	แล้ว	ยังใช้การเพาะ
	          -	 ยาต้านวัณโรคไม่ได้คุณภาพ                                เชื้อร่วมด้วย
	          -	 ขนาดยาต้านวัณโรคได้ตากว่ามาตรฐานำ่                      	          ถ้าผู้ป่วยไม่ได้มาติดตามการรักษาตามนัด	
ที่กำาหนด                                                             ถ้าเป็นช่วง	intensive	phase	จะต้องติดตามผู้ป่วย
	          -	 การตอบสนองต่อการรักษาช้า	เนืองจาก         ่             ภายในวันนั้น	ส่วนถ้าเป็นช่วง	continuation	phase	
มีโพรงฝีขนาดใหญ่	 (extensive	cavitation)	ทำาให้มี                     จะต้ อ งติ ด ตามผู้ ป่ ว ยภายในสั ป ดาห์ นั้ น	 และหา
เชื้อปริมาณมากก่อนการรักษา                                            สาเหตุของการไม่มาติดตามการรักษาตามนัด	เพื่อ
	          -	 มี โ รคประจำ า ตั ว ซึ่ ง มี ผ ลทำ า ให้ ผู้ ป่ ว ยมี   ให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาต่อเนื่องและสมำ่าเสมอ
โอกาสได้รับยาไม่สมำ่าเสมอหรือตอบสนองต่อการ
รักษาไม่ดี
                                                                                   ว า ร ส า ร อ า ยุ ร ศ า ส ต ร์ อี ส า น   5
                                                                                   ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554
ถาผูปวยไมไดมาติดตามการรักษาตามนัด ถาเปนชวง intensive phase จะตองติดตามผูปวย
               ภายในวันนั้น สวนถาเปนชวง continuation phase จะตองติดตามผูปวยภายในสัปดาหนั้น และหา
               สาเหตุของการไมมาติดตามการรักษาตามนัด เพื่อใหผูปวยไดรับการรักษาตอเนื่องและสม่ําเสมอ
               Table 3 Definition	of	treatment	outcome
                                                        Table 3 Definition of treatment outcome




               	            ผู้ป่วยควรได้รับการป้องกันผลข้างเคียงที่          tamine	และ	skin	moisturizing	ติดตามผู้ป่วยอย่าง
                                                                                6
               เกิดจากยา	เช่นการให้	pyridoxine	10	mg/day	ตลอด                 ใกล้ชิด	ถ้ามีผื่นขึ้น	ควรหยุดยาต้านวัณโรคทั้งหมด	
               ช่วงทีผปวยได้ยาต้านวัณโรค	เพือป้องกัน	isoniazid-
                     ่ ู้ ่                      ่                            เมือผืนดีขน	ให้เริม	challenge	ยาทีมปญหาให้เกิดผืน
                                                                                 ่ ่ ึ้         ่                ่ ี ั            ่
               induced	peripheral	neuropathy	โดยเฉพาะในผู้ป่วย                น้อยที่สุดก่อน	คือ		isoniazid	หรือ	rifampicin	โดย
               ดังต่อไปนีคอ	หญิงตังครรภ์	โรคเอดส์	ดืมสุราเรือรัง	
                             ้ื        ้                 ่         ้          ค่อย	ๆ	เริ่มให้	dose	ขนาดตำ่าก่อน	คือ	isoniazid	50	
Vol. 10 No.1




               ภาวะขาดอาหาร	เบาหวาน	โรคตับ	และโรคไตวาย                        มิลลิกรัม	แล้วปรับเพิมขนาดจนได้เต็มขนาดภายใน	
                                                                                                     ่
               	            ก่อนให้การรักษาควรบอกผลข้างเคียงจาก               3	วัน	ถ้าไม่มีปัญหาจึงให้ยาตัวถัดไป
               ยาที่อาจจะเกิดขึ้น	และติดตามผลข้างเคียงจากยา                   	         -	 Drug-induced	hepatitis	ยาในกลุ่ม	first-
IJM




               โดยอาศัยการซักประวัติอาการของผู้ป่วยเป็นหลัก	                  line	anti-TB	drugs	ที่ทำาให้เกิด	hepatitis	คือ	isonia-
               (symptom-base	approach)	ไม่แนะนำาให้เจาะเลือด                  zid,	pyrazinamide	และ	rifampicin	ส่วนยาที่ทำาให้
               ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการเป็นประจำาเพื่อหาผล                    เกิด	jaundice	คือ	rifampicin	การรักษา	hepatitis	ขึ้น
               ข้างเคียงจากยา	ถ้าเป็น	minor	adverse	effect	ส่วน               กับว่าอาการเกิดขึนในช่วง	intensive	หรือ	continua-
                                                                                                  ้
               ใหญ่สามารถให้ยาต้านวัณโรคต่อได้และให้ยารักษา                   tion	phase	ความรุนแรงของตับอักเสบ	ความรุนแรง
               ตามอาการ	แต่ถ้าเป็น	major	adverse	effect	แนะนำา                ของวัณโรค	ถ้าคิดว่าอาการตับอักเสบเกิดจากยาต้าน
               ให้หยุดยา	และรับผู้ป่วยไว้รักษาตัวในโรงพยาบาล	                 วัณโรค	ให้หยุดยาวัณโรคทุกตัว	พร้อมกับหาสาเหตุ
               ผลข้างเคียงที่พบบ่อยและการแก้ไขดังตารางที่ 	 4	                ของภาวะตับอักเสบและตรวจ	 LFT	 ถ้าผู้ป่วยไม่
               และ	5	โดยผลข้างเคียงที่พบบ่อยมีหลักการแก้ไขดัง                 ปลอดภัยพอที่จะหยุดยาต้านวัณโรคเนื่องจากเจ็บ
               ต่อไปนี้คือ                                                    ป่วยรุนแรงจากวัณโรค	ให้พิจารณาให้ยากลุ่มที่ไม่มี
               	            -	 Cutaneous	 reaction	 ถ้ า คั น ไม่ มี ผื่ น	   พิษต่อตับ	ได้แก่	 streptomycin,	ethambutol,	และ	
               สามารถให้ยาต้านวัณโรคต่อได้ร่วมกับให้	 antihis-                fluoroquinolone	เมื่ออาการดีขึ้นร่วมกับ	LFT	ดีขึ้น	

                6       ว า ร ส า ร อ า ยุ ร ศ า ส ต ร์ อี ส า น
                      ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554
ซึ่งส่วนใหญ่ใช้เวลา	2	สัปดาห์	จึงเริ่ม	challenge	ยา	 hepatitis	เกิดในช่วง	intensive	phase	สูตรยาที่ได้จะ
       เนื่องจาก	rifampicin	ทำาให้เกิด	hepatotoxicity	น้อย เป็น	2HRES/6HR	ถ้าไม่สามารถใช้	 pyrazinamide	
       กว่า	 isoniazid	 และ	 pyrazinamide	 นอกจากนั้น	 และปัญหา	hepatitis	ในช่วง	continuation	phase	
       rifampicin	เองยังเป็นยาที่มีประสิทธิภาพดีที่สุดใน สูตรยาที่ได้จะเป็น	2HRZE/4HR	ถ้าไม่สามารถใช้	
       การรักษาวัณโรค	จึงแนะนำาให้	challenge	ยา	rifam- isoniazid	พิจารณาให้	RZE	เป็นเวลา	6	ถึง	9	เดือน	ถ้า
       picin	ก่อน	แล้วรอ	3	ถึง	7	วัน	จึง	challenge	ยา	iso- ไม่สามารถใช้	rifampicin	และ	pyracinamide	สูตรยา
       niazid	ต่อ	โดยทัวไปถ้าผูปวยเคยมีปญหาเหลืองจาก ที่ได้จะเป็น	2HES/10HE	ถ้าไม่สามารถใช้	isoniazid	
                        ่      ้ ่          ั
       ยา	หลังจาก	challenge	ยา	rifampicin	และ	isoniazid	 และ	rifamicin	สูตรยาที่ได้จะเป็น	streptomycin,	
       ได้แล้ว	มักจะไม่	challenge	ยา	pyrazinamide	ต่อ	ดัง ethambutol	และ	fluoroquinolone	เป็นเวลา	18	ถึง	
2HES/10HE ถ าไม สามารถใช isoniazid และ rifamicin สูตรยาที่ไ ด จะเปน streptomycin,
       นั้นสูตรยาที่ผู้ป่วยจะได้รับขึ้นอยู่กับว่าแพ้ยาอะไร		 24	เดือน
ethambutol 	และ สามารถใช้	 pyrazinamide	 และปัญถึง 24 เดือน
       เช่น ถ้าไม่ fluoroquinolone เปนเวลา 18 หา	
        Table 4 Symptom-based	approach	to	managing	minor	side-effects	of	anti-TB	drugs
        Table 4 Symptom-based approach to managing minor side-effects of anti-TB drugs




                                                                                                                    IJM
                                                                                                                    Vol. 10 No.1




        Table 5 Symptom-based approach to managing major side-effects of anti-TB drugs




                                                                     ว า ร ส า ร อ า ยุ ร ศ า ส ต ร์ อี ส า น   7
                                                                     ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554
Table 5 Symptom-based	approach	to	managing	major	side-effects	of	anti-TB	drugs
               Table 5 Symptom-based approach to managing major side-effects of anti-TB drugs




               Co-management of HIV and active ity	testing	(DST)	ก่อนให้การรักษา	เนื่องจากพบ
               TB case                         อัตราการเสียชีวิตสูง	ถ้าผู้ป่วย	HIV	ติดเชื้อวัณโรค
               	          ควรขออนุญาติผู้ป่วยวัณโรคทุกรายตรวจ	 ดื้อยาโดยเฉพาะ	MDR-TB	นอกจากนั้นสมาชิกใน
Vol. 10 No.1




               HIV	testing	เพื่อให้ผู้ป่วยเข้าถึงยา	antiretroviral	 8ครอบครัวทุกรายควรได้รบการตรวจเพราะมีโอกาส
                                                                                             ั
               therapy	(ART)	ให้เร็วที่สุดภายใน	8	สัปดาห์หลัง ได้รับเชื้อวัณโรคจากผู้ป่วย	การให้ยาต้านวัณโรคใน
               จาก	starting	anti-TB	drugs	ซึ่งจากการศึกษาพบ ผู้ป่วย	HIV-positive	TB	patients	นั้น	ไม่แนะนำาให้	
IJM




               ว่าทำาให้	 survival	ของผู้ป่วยดีขึ้นและช่วยลดการ intermittent	TB	therapy	โดยเฉพาะในช่วง	intensive	
               เกิด	TB	recurrence	rate	ยาที่แนะนำาให้เป็น	first- phase	เพราะมีโอกาสเกิด	relapse	และ	failure	สูงกว่า
               line	ART	คือ	standard-dose	efavirenz	(EFV)	ร่วม การให้	daily	intensive	phase	ประมาณ	2	ถึง	3	เท่า	
               กับ	2	nucleoside	reverse	transcriptase	inhibitors	 นอกจากนันยังมีการศึกษาทีประเทศอินเดียพบว่า	ผู้
                                                                               ้                ่
               (NRTIs)	ซึ่งอาจจะเป็น	AZT	(หรือ	TDF)	+	3TC	 ป่วยทีลมเหลวจากการรักษาด้วย	three	times	weekly	
                                                                           ่้
               (หรือ	FTC)	+	EFV	ถ้าในหญิงตังครรภ์ซงไม่สามารถ short-course	intermittent	regimen	จะมีโอกาสเกิด	
                                              ้        ึ่
               ให้	efavirenz	เนื่องจากทำาให้เกิด	teratogenic	effect	 acquired	rifampicin	resistance	สูง	ดังนั้นสูตรการ
               ได้	 ให้พิจารณาให้	 nevirapine	(NVP)	แทน	เป็น	 รักษาที่แนะนำา	คือ	2HRZE/4HR	อย่างไรก็ตามผู้
               AZT	(หรือ	TDF)	+	3TC	(หรือ	FTC)	+	NVP	และ เชี่ยวชาญบางท่านแนะนำาให้รักษาวัณโรคในผู้ป่วย	
               พิจารณาให้	cotrimoxazole	prophylaxis	ทุกรายเพื่อ HIV	 positive	 นานขึ้นกว่าผู้ป่วย	 HIV	 negative	
               ป้องกันการติดเชือ	Pneumocystis	jirovecii	นอกจาก เนืองจากมีบางการศึกษาพบว่าการรักษาด้วยสูตรที่
                                  ้                                    ่
               นันผูปวยทุกรายควรส่งเสมหะทำา	drug	susceptibil- มี	rifampicin-containing	regimen	นานมากกว่าหรือ
                 ้ ้ ่

               8       ว า ร ส า ร อ า ยุ ร ศ า ส ต ร์ อี ส า น
                     ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554
เท่ากับ	8	เดือน	มี	relapse	น้อยกว่าผูปวยทีได้สตรดัง
                                     ้ ่ ่ ู            อืนทังหมด	(functional	equivalent	of	only	one	drug	
                                                           ่ ้
กล่าว	6	เดือน	อย่างไรก็ตามการศึกษาดังกล่าวที่นำา        treatment)	มามากกว่า	1	เดือน	จะมีโอกาศดื้อต่อยา
มากล่าวถึงนี้มีคุณภาพการศึกษาค่อนข้างตำ่า	ผู้ป่วย       ชนิดนันสูง	ส่วนผลการตรวจ	DST	จะช่วยทำาให้การ
                                                                 ้
ควรได้รับการติดตามการรักษาอย่างใกล้ชิดเพราะ             ปรับเปลี่ยนการรักษาได้ง่ายขึ้น	อย่างไรก็ตามต้อง
มีโอกาสเกิดผลข้างเคียงจากยาโดยฉพาะผื่นสูงกว่า           แปลผลพร้อมกับการดูการตอบสนองทางคลินิก	
คนทั่วไป	เพราะได้ทั้ง	anti-TB	drugs,	ART	และ	           	          โดยทั่วไปแนะนำาให้ยาอย่างน้อย	4	ชนิด
cotrimoxazole	และเนื่องจากผู้ป่วยได้ยาหลายชนิด          ที่มีประสิทธิภาพ	 ไม่เลือกใช้ยาที่อาจจะมีปัญหา	
จึงอาจจะมีปัญหา	compliance	ของการรักษาได้               cross-resistance	กัน	ควรให้ยาฉีดร่วมด้วยอย่างน้อย	
                                                        6	เดือน	หรือให้ต่ออีก	4	เดือนหลังจาก	smear	หรือ	
Supervision and patient support                         culture	negative	ระยะเวลาในการรักษาคือ	ให้ยาต่อ
	           ผู้ป่วย	ครอบครัว	ชุมชน	บุคลากรทางการ        อย่างน้อย	18	เดือนหลังจาก	culture	negative	ในบาง
แพทย์ที่เกี่ยวข้องในการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรค	          รายอาจให้ยานานถึง	24	เดือน	เช่น	ผู้ป่วยเรื้อรังและ
ต้องช่วยกันให้การดูแลผู้ป่วยเพื่อให้มั่นใจว่าผู้ป่วย    มีการทำาลายเนือปอดอย่างมาก	การติดตามการรักษา
                                                                           ้
รับประทานยาถูกต้องตามที่กำาหนด	เพื่อให้ผู้ป่วย          ในผู้ป่วย	MDR-TB	ให้ติดตาม	sputum	smear	และ	
รักษาหายขาดและไม่แพร่เชื้อ	ดังนั้นการให้ยาต้าน          culture	ทุกเดือนจนกระทั่ง	negative	หลังจากนั้น	
วัณโรคแนะนำาให้ภายใต้การดูแลกำากับ	(supervi-            ให้ติดตาม	smear	ทุกเดือน	และ	culture	ทุก	3	เดือน		
sion)	และรับประทานยาต้านวัณโรคภายใต้การสัง              จะบอกว่าผู้ป่วยรายนั้นมี	 sputum	conversion	ก็ต่อ
เกตุตรง	(directly	observed	therapy,	DOT)	โดยยึด         เมื่อมี	smear	และ	culture		negative	2	ครั้งติดต่อกัน
ผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง	(patient-centred	care)	ทั้งนี้     ในระยะเวลาห่างกัน	30	วัน	
ทั้งนั้นเพื่อไม่ให้ผู้ป่วยขาดการรักษาหรือได้รับการ      	          ปั จ จุ บั น ยาที่ พิ จ ารณาใช้ ใ นการรั ก ษา	




                                                                                                                     IJM
รักษาไม่สมำ่าเสมอ	จากรายงานทั่วโลกพบว่าผู้ป่วย	         MDR-TB	มีอยู่	5	กลุ่มดังนี้คือ



                                                                                                                     Vol. 10 No.1
new	smear-positive	cases	ที่ได้รับการรักษาภายใต้	                  Group 1: First-line oral agents ได้แก่	
DOTS	ในปี	2006	มีเปอร์เซนต์	default	ร้อยละ	5            pyrazinamide	(Z),	ethambutol	(E),	และ	rifabutin	
                                                        (Rfb)	ยากลุ่มนี้เป็นยาที่มีประสิทธิภาพดีที่สุดและ
Treatment of drug-resistant tuber-                      ผู้ป่วยทนต่อผลข้างเคียงของยาได้ดีที่สุด	ถ้าผลการ
culosis                                                 ตรวจ	DST	และการตอบสนองทางคลินิกบ่งชี้ว่า
	         ยังไม่มี	 standard	treatment	สำาหรับการ       ผู้ป่วยยังตอบสนองต่อยา	 ควรเลือกใช้ยากลุ่มนี้
รักษา	MDR-TB	สำาหรับทุกประเทศ	ดังนันจึงขึนกับ
                                        ้ ้             ร่วมด้วยในการรักษา	อย่างไรก็ตาม	ถ้าในสูตรการ
ข้อมูลพื้นฐานของประเทศนั้น	ๆ	ว่ามีปัญหาดื้อยา           รักษาครั้งที่แล้วที่ล้มเหลว	มียากลุ่มนี้	 อาจจะต้อง
อะไรมากน้อยเพียงใด	เพื่อจะออกแบบ	standard	              ระมัดระวังว่าผู้ป่วยดื้อยาแม้ว่าผล	DST	จะไวต่อยา
empiric	MDR-TB	สำาหรับประเทศนั้น	ๆ	แพทย์                ดังกล่าว	ส่วนยา	rifabutin	มี	 cross-resistance	กับ	
ควรประเมินประวัติการรักษาที่ผู้ป่วยเคยได้รับมา          rifampicin
ก่อน	ถ้าผู้ป่วยมีประวัติได้รับยาต้านวัณโรคที่เชื้อยัง              Group 2: Injectable agents ได้แก่	kana-
ไวต่อยาในสูตรนั้นเพียงชนิดเดียวแต่ดื้อต่อยาชนิด         mycin	(Km),	amikacin	(Am),	capreomycin	(Cm),	


                                                                      ว า ร ส า ร อ า ยุ ร ศ า ส ต ร์ อี ส า น   9
                                                                      ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554
และ	 strepyomycin	 (S)	 ในการรักษา	 MDR-TB	               acid	ส่วนยา	terizidone	อาจเลือกใช้แทน	cycloserine	
               แนะนำาให้ยาฉีด	aminoglycosides	ร่วมด้วย	ในกลุ่ม           เนื่องจากมีประสิทธิภาพใกล้เคียงกัน
               ยาฉีด	aminoglycosides	นี้	ยาที่มีประสิทธิภาพมาก                     Group 5: Agents with unclear role in
               ทีสดคือ	kanamycin	และ	amikacin	ส่วน	streptomy-
                  ่ ุ                                                    treatment of drug resistant-TB	ได้แก่		clofazimine	
               cin	จะพบปัญหาของการดือยามากกว่า	นอกจากนัน	
                                                  ้                 ้    (Cfz),	linezolid	(Lzd),	amoxicillin/clavulanate	
               kanamycin	และ	amikacin	ยังเป็นยาทีมราคาถูกกว่า
                                                            ่ ี          (Amx/Clv),	thioacetazone	(Thz),	imipenem/cilas-
               และมีผลข้างเคียง	ototoxicity	น้อยกว่า	streptomycin	       tatin	(Ipm/Cln),	high-dose	isoniazid	(16-20	mg/kg/
               เนื่องจากยา	kanamycin	และ	amikacin	มีลักษณะ               day),	clarithromycin	(Clr)	เป็นกลุ่มยาที่	WHO	ไม่
               โครงสร้างเหมือนกันจึงมี	 cross-resistance	กันได้	         แนะนำาให้ใช้เป็นยากลุมแรกในการรักษา	MDR-TB	
                                                                                                ่
               แพทย์จงต้องพิจารณาปัญหาดังกล่างในการเลือกใช้
                         ึ                                               เนืองจากประสิทธิภาพของยาไม่ชดเจน	จะพิจารณา
                                                                            ่                              ั
               ยา	และถ้าหากเชื้อดื้อต่อ	kanamycin	และ	amikacin	          ใช้ยากลุมนีกตอเมือไม่สามารถเลือกใช้ยาในกลุมที	่ 1	
                                                                                  ่ ้็่ ่                              ่
               ให้พิจารณาให้	capreomycin                                 ถึง	4	ในการรักษา	เช่น	ผู้ป่วย	XDR-TB	ซึ่งในกรณี
                           Group 3: Fluoroquinolones ได้แก่	 le-         ดังกล่าวต้องปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
               vofloxacin	(Lfx),	moxifloxacin	(Mfx),	ofloxacin	
               (Ofx)	แนะนำาให้ใช้ยากลุ่มนี้ร่วมด้วยในการรักษา	           Treatment of extrapulmonary TB
               MDR-TB	ยา	levofloxacin	และ	moxifloxacin	มี                and TB in special situations
               ประสิทธิภาพดีกว่า	ofloxacin	ส่วน	ciprofloxacin	           	         รายงานของ	 extrapulmonary	 TB	 พบ
               ปัจจุบันไม่แนะนำาให้ใช้ในการรักษา	drug-suscep-            ได้ร้อยละ	20	ถึง	25	ของผู้ป่วยวัณโรค	โดยอาจจะ
               tible	หรือ	drug-resistant	TB                              พบเป็นวัณโรคต่อมนำ้าเหลือง	วัณโรคเยื่อหุ้มปอด	
                           Group 4: Oral bacteriostatic second-          วัณโรคกระดูกและข้อ	ส่วน	extrapulmonary	TB	ที่
Vol. 10 No.1




               line agents ได้แก่	para-aminosclicylic	acid	(PAS),	       มีอตารตายสูงได้แก่	วัณโรคเยือหุมหัวใจ	วัณโรคเยือ
                                                                             ั                        ่ ้                   ่
               cycloserine	(Cs),	terizidone	(Trd),	ethionamide	          หุ้มสมอง	และวัณโรคแพร่กระจาย
IJM




               (Eto),	protionamide	(Pto)	ยาในกลุ่มนี้	ethionamide	       	         ผู้ป่วยทุกรายควรได้รับการขอตรวจเลือด	
               มั ก เป็ น ยาที่ ถู ก เลื อ กใช้ ใ นการรั ก ษา	 MDR-TB	   HIV	testing	เนื่องจากผู้ป่วยโรคเอดส์พบว่ามีการ
               เนืองจากยามีราคาถูก	แต่ถาไม่คานึงถึงราคา	ยา	para-
                   ่                             ้ ำ                     ติดเชื้อ	extrapulmonary	TB	ได้บ่อย	การรักษา	ex-
               aminosalicylic	acid	ในรูป	enteric-coated	ควรเป็น          trapulmonary	TB	ใช้	regimen	เดียวกับ	pulmonary	
               ยาชนิดแรกทีจะเลือกในกลุมนี	้ เนืองจากไม่ม	ี cross-
                                ่                   ่   ่                TB	คือ	2HRZE/4HR	อย่างไรก็ตามผู้เชี่ยวชาญบาง
               resistance	กับยาชนิดอื่น	ถ้าต้องการใช้ยา	2	ชนิด           ท่านแนะนำาให้ยานาน	9	ถึง	12	เดือน	ในการรักษา
               ในกลุ่มนี้	 ควรเลือก	para-aminosalicylic	acid	และ	        วัณโรคเยื่อหุ้มสมอง		เนื่องจากมีโอกาสเกิด	disabil-
               cycloserine	เพราะการให้	para-aminosalicylic	acid	         ity	และ	mortality	สูง	และแนะนำาให้ยานาน	9	เดือน
               ร่วมกับ	ethionamide	จะมีโอกาสเกิด	GI	side-effect	         ในการรักษาวัณโรคกระดูก	เนื่องจากเป็นวัณโรคที่
               และ	hypothyroidism	มากขึน	ดังนันจะเลือกใช้กตอ
                                                      ้   ้        ็่    ประเมินผลการรักษายาก	ในกรณีที่ไม่คิดถึงวัณโรค
               เมื่อแพทย์ต้องการยา	3	ชนิดในกลุ่มนี้	 โดยให้เป็น	         ดื้อยา	แนะนำาให้	corticosteroid	ในผู้ป่วยวัณโรคเยื่อ
               ethionamide,	cycloserine	และ	para-aminosalicylic	         หุ้มสมองและวัณโรคเยื่อหุ้มหัวใจ	สูตรการรักษา

               10      ว า ร ส า ร อ า ยุ ร ศ า ส ต ร์ อี ส า น
                     ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554
วัณโรคเยื่อหุ้มสมองแนะนำาให้	 streptomycin	แทน	           	         ผู้ป่วยตั้งครรภ์และให้นมบุตร	 สามารถ
ethambutol	การผ่าตัดอาจจะมีบทบาทในบางกรณี                 ให้การรักษาเหมือนคนทั่วไป	 คือ	 2HRZE/4HR	
ซึ่งมักจะเป็น	late	complication	ได้แก่การผ่าตัดใน         เนื่องจาก	first-line	anti-TB	drugs	ทุกตัวปลอดภัย
กรณีที่เกิด	hydrocephalus,	obstructive	uropathy,	         ในหญิงตั้งครรภ์	ยกเว้น	streptomycin	ซึ่งทำาให้เกิด	
constrictive	pericarditis,	และ	neurological	involve-      ototoxic	กับเด็กในครรภ์	จึงห้ามให้ในหญิงตังครรภ์	
                                                                                                        ้
ment	จาก	Pott’s	disease	ในกรณีที่ต่อมนำ้าเหลืองมี         หญิงให้นมบุตรสามารถให้นมบุตรและอยู่ร่วมกัน
ขนาดใหญ่และมี	fluctuation	การทำา	aspiration	หรือ	         กับบุตรได้	 มารดานอกจากจะได้ยาต้านวัณโรคแล้ว
incision	และ	drainage	จะมีประโยชน์                        ควรใช้ผ้าปิดปากเวลาไอจาม	เพื่อป้องกันการแพร่
	          การบริหารยาวัณโรคร่วมกับยาตัวอื่น	ๆ	           กระจายของเชื้อวัณโรค	บุตรควรได้รับการตรวจว่า
ต้องคำานึงถึง	drug	interactions	โดยเฉพาะยา	rifam-         เป็น	active	TB	หรือไม่	ซึงถ้าไม่เป็น	active	TB	แพทย์
                                                                                   ่
picin	จะทำาให้	 metabolize	ของยาอื่น	ๆ	ที่ผ่านตับ         ควรให้	isoniazid	prophylaxis	เป็นเวลา	6	เดือน	แล้ว
เร็วขึ้น	ได้แก่ยา	anti-infectives	(protease	inhibitor,	   ตามด้วยการให้	BCG	vaccination	ขณะให้การรักษา
mefloquine,	azole	antifungal	agents,clarithromycin,	      วัณโรคซึ่งมี	 isoniazid	ใน	regimen	ทั้งในหญิงตั้ง
erythromycin,	doxycycline,	atovaquone,	chloram-           ครรภ์และหญิงให้นมบุตรควรได้รับ 	 pyridoxine	
phenicol),	hormone	therapy	(ethinylestradiol,	nore-       supplement	ทุกราย
hindrone,	tamoxifen,	levothyroxine),	methadone,	          	         ผูปวยทีมโรคตับอยูเ่ ดิมทีรนแรง	ควรได้รบ
                                                                      ้ ่ ่ ี                 ุ่            ั
warfarin,	cyclosporine,	corticosteroids,	anticonvul-      การตรวจ	LFT	ก่อนการให้ยาต้านวัณโรค	ถ้า	serum	
sants	(phenytopn),	cardiovascular	agents	(digoxin,	       alanine	aminotransferase	level	มากกว่า	3	เท่าของ
digitoxin,	verapamil,	nifedipine,	diltiazem,	pro-         ค่าปกติ	การให้ยาต้านวัณโรคควรพิจารณาใช้จานวน    ำ
pranolol,	metoprorol,	enarapril,	losartan,	quinidine,	    ชนิดของยาต้านวัณโรคที่มีผลต่อตับลดลง	ซึ่งขึ้น




                                                                                                                       IJM
mexiletine,	tocainide,	propafenone),	theophylline,	       กับความรุนแรงของโรคตับ	 ควรปรึกษาแพทย์ผู้



                                                                                                                       Vol. 10 No.1
sulfonylurea	hypoglycemic	drug,	hypolipidaemic	           เชี่ยวชาญในการดูแลรักษาผู้ป่วย		ให้ติดตามอาการ
drugs	(simvastatin,	fluvastatin),	nortriptyline,	halo-    ทางคลินิกและ	LFT	เป็นระยะในระหว่างที่ผู้ป่วย
peridol,	quetiapine,	benzodiazepines	(diazepam,	          ได้ยาต้านวัณโรค	ดังนั้น	regimen	ที่อาจจะพิจารณา
triazolam),	zolpidem,	และ	buspirone	ดังนั้นถ้า            ใช้ได้แก่
จำาเป็นต้องให้ยาดังกล่าวร่วมกับ	rifampicin	จำาเป็น        	         -	 การเลือกใช้	 hepatotoxic	drug	2	ชนิด	
ต้องเพิ่มขนาดยา	อย่างไรก็ตามแพทย์อาจพิจารณา               แทนการใช้	hepatotoxic	drugs	3	ชนิดตาม	standard	
ให้ยาชนิดอื่นหรือการรักษาอื่นทดแทน	เช่น	การ               regimen	ดังนั้น	regimen	ที่เลือกใช้จะเป็น	9HRE	
เปลี่ยนการคุมการเนิดเป็นการคุมกำาเนิดด้วยวิธีอื่น         หรือ	2HRSE/6HR	หรือ	6-9RZE	
หรือการให้	higher	dose	estrogen	(50	µg)	และเมื่อ          	         -		การเลือกใช้	 hepatotoxic	drugs	1	ชนิด	
สินสุดการรักษาคือหยุดใช้ยา	rifampicin	ผล	metab-
   ้                                                      ดังนั้น	regimen	ที่เลือกใช้จะเป็น	2HES/10HE	
olism-inducing	ของ	rifampicin	จะหมดไปภายใน	2	             	         -	 การไม่ใช้	hepatotoxic	drugs	ใน	regimen	
สัปดาห์	ดังนันเมือหยุดยา	rifampicin	แพทย์ตองลด
               ้ ่                              ้         ของการรักษา	ดังนั้น	regimen	ที่เลือกใช้จะเป็น	18	
ขนาดยาอื่น	ๆ	ที่ให้ร่วมลงมาเป็นขนาดปกติก่อนที่            ถึง	24	เดือนของ	streptomycin,	ethambutol	และ	
ผู้ป่วยจะได้ยา	rifampicin	                                fluoroquinolone	
                                                                       ว า ร ส า ร อ า ยุ ร ศ า ส ต ร์ อี ส า น   11
                                                                       ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554
ผูปวยทีมโรคไตวายรุนแรง	ควรพิจารณาให้
                            ้ ่ ่ ี                                 neuropathy	ยาที่ควรหลีกเลี่ยงในผู้ป่วยโรคไตวาย
               เป็น	2HRZE/4HR	โดยไม่จาเป็นต้องปรับขนาดของ
                                         ำ                          คือ	streptomycin	เพราะมีความเสี่ยงที่จะเกิด	neph-
               ยา	isoniazid	และ	rifampicin	เนื่องจากยาทั้งสองขับ    rotoxicity	และ	ototoxicity	สูงขึ้น	ซึ่งหากจำาเป็น
               ออกทางนำาดี	ส่วนยา	ethambutol	และ	pyrazinamide	
                          ้                                         จะต้องใช้	 แนะนำาให้	 streptomycin	15	มิลลิกรัม/
               ขับออกทางไต	จึงจำาเป็นต้องปรับการบริหารยาโดย         กิโลกรัม/ครัง	โดยบริหารยา	2	หรือ	3	ครังต่อสัปดาห์	
                                                                                ้                         ้
               ให้บริหารยาทั้งสองเป็นแบบ	3	ครั้งต่อสัปดาห์	โดย      และติดตามการทำางานของไตและ	serum	level	ของ	
               ให้	 pyrazinamide	25	มิลลิกรัม/กิโลกรัม/ครั้ง	และ	   streptomycin	เป็นระยะ
               ethambutol	15	มิลลิกรัม/กิโลกรัม/ครั้ง	ซึ่งเท่ากับ
               ขนาดยาที่ให้ในคนปกติต่อวัน	แต่ในผู้ป่วยโรคไต         บรรณานุกรม
               วายให้เป็น	3	ครั้งต่อสัปดาห์	 ในผู้ป่วยโรคไตวาย      1.	 World	Health	Organization.	Treatment	of	
               ทุกรายขณะที่ได้รับยา	isoniazid	ใน	regimen	ควร            tuberculosis	guidelines.	4th	ed.,	2010.
               ให้	 pyridoxine	 เพื่อป้องกันการเกิด 	 peripheral	
Vol. 10 No.1
IJM




               12      ว า ร ส า ร อ า ยุ ร ศ า ส ต ร์ อี ส า น
                     ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554

More Related Content

What's hot

แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
Utai Sukviwatsirikul
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPEtaem
 
Dl 2012 asu_นครนายก
Dl 2012 asu_นครนายกDl 2012 asu_นครนายก
Dl 2012 asu_นครนายก
Choo Sriya Sriya
 
คู่มือไข้เลือดออก
คู่มือไข้เลือดออกคู่มือไข้เลือดออก
คู่มือไข้เลือดออก
Kingchat Laolee
 
CPG for Dengue 2013
CPG for Dengue 2013CPG for Dengue 2013
CPG for Dengue 2013
Utai Sukviwatsirikul
 
Case study surgery
Case study surgeryCase study surgery
Case study surgery
softmail
 
Interhospital chest conference
Interhospital chest conferenceInterhospital chest conference
Interhospital chest conferenceMy Parents
 
Emergency prevention
Emergency preventionEmergency prevention
Emergency preventiontaem
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลงนายสามารถ เฮียงสุข
 
Management of patient with asthma
Management of patient with asthmaManagement of patient with asthma
Management of patient with asthma
Utai Sukviwatsirikul
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
Cpg asthma in children 2551
Cpg asthma in children 2551Cpg asthma in children 2551
Cpg asthma in children 2551
Utai Sukviwatsirikul
 
Infectious epidemic
Infectious epidemicInfectious epidemic
Infectious epidemictaem
 

What's hot (18)

แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPE
 
Asthma
AsthmaAsthma
Asthma
 
Asthma guideline for children
Asthma guideline for childrenAsthma guideline for children
Asthma guideline for children
 
Dl 2012 asu_นครนายก
Dl 2012 asu_นครนายกDl 2012 asu_นครนายก
Dl 2012 asu_นครนายก
 
Cpg ped
Cpg pedCpg ped
Cpg ped
 
คู่มือไข้เลือดออก
คู่มือไข้เลือดออกคู่มือไข้เลือดออก
คู่มือไข้เลือดออก
 
CPG for Dengue 2013
CPG for Dengue 2013CPG for Dengue 2013
CPG for Dengue 2013
 
Case study surgery
Case study surgeryCase study surgery
Case study surgery
 
Pneumonia
PneumoniaPneumonia
Pneumonia
 
Interhospital chest conference
Interhospital chest conferenceInterhospital chest conference
Interhospital chest conference
 
Emergency prevention
Emergency preventionEmergency prevention
Emergency prevention
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
 
Management of patient with asthma
Management of patient with asthmaManagement of patient with asthma
Management of patient with asthma
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
Cpg asthma in children 2551
Cpg asthma in children 2551Cpg asthma in children 2551
Cpg asthma in children 2551
 
Infectious epidemic
Infectious epidemicInfectious epidemic
Infectious epidemic
 
Denguehemorrhage
DenguehemorrhageDenguehemorrhage
Denguehemorrhage
 

Similar to 01 recent advance 2

tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
60941
 
การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล Dl 2012 asu_นครนายก
การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล Dl 2012 asu_นครนายกการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล Dl 2012 asu_นครนายก
การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล Dl 2012 asu_นครนายก
Choo Sriya Sriya
 
Dl2012asu 130902234444-phpapp02
Dl2012asu 130902234444-phpapp02Dl2012asu 130902234444-phpapp02
Dl2012asu 130902234444-phpapp02
Choo Sriya Sriya
 
Asthma guideline children
Asthma guideline childrenAsthma guideline children
Asthma guideline children
Utai Sukviwatsirikul
 
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Utai Sukviwatsirikul
 
Exanthematous fever in children
Exanthematous fever in childrenExanthematous fever in children
Exanthematous fever in children
Thorsang Chayovan
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
hepatotoxicity
hepatotoxicityhepatotoxicity
hepatotoxicity
Bambi Natcha
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidase
dentyomaraj
 
URI for pharmacist 16 Jul 2017
URI for pharmacist 16 Jul 2017URI for pharmacist 16 Jul 2017
URI for pharmacist 16 Jul 2017
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...Loveis1able Khumpuangdee
 
CPG Thai Tuberculosis 2543
CPG Thai Tuberculosis 2543CPG Thai Tuberculosis 2543
CPG Thai Tuberculosis 2543
Thorsang Chayovan
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfporkhwan
 
Pulmonary tuberculosis
Pulmonary tuberculosisPulmonary tuberculosis
Pulmonary tuberculosis
ijack114
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
4LIFEYES
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)Wan Ngamwongwan
 
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)Aimmary
 
แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง
แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง
แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรังแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
Utai Sukviwatsirikul
 

Similar to 01 recent advance 2 (20)

tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
 
การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล Dl 2012 asu_นครนายก
การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล Dl 2012 asu_นครนายกการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล Dl 2012 asu_นครนายก
การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล Dl 2012 asu_นครนายก
 
Dl2012asu 130902234444-phpapp02
Dl2012asu 130902234444-phpapp02Dl2012asu 130902234444-phpapp02
Dl2012asu 130902234444-phpapp02
 
Asthma guideline children
Asthma guideline childrenAsthma guideline children
Asthma guideline children
 
Sars
Sars Sars
Sars
 
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
 
Exanthematous fever in children
Exanthematous fever in childrenExanthematous fever in children
Exanthematous fever in children
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
 
hepatotoxicity
hepatotoxicityhepatotoxicity
hepatotoxicity
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidase
 
URI for pharmacist 16 Jul 2017
URI for pharmacist 16 Jul 2017URI for pharmacist 16 Jul 2017
URI for pharmacist 16 Jul 2017
 
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
 
CPG Thai Tuberculosis 2543
CPG Thai Tuberculosis 2543CPG Thai Tuberculosis 2543
CPG Thai Tuberculosis 2543
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
Pulmonary tuberculosis
Pulmonary tuberculosisPulmonary tuberculosis
Pulmonary tuberculosis
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
 
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
 
แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง
แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง
แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรังแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
 

More from Loveis1able Khumpuangdee (20)

Rollup01
Rollup01Rollup01
Rollup01
 
Protec
ProtecProtec
Protec
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
Factsheet
FactsheetFactsheet
Factsheet
 
Eidnotebook54
Eidnotebook54Eidnotebook54
Eidnotebook54
 
Data l3 148
Data l3 148Data l3 148
Data l3 148
 
Data l3 147
Data l3 147Data l3 147
Data l3 147
 
Data l3 127
Data l3 127Data l3 127
Data l3 127
 
Data l3 126
Data l3 126Data l3 126
Data l3 126
 
Data l3 113
Data l3 113Data l3 113
Data l3 113
 
Data l3 112
Data l3 112Data l3 112
Data l3 112
 
Data l3 92
Data l3 92Data l3 92
Data l3 92
 
Data l3 89
Data l3 89Data l3 89
Data l3 89
 
Data l2 80
Data l2 80Data l2 80
Data l2 80
 
Hfm reccomment10072555
Hfm reccomment10072555Hfm reccomment10072555
Hfm reccomment10072555
 
Hfm work2550
Hfm work2550Hfm work2550
Hfm work2550
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
Publichealth
PublichealthPublichealth
Publichealth
 
hand foot mouth
hand foot mouthhand foot mouth
hand foot mouth
 
Knowledge
KnowledgeKnowledge
Knowledge
 

01 recent advance 2

  • 1. Recent Advance Treatment of Tuberculosis from WHO guidelines 2010 นพ.พรอนันต์ โดมทอง1, ศ.พญ.วิภา รีชัยพิชิตกุล2, รศ.นพ.วัชรา บุญสวัสดิ2 ์ 1 แพทย์ประจำาบ้าน, 2สาขาวิชาโรคระบบการหายใจและเวชบำาบัดวิกฤต ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น แนวทางการรักษาวัณโรคของ WHO 2010 tutional symptoms (loss of appetite, weight loss, ซึ่งพิมพ์ขึ้นเป็นครั้งที่ 4 มีข้อแนะนำาหลายอย่างที่ fever, night แนะนำาให้ปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ที่มีอยู่ Case of TB: definite case of TB and ในปัจจุบัน การตีพิมพ์นี้ได้ปรับปรุงจากครั้งที่ 3 ซึ่ง decided to treat ตีพิมพ์ในปี 2003 เป้าหมายเพื่อหยุดยั้งวัณโรคให้ได้ Definite case of TB: one or more sputum ในปี 2050 เนื้อหาในหนังสือดังกล่าว จะกล่าวถึง smear positive AFB or M.tuberculosis identified หลักการรักษาวัณโรคในผู้ใหญ่ โดยครอบคลุมถึง from clinical specimen, either by culture or mo- รายละเอียดดังต่อไปนี้ lecular line probe assay IJM - Case definition Pulmonary TB (PTB): TB involving - Standard treatment regimens lung parenchyma or patient with both pulmonary Vol. 10 No.1 - Monitoring during treatment and extrapulmonary TB - Co-management of HIV and active TB Extrapulmonary TB (EPTB): TB in- case volving organs other than lung parenchyma, e.g. - Supervision and patient support pleura, lymph nodes, abdomen, genitourinary tract, - Treatment of drug-resistant tuberculosis skin, joints and bone, meninges - Treatment of extrapulmonary TB and Smear positive case: only one sputum TB in special situations specimen smear positive AFB Smear negative case: 2 specimens are Case definition smear negative AFB (at least one early-morning คำานิยามหรือคำาจำากัดความ specimen) in a well functional external quality TB suspected case: productive cough >2 assurance (EQA) system weeks and other respiratory symptoms (shortness Smear not done: pulmonary TB cases of breath, chest pain, hemoptysis) and/or consti- without smear results ว า ร ส า ร อ า ยุ ร ศ า ส ต ร์ อี ส า น 1 ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554
  • 2. Smear positive case: only one sputum specimen smear positive AFB Smear negative case: 2 specimens are smear negative AFB (at least one early-morning specimen) in a well functional external quality assurance (EQA) system Smear not done: pulmonary TB cases without smear results Registration group: new or previously considered outcome of most recent TB treatment Registration group: new or previously treated patients, in previously treated patients treated patients, in previously treated patients as table 1 (No TB treatment category I – IV)IV) considered outcome of most recent TB treatment as table 1 (No TB treatment category I – Table 1 TB registration group by outcome of most recent TB treatment TB treatment Table 1 TB registration group by outcome of most recent Vol. 10 No.1 HIV status: TB register include date of ofผู้ป่วยไม่กลับมาเป็นวัco-trimoxazole, andสีstarting HIV status: TB register include date HIV testing, starting ณโรคซำ้า ผู้ป่วยไม่เ ยชีวิต HIV testing, starting co-trimoxazole, and starting จากวัณโรค ลดการแพร่เชื้อวัณโรค ป้องกันการเกิด ART IJM ART วัณโรคดื้อยาและป้องกันการแพร่เชื้อวัณโรคดื้อยา Standard treatment regimens ขนาดยารักษาวัณโรคให้คำานวณตามนำ้า Standard treatment regimens เพื่อใหผูปวยหายจากวัณโรคและมีคุณภาพชีวิตเหมือนคน เปาหมายในการรักษาวัณโรค หนักตัว ดังตารางที ่ 2 โดยการให้ยาในรูป fixed-dose ปกติ ผูปวยไมกลับมาเปนวัณโรค เพืํา ให้ผวปวย เสีcombinations (FDCs) จะช่วยป้ชื้อวันการเลืปองกัน เป้าหมายในการรักษาวั โรคซ้ อ ผูป ู้ ยไม ยชีวิตจากวัณโรค ลดการแพรเ องกั ณโรค อกรับ ่ ่ หายจากวัดวัโรคและมีคุณภาพชีวงกัเหมือนคนปกติ ณโรคดื้อยา การเกิ ณ ณโรคดื้อยาและปอ ิต นการแพรเชื้อวั ประทานยาเองบางชนิด ซึ่งจะทำาให้เกิดปัญหาการ ดื้อยาตามมา 2 2 ว า ร ส า ร อ า ยุ ร ศ า ส ต ร์ อี ส า น ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554
  • 3. ขนาดยารักษาวัณโรคใหคํานวณตามน้ําหนักตัว ดังตารางที่ 2 โดยการใหยาในรูป fixed- dose combinations (FDCs) จะชวยปองกันการเลือกรับประทานยาเองบางชนิด ซึ่งจะทําใหเกิด ปญหาการดื้อยาตามมา Table 2 Recommended doses of first-line antituberculosis drugs for adults for adults Table 2 Recommended doses of first-line antituberculosis drugs New patients New patients phase แล้วในช่วง continuation phase จึงพิจารณา ผูผูปวยใหม่ ใให้ ถื อ ว่ า ไวต่ อ ยาต้านวัณโรค ยกเวน า 3 ครั้งต่อ่ที่มีคดาห์ คืกของวัณโรคดื้อตอ ้ ป่ ว ยใหม หถือวาไวตอยาต า นวั ณ โรค ให้ย ผูที่อยูในที สัป วามชุ อ 2HRZE/4(HR)3 โดย isoniazid สูงในผูปวยรายใหม หรือมีประวัติสัมผัสใกลชิดกับผูปวยวัณโรคดื้อยา ยกเว้น ผู้ที่อยู่ในที่ที่มีความชุกของวัณโรคดื้อต่อ แต่ละครั้งผู้ป่วยต้องได้รับยาภายใต้การสังเกตุตรง ผูปวยทุกรายควรไดรับยาตานวัณโรคที่มี rifampicin อยูตลอดระยะเวลา 6 เดือนของการ isoniazid สูงในผู้ป่วยรายใหม่ หรืควรใหการรััมษาดวย(directly observed) ถ้าหากต้องการให้ยา 3 ครั้งต่อ รักษา โดยให 2HRZE/4HR ไม อมีประวัติสกผัส 2HRZE/6HE เนื่องจากมีอัตราตายและอัตรา ใกล้ชบเปบผู้ปสูยวัสูตโรคดื้อกษา 2HRZE/4HR นี้สามารถใชไดกับ ช่วง intensive และ continuation phase กลั ิดกั นซ้ํา ่ว ง ณ รการรัยา สัปดาห์ทั้ง extrapulmonary TB ยกเวนวัณโรค เยื่อหุมสมองยทุณโรคกระดูกและขอ านวัณโรคที่ คือ 2(HRZE)3/4(HR)3 ผู้ป่วยรายนั้นปวยวัณได้อยู่ ผู้ป่ว วั กรายควรได้รับยาต้ ซึ่งผูเชี่ยวชาญแนะนําใหยานานขึ้น นอกจากนั้นในผู ต้องไม่ มี โรคเยื่อหุมสมองแนะนําให streptomycin แทน ethambutolผูจากขอHIV หรืออยู่ใานที่ที่มนวาไมมี ของ rifampicin อยู่ตลอดระยะเวลา 6 เดือนของการ ร่วมกับ ้ป่วย แนะนําดังกล วจะเห็ ีความชุก IJM รักษา โดยให้ 2HRZE/4HR ไม่ควรให้การรักษาด้วเดิม นั่นคือผูป และผู้ป่วยต้องได้รับยาภายใต้การสังเกตุ การใหยา 2HRZ/4HR (CAT III) ตาม guideline ย HIV สูง วยทุกรายแนะนําให 2HRZE/4HR 2HRZE/6HE เนื่องจากมีอัตราตายและอัตรากลับ ตรงทุกน้ําหนักตัวของผูปวย และถาสัปนไปไดว่าจะ การบริหารยา ใหคํานวณขนาดยาใหเหมาะสมกับ ครั้ง ไม่ควรให้ยา 2 ครั้งต่อ เป ดาห์ไม่ Vol. 10 No.1 เป็แนะนํางใหผูปวยทุกรายรับประทานยาทุก้สามารถ เป็นช่วง intensive หรือ continuation phase เนืองจาก นซำ้าสู สูตรการรักษา 2HRZE/4HR นี วันตลอดระยะเวลาของการรักษา ในกรณีที่ตองการใหย่ า ใช้เปนบางวัน แนะนําวาควรใหยาทุนวันในชวง่อintensive phaseยลืมวในชวง continuation่งครั้งในสัปดาห์ ได้กับ extrapulmonary TB ยกเว้ ก ณโรคเยื หุ้ม หากผู้ป่ว แล รับประทานยาไปหนึ phase จึง สมอง วัณโรคกระดูกครั้งตออ ซึ่งผู้เชี่ยวชาญแนะนำา นั้น ก็เท่ากับว่้งผูปวยตองไดยาเพียงครึ่งเดีาร พิจารณาใหยา 3 และข้ สัปดาห คือ 2HRZE/4(HR)3 โดยแตละครัาผู้ป่วยได้รับ รับยาภายใตก ยวของ ให้ยงานานขึ้น(directly observed)่วยวัณโรคเยื่อหุ้ม ขนาดทีครั้งตอสัปดาหทั้งชวง intensive และ สั เกตุตรง นอกจากนั้นในผู้ป ถาหากตองการใหยา 3 ่ควรจะได้ สมองแนะนำาให้ streptomycin แทน ethambutol ้นตองไมดัดนัยูรผู้ป่วย HIV หรือผู้ป่วยทีในทีนที่ที่ continuation phase คือ 2(HRZE)3/4(HR)3 ผูปวยรายนั ไ ง อ ้น วมกับผูปวย HIV หรืออยู ่อยู่ใ ่ จากข้ อ แนะนำ า ดั ง กล่ า วจะเห็ น ว่ า ไม่ มี ก ารให้ ย า มีความชุกของ HIV สูง คือมีความชุกของ HIV ใน 3 2HRZ/4HR (CAT III) ตาม guideline เดิม นั่นคือผู้ หญิงตั้งครรภ์มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 1 หรือมี ป่วยทุกรายแนะนำาให้ 2HRZE/4HR ความชุกของ HIV ในผู้ป่วยวัณโรคมากกว่าหรือ การบริหารยา ให้คานวณขนาดยาให้เหมาะ เท่ากับร้อยละ 5 ควรบริหารยาต้านวัณโรคโดยให้รบ ำ ั สมกับนำาหนักตัวของผูปวย และถ้าเป็นไปได้แนะนำา ประทานยาทุกวัน หรือรับประทานยาทุกวันอย่าง ้ ้ ่ ให้ผู้ป่วยทุกรายรับประทานยาทุกวันตลอดระยะ น้อยในช่วง intensive phase ส่วนระยะเวลาในการ เวลาของการรักษา ในกรณีที่ต้องการให้ยาเป็นบาง รักษา ผูเ้ ชียวชาญบางท่านแนะนำาให้ยานานขึนในผู้ ่ ้ วัน แนะนำาว่าควรให้ยาทุกวันในช่วง intensive ป่วย HIV ว า ร ส า ร อ า ยุ ร ศ า ส ต ร์ อี ส า น 3 ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554
  • 4. ในที่ที่มีความชุกของวัณโรคดื้อยา isonia- ดังนั้นผู้ป่วยที่เคยได้รับการรักษามาก่อน zid สูงในผู้ป่วยใหม่ แนะนำาให้ 2HRZE/4HRE และ ถ้ า เป็ น ผู้ ป่ ว ยที่ รั ก ษาล้ ม เหลว (failure) ควรให้ แนะนำาให้ยาทุกวัน ไม่ควรให้ยา 3 ครั้งต่อสัปดาห์ empirical MDR regimen แต่ถ้าเป็นผู้ป่วยที่ขาด ไม่ว่าจะเป็นช่วง intensive หรือ continuation phase การรักษา (default) หรือกลับเป็นซำ้า (relapse) อาจ ซึ่งข้อมูลปัจจุบันทั่วโลกพบว่า โดยเฉลี่ยพบผู้ป่วย ให้การรักษาด้วย regimen ที่มี first-line drugs คือ วัณโรครายใหม่ดื้อยา isoniazid ร้อยละ 7.4 2HRZES/1HRZE/5HRE ผูปวยทีเ่ คยได้รบการรักษา ้ ่ ั มาก่อน ควรได้รับการติดตามการรักษาภายใต้การ Previously treated patients สังเกตุตรงทุกราย จากรายงานทั่วโลกพบผู้ป่วยที่เคยได้รับ การเพาะเชื้อนอกจากแนะนำาให้ทำาในผู้ การรักษามาก่อนร้อยละ 13 ของผู้ป่วยวัณโลก ในผู้ ป่วยที่เคยได้รับการรักษามาก่อนทุกราย ยังแนะนำา ป่วยกลุ่มนี้จะพบ MDR-TB ร้อยละ 15 ซึ่งสูงถึง 5 ให้ทำาในผู้ป่วยที่อยู่ร่วมกับผู้ป่วย HIV ที่ป่วยเป็น เท่า เมือเทียบกับการพบ MDR-TB ในผูปวยวัณโรค ่ ้ ่ วัณโรค โดยเฉพาะในที่ที่มีความชุกของ MDR-TB รายใหม่ (พบ MDR-TB ในผูปวยวัณโรครายใหม่รอย ้ ่ ้ สูง และในบางที่ยังแนะนำาให้ทำา DST ใน HIV- ละ 3) จากการสำารวจขององค์การอนามัยโลกใน 10 infected TB ที่มี CD4 counts ตำ่ากว่า 200 เซลล์/ ประเทศ พบว่าในผู้ป่วยที่เคยรักษามาก่อน ถ้าเป็น ลูกบาศก์มลลิเมตร ส่วนในระหว่างการรักษา ผูปวย ิ ้ ่ ผู้ป่วยที่ขาดการรักษา (default) หรือกลับเป็นซำ้า ทุกรายไม่ว่า new หรือ previously treated cases ที่ (relapse) จะพบ MDR-TB ร้อยละ 32 แต่ถ้าเป็นผู้ มี sputum smear positive AFB หลังจากสิ้นสุด ป่วยที่รักษาล้มเหลว (Failure) จะพบ MDR-TB ถึง intensive phase ให้ตรวจซำ้าอีกหนึ่งเดือน ถ้าหาก ร้อยละ 49 และถ้าสูตรการรักษามี rifampicin ตลอด ยัง smear positive AFB แนะนำาให้ส่ง DST เพื่อให้ 6 เดือนของการรักษาแล้วเกิดรักษาล้มเหลว ยิ่งมี ได้ผลเพาะเชื้อก่อนเดือนที่ 5 ของการรักษา ทำาให้ Vol. 10 No.1 โอกาสพบ MDR-TB สูงถึงร้อยละ 50 ถึง 94 สามารถปรับเปลี่ยนการรักษาได้เร็วขึ้น ผูปวยทุกรายต้องส่งเสมหะเพาะเชือ (drug ้ ่ ้ IJM susceptibility testing, DST) ก่อนให้การรักษา Monitoring during treatment ครั้ ง ใหม่ โดยการเพาะเชื้ อ ขึ้ น กั บ ความสามารถ ตรวจเสมหะ AFB staining ทุกรายหลังสิน ้ ของห้องปฏิบัติการในประเทศนั้น ๆ โดยอาจใช้ สุด intensive treatment ดังนันถ้าเป็นผูปวยใหม่ เมือ ้ ้ ่ ่ rapid molecular-based DST (line probe assays) ซึ่ง ได้รบการรักษาไป 2 เดือน ให้ตรวจเสมหะ ถ้า smear ั สามารถบอกว่าเชือดือต่อ rifampicin/isoniazid หรือ ้ ้ positive AFB ให้ตรวจซำ้าที่เดือนที่ 3 ถ้าหากยัง ไม่ภายใน 1 ถึง 2 วัน หรืออาจจะใช้ conventional smear positive AFB แนะนำาให้ส่ง DST ถ้าผลออก DST ซงสามารถบอกผลได้ภายในสัปดาห์ (ประมาณ ึ่ มาเป็น MDR-TB ถือว่าเป็น treatment failure ในผู้ 10 วัน) ถ้าใช้ liquid media หรือบอกผลได้ภายใน ป่วยทีเ่ คยได้รบการรักษามาก่อนและได้รบ regimen ั ั เดือน (ประมาณ 28 ถึง 42 วัน) ถ้าใช้ solid media 8 เดือน (2HRZES/1HRZE/5HRE) ได้รับการรักษา ในประเทศที่ใช้ conventional DST ซึ่งกว่าจะทราบ ไป 3 เดือน ให้ตรวจเสมหะ ถ้า smear positive AFB ผลค่อนข้างช้า จึงควรพิจารณาให้การรักษาผู้ป่วย ให้ส่ง DST ถ้าผลออกมาเป็น MDR-TB ถือว่าเป็น ด้วย empirical regimen ขณะที่รอผล DST treatment failure 4 ว า ร ส า ร อ า ยุ ร ศ า ส ต ร์ อี ส า น ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554
  • 5. ดังนั้นผู้ป่วยรายใหม่ โดยทั่วไป จะติดตาม - ติดเชื้อ MDR-TB ซึ่งไม่ตอบสนองต่อ sputum smear AFB ที่ เดือนที่ 2, 5 และ 6 ถ้าเดือนที่ first-line treatment 2 sputum smear positive AFB ให้ตรวจซำ้าที่เดือนที่ - smear positive AFB ที่เห็นจากกล้อง 3 ถ้าได้ผลบวกให้ส่ง DST ส่วนเดือนที่ 5 และ 6 ถ้า จุลทรรศน์เป็นเชื้อไม่มีชีวิต sputum smear positive AFB ให้ส่ง DST ดังนั้นในผู้ป่วยรายใหม่ที่ได้รับการรักษา ในผู้ป่วยที่ได้รับการรักษามาก่อนและได้ ด้วย regimen ที่มี rifampicin ตลอด 6 เดือน หาก รับ regimen 8 เดือน (2HRZES/1HRZE/5HRE) จะ ผลการตรวจเสมหะหลังสิ้นสุด intensive treat- ติดตาม sputum smear AFB ที ่ เดือนที ่ 3, 5 และ 8 ถ้า ment แล้วได้ผล positive AFB ใน guideline ใหม่นี้ เดือนที่ 3 sputum smear positive AFB ให้ส่ง DST ไม่แนะนำาให้ extension ช่วง intensive phase ออก ส่วนเดือนที ่ 5 และ 8 ถ้า sputum smear positive AFB ไป แต่แนะนำาให้กลับไปประเมินว่าผู้ป่วยได้รับการ ให้ส่ง DST รักษาทีได้คณภาพและรับประทานยาอย่างสมำาเสมอ ่ ุ ่ การเก็บเสมหะส่งตรวจนัน ผปวยไม่จาเป็น ้ ู้ ่ ำ หรือไม่ และให้การแก้ไขทันทีเพือให้ผปวยได้รบการ ่ ู้ ่ ั ต้องหยุดยาต้านวัณโรค และเมือได้เสมหะแส้ว ให้สง ่ ่ รักษาที่ถูกต้อง นอกจากนั้นยังแนะนำาให้ติดตาม ตรวจทันที แต่ถาไม่สามารถส่งตรวจได้ทนที ให้เก็บ ้ ั เสมหะผู้ป่วยซำ้าในเดือนที่ 3 ถ้ายังได้ผล positive ไว้ในตู้เย็น AFB ให้สงเสมหะเพาะเชือ เพราะอาจเป็น MDR-TB ่ ้ การตรวจเสมหะหลังสิ้นสุด intensive นอกจากติดตามอาการทางคลินิก การย้อมเสมหะ treatment แล้วได้ผล positive AFB ไม่ได้บ่งชี้ว่าผู้ AFB แล้ว การติดตามนำ้าหนักตัวของผู้ป่วยจะช่วย ป่วยรายนั้นจะเกิด relapse, failure หรือ pretreat- บอกว่าผู้ป่วยตอบสนองต่อการรักษาหรือไม่ ment isoniazid resistance อย่างไรก็ตามผลตรวจ การทำา cohort analysis of treatment out- ดังกล่าวจะกระตุนให้แพทย์กลับไปติดตามประเมิน ้ comes ซึ่งโดยทั่วไปจะทำาทุก 3 เดือน โดยเฉพาะ IJM การรักษาผู้ป่วยให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งการตรวจเสมหะหลัง การประเมิ น ผลการรั ก ษาของ new pulmonary Vol. 10 No.1 สินสุด intensive treatment แล้วได้ผล positive AFB ้ smear-positive patients จะถือว่าเป็นตัวบ่งชี้สำาคัญ อาจเป็นไปได้หลายกรณีดังต่อไปนี้ ของคุณภาพของการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรค (pro- - การรักษาในช่วง intensive phase ผู้ป่วย gramme quality) คำาจำากัดความของผลการรักษา รับประทานยาไม่สมำ่าเสมอ และได้รับการติดตาม ดังตารางที่ 3 ซึ่งการประเมินผลการรักษาว่า cure การรักษาไม่ดี นอกจากจะใช้ sputum smear แล้ว ยังใช้การเพาะ - ยาต้านวัณโรคไม่ได้คุณภาพ เชื้อร่วมด้วย - ขนาดยาต้านวัณโรคได้ตากว่ามาตรฐานำ่ ถ้าผู้ป่วยไม่ได้มาติดตามการรักษาตามนัด ที่กำาหนด ถ้าเป็นช่วง intensive phase จะต้องติดตามผู้ป่วย - การตอบสนองต่อการรักษาช้า เนืองจาก ่ ภายในวันนั้น ส่วนถ้าเป็นช่วง continuation phase มีโพรงฝีขนาดใหญ่ (extensive cavitation) ทำาให้มี จะต้ อ งติ ด ตามผู้ ป่ ว ยภายในสั ป ดาห์ นั้ น และหา เชื้อปริมาณมากก่อนการรักษา สาเหตุของการไม่มาติดตามการรักษาตามนัด เพื่อ - มี โ รคประจำ า ตั ว ซึ่ ง มี ผ ลทำ า ให้ ผู้ ป่ ว ยมี ให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาต่อเนื่องและสมำ่าเสมอ โอกาสได้รับยาไม่สมำ่าเสมอหรือตอบสนองต่อการ รักษาไม่ดี ว า ร ส า ร อ า ยุ ร ศ า ส ต ร์ อี ส า น 5 ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554
  • 6. ถาผูปวยไมไดมาติดตามการรักษาตามนัด ถาเปนชวง intensive phase จะตองติดตามผูปวย ภายในวันนั้น สวนถาเปนชวง continuation phase จะตองติดตามผูปวยภายในสัปดาหนั้น และหา สาเหตุของการไมมาติดตามการรักษาตามนัด เพื่อใหผูปวยไดรับการรักษาตอเนื่องและสม่ําเสมอ Table 3 Definition of treatment outcome Table 3 Definition of treatment outcome ผู้ป่วยควรได้รับการป้องกันผลข้างเคียงที่ tamine และ skin moisturizing ติดตามผู้ป่วยอย่าง 6 เกิดจากยา เช่นการให้ pyridoxine 10 mg/day ตลอด ใกล้ชิด ถ้ามีผื่นขึ้น ควรหยุดยาต้านวัณโรคทั้งหมด ช่วงทีผปวยได้ยาต้านวัณโรค เพือป้องกัน isoniazid- ่ ู้ ่ ่ เมือผืนดีขน ให้เริม challenge ยาทีมปญหาให้เกิดผืน ่ ่ ึ้ ่ ่ ี ั ่ induced peripheral neuropathy โดยเฉพาะในผู้ป่วย น้อยที่สุดก่อน คือ isoniazid หรือ rifampicin โดย ดังต่อไปนีคอ หญิงตังครรภ์ โรคเอดส์ ดืมสุราเรือรัง ้ื ้ ่ ้ ค่อย ๆ เริ่มให้ dose ขนาดตำ่าก่อน คือ isoniazid 50 Vol. 10 No.1 ภาวะขาดอาหาร เบาหวาน โรคตับ และโรคไตวาย มิลลิกรัม แล้วปรับเพิมขนาดจนได้เต็มขนาดภายใน ่ ก่อนให้การรักษาควรบอกผลข้างเคียงจาก 3 วัน ถ้าไม่มีปัญหาจึงให้ยาตัวถัดไป ยาที่อาจจะเกิดขึ้น และติดตามผลข้างเคียงจากยา - Drug-induced hepatitis ยาในกลุ่ม first- IJM โดยอาศัยการซักประวัติอาการของผู้ป่วยเป็นหลัก line anti-TB drugs ที่ทำาให้เกิด hepatitis คือ isonia- (symptom-base approach) ไม่แนะนำาให้เจาะเลือด zid, pyrazinamide และ rifampicin ส่วนยาที่ทำาให้ ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการเป็นประจำาเพื่อหาผล เกิด jaundice คือ rifampicin การรักษา hepatitis ขึ้น ข้างเคียงจากยา ถ้าเป็น minor adverse effect ส่วน กับว่าอาการเกิดขึนในช่วง intensive หรือ continua- ้ ใหญ่สามารถให้ยาต้านวัณโรคต่อได้และให้ยารักษา tion phase ความรุนแรงของตับอักเสบ ความรุนแรง ตามอาการ แต่ถ้าเป็น major adverse effect แนะนำา ของวัณโรค ถ้าคิดว่าอาการตับอักเสบเกิดจากยาต้าน ให้หยุดยา และรับผู้ป่วยไว้รักษาตัวในโรงพยาบาล วัณโรค ให้หยุดยาวัณโรคทุกตัว พร้อมกับหาสาเหตุ ผลข้างเคียงที่พบบ่อยและการแก้ไขดังตารางที่ 4 ของภาวะตับอักเสบและตรวจ LFT ถ้าผู้ป่วยไม่ และ 5 โดยผลข้างเคียงที่พบบ่อยมีหลักการแก้ไขดัง ปลอดภัยพอที่จะหยุดยาต้านวัณโรคเนื่องจากเจ็บ ต่อไปนี้คือ ป่วยรุนแรงจากวัณโรค ให้พิจารณาให้ยากลุ่มที่ไม่มี - Cutaneous reaction ถ้ า คั น ไม่ มี ผื่ น พิษต่อตับ ได้แก่ streptomycin, ethambutol, และ สามารถให้ยาต้านวัณโรคต่อได้ร่วมกับให้ antihis- fluoroquinolone เมื่ออาการดีขึ้นร่วมกับ LFT ดีขึ้น 6 ว า ร ส า ร อ า ยุ ร ศ า ส ต ร์ อี ส า น ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554
  • 7. ซึ่งส่วนใหญ่ใช้เวลา 2 สัปดาห์ จึงเริ่ม challenge ยา hepatitis เกิดในช่วง intensive phase สูตรยาที่ได้จะ เนื่องจาก rifampicin ทำาให้เกิด hepatotoxicity น้อย เป็น 2HRES/6HR ถ้าไม่สามารถใช้ pyrazinamide กว่า isoniazid และ pyrazinamide นอกจากนั้น และปัญหา hepatitis ในช่วง continuation phase rifampicin เองยังเป็นยาที่มีประสิทธิภาพดีที่สุดใน สูตรยาที่ได้จะเป็น 2HRZE/4HR ถ้าไม่สามารถใช้ การรักษาวัณโรค จึงแนะนำาให้ challenge ยา rifam- isoniazid พิจารณาให้ RZE เป็นเวลา 6 ถึง 9 เดือน ถ้า picin ก่อน แล้วรอ 3 ถึง 7 วัน จึง challenge ยา iso- ไม่สามารถใช้ rifampicin และ pyracinamide สูตรยา niazid ต่อ โดยทัวไปถ้าผูปวยเคยมีปญหาเหลืองจาก ที่ได้จะเป็น 2HES/10HE ถ้าไม่สามารถใช้ isoniazid ่ ้ ่ ั ยา หลังจาก challenge ยา rifampicin และ isoniazid และ rifamicin สูตรยาที่ได้จะเป็น streptomycin, ได้แล้ว มักจะไม่ challenge ยา pyrazinamide ต่อ ดัง ethambutol และ fluoroquinolone เป็นเวลา 18 ถึง 2HES/10HE ถ าไม สามารถใช isoniazid และ rifamicin สูตรยาที่ไ ด จะเปน streptomycin, นั้นสูตรยาที่ผู้ป่วยจะได้รับขึ้นอยู่กับว่าแพ้ยาอะไร 24 เดือน ethambutol และ สามารถใช้ pyrazinamide และปัญถึง 24 เดือน เช่น ถ้าไม่ fluoroquinolone เปนเวลา 18 หา Table 4 Symptom-based approach to managing minor side-effects of anti-TB drugs Table 4 Symptom-based approach to managing minor side-effects of anti-TB drugs IJM Vol. 10 No.1 Table 5 Symptom-based approach to managing major side-effects of anti-TB drugs ว า ร ส า ร อ า ยุ ร ศ า ส ต ร์ อี ส า น 7 ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554
  • 8. Table 5 Symptom-based approach to managing major side-effects of anti-TB drugs Table 5 Symptom-based approach to managing major side-effects of anti-TB drugs Co-management of HIV and active ity testing (DST) ก่อนให้การรักษา เนื่องจากพบ TB case อัตราการเสียชีวิตสูง ถ้าผู้ป่วย HIV ติดเชื้อวัณโรค ควรขออนุญาติผู้ป่วยวัณโรคทุกรายตรวจ ดื้อยาโดยเฉพาะ MDR-TB นอกจากนั้นสมาชิกใน Vol. 10 No.1 HIV testing เพื่อให้ผู้ป่วยเข้าถึงยา antiretroviral 8ครอบครัวทุกรายควรได้รบการตรวจเพราะมีโอกาส ั therapy (ART) ให้เร็วที่สุดภายใน 8 สัปดาห์หลัง ได้รับเชื้อวัณโรคจากผู้ป่วย การให้ยาต้านวัณโรคใน จาก starting anti-TB drugs ซึ่งจากการศึกษาพบ ผู้ป่วย HIV-positive TB patients นั้น ไม่แนะนำาให้ IJM ว่าทำาให้ survival ของผู้ป่วยดีขึ้นและช่วยลดการ intermittent TB therapy โดยเฉพาะในช่วง intensive เกิด TB recurrence rate ยาที่แนะนำาให้เป็น first- phase เพราะมีโอกาสเกิด relapse และ failure สูงกว่า line ART คือ standard-dose efavirenz (EFV) ร่วม การให้ daily intensive phase ประมาณ 2 ถึง 3 เท่า กับ 2 nucleoside reverse transcriptase inhibitors นอกจากนันยังมีการศึกษาทีประเทศอินเดียพบว่า ผู้ ้ ่ (NRTIs) ซึ่งอาจจะเป็น AZT (หรือ TDF) + 3TC ป่วยทีลมเหลวจากการรักษาด้วย three times weekly ่้ (หรือ FTC) + EFV ถ้าในหญิงตังครรภ์ซงไม่สามารถ short-course intermittent regimen จะมีโอกาสเกิด ้ ึ่ ให้ efavirenz เนื่องจากทำาให้เกิด teratogenic effect acquired rifampicin resistance สูง ดังนั้นสูตรการ ได้ ให้พิจารณาให้ nevirapine (NVP) แทน เป็น รักษาที่แนะนำา คือ 2HRZE/4HR อย่างไรก็ตามผู้ AZT (หรือ TDF) + 3TC (หรือ FTC) + NVP และ เชี่ยวชาญบางท่านแนะนำาให้รักษาวัณโรคในผู้ป่วย พิจารณาให้ cotrimoxazole prophylaxis ทุกรายเพื่อ HIV positive นานขึ้นกว่าผู้ป่วย HIV negative ป้องกันการติดเชือ Pneumocystis jirovecii นอกจาก เนืองจากมีบางการศึกษาพบว่าการรักษาด้วยสูตรที่ ้ ่ นันผูปวยทุกรายควรส่งเสมหะทำา drug susceptibil- มี rifampicin-containing regimen นานมากกว่าหรือ ้ ้ ่ 8 ว า ร ส า ร อ า ยุ ร ศ า ส ต ร์ อี ส า น ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554
  • 9. เท่ากับ 8 เดือน มี relapse น้อยกว่าผูปวยทีได้สตรดัง ้ ่ ่ ู อืนทังหมด (functional equivalent of only one drug ่ ้ กล่าว 6 เดือน อย่างไรก็ตามการศึกษาดังกล่าวที่นำา treatment) มามากกว่า 1 เดือน จะมีโอกาศดื้อต่อยา มากล่าวถึงนี้มีคุณภาพการศึกษาค่อนข้างตำ่า ผู้ป่วย ชนิดนันสูง ส่วนผลการตรวจ DST จะช่วยทำาให้การ ้ ควรได้รับการติดตามการรักษาอย่างใกล้ชิดเพราะ ปรับเปลี่ยนการรักษาได้ง่ายขึ้น อย่างไรก็ตามต้อง มีโอกาสเกิดผลข้างเคียงจากยาโดยฉพาะผื่นสูงกว่า แปลผลพร้อมกับการดูการตอบสนองทางคลินิก คนทั่วไป เพราะได้ทั้ง anti-TB drugs, ART และ โดยทั่วไปแนะนำาให้ยาอย่างน้อย 4 ชนิด cotrimoxazole และเนื่องจากผู้ป่วยได้ยาหลายชนิด ที่มีประสิทธิภาพ ไม่เลือกใช้ยาที่อาจจะมีปัญหา จึงอาจจะมีปัญหา compliance ของการรักษาได้ cross-resistance กัน ควรให้ยาฉีดร่วมด้วยอย่างน้อย 6 เดือน หรือให้ต่ออีก 4 เดือนหลังจาก smear หรือ Supervision and patient support culture negative ระยะเวลาในการรักษาคือ ให้ยาต่อ ผู้ป่วย ครอบครัว ชุมชน บุคลากรทางการ อย่างน้อย 18 เดือนหลังจาก culture negative ในบาง แพทย์ที่เกี่ยวข้องในการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรค รายอาจให้ยานานถึง 24 เดือน เช่น ผู้ป่วยเรื้อรังและ ต้องช่วยกันให้การดูแลผู้ป่วยเพื่อให้มั่นใจว่าผู้ป่วย มีการทำาลายเนือปอดอย่างมาก การติดตามการรักษา ้ รับประทานยาถูกต้องตามที่กำาหนด เพื่อให้ผู้ป่วย ในผู้ป่วย MDR-TB ให้ติดตาม sputum smear และ รักษาหายขาดและไม่แพร่เชื้อ ดังนั้นการให้ยาต้าน culture ทุกเดือนจนกระทั่ง negative หลังจากนั้น วัณโรคแนะนำาให้ภายใต้การดูแลกำากับ (supervi- ให้ติดตาม smear ทุกเดือน และ culture ทุก 3 เดือน sion) และรับประทานยาต้านวัณโรคภายใต้การสัง จะบอกว่าผู้ป่วยรายนั้นมี sputum conversion ก็ต่อ เกตุตรง (directly observed therapy, DOT) โดยยึด เมื่อมี smear และ culture negative 2 ครั้งติดต่อกัน ผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง (patient-centred care) ทั้งนี้ ในระยะเวลาห่างกัน 30 วัน ทั้งนั้นเพื่อไม่ให้ผู้ป่วยขาดการรักษาหรือได้รับการ ปั จ จุ บั น ยาที่ พิ จ ารณาใช้ ใ นการรั ก ษา IJM รักษาไม่สมำ่าเสมอ จากรายงานทั่วโลกพบว่าผู้ป่วย MDR-TB มีอยู่ 5 กลุ่มดังนี้คือ Vol. 10 No.1 new smear-positive cases ที่ได้รับการรักษาภายใต้ Group 1: First-line oral agents ได้แก่ DOTS ในปี 2006 มีเปอร์เซนต์ default ร้อยละ 5 pyrazinamide (Z), ethambutol (E), และ rifabutin (Rfb) ยากลุ่มนี้เป็นยาที่มีประสิทธิภาพดีที่สุดและ Treatment of drug-resistant tuber- ผู้ป่วยทนต่อผลข้างเคียงของยาได้ดีที่สุด ถ้าผลการ culosis ตรวจ DST และการตอบสนองทางคลินิกบ่งชี้ว่า ยังไม่มี standard treatment สำาหรับการ ผู้ป่วยยังตอบสนองต่อยา ควรเลือกใช้ยากลุ่มนี้ รักษา MDR-TB สำาหรับทุกประเทศ ดังนันจึงขึนกับ ้ ้ ร่วมด้วยในการรักษา อย่างไรก็ตาม ถ้าในสูตรการ ข้อมูลพื้นฐานของประเทศนั้น ๆ ว่ามีปัญหาดื้อยา รักษาครั้งที่แล้วที่ล้มเหลว มียากลุ่มนี้ อาจจะต้อง อะไรมากน้อยเพียงใด เพื่อจะออกแบบ standard ระมัดระวังว่าผู้ป่วยดื้อยาแม้ว่าผล DST จะไวต่อยา empiric MDR-TB สำาหรับประเทศนั้น ๆ แพทย์ ดังกล่าว ส่วนยา rifabutin มี cross-resistance กับ ควรประเมินประวัติการรักษาที่ผู้ป่วยเคยได้รับมา rifampicin ก่อน ถ้าผู้ป่วยมีประวัติได้รับยาต้านวัณโรคที่เชื้อยัง Group 2: Injectable agents ได้แก่ kana- ไวต่อยาในสูตรนั้นเพียงชนิดเดียวแต่ดื้อต่อยาชนิด mycin (Km), amikacin (Am), capreomycin (Cm), ว า ร ส า ร อ า ยุ ร ศ า ส ต ร์ อี ส า น 9 ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554
  • 10. และ strepyomycin (S) ในการรักษา MDR-TB acid ส่วนยา terizidone อาจเลือกใช้แทน cycloserine แนะนำาให้ยาฉีด aminoglycosides ร่วมด้วย ในกลุ่ม เนื่องจากมีประสิทธิภาพใกล้เคียงกัน ยาฉีด aminoglycosides นี้ ยาที่มีประสิทธิภาพมาก Group 5: Agents with unclear role in ทีสดคือ kanamycin และ amikacin ส่วน streptomy- ่ ุ treatment of drug resistant-TB ได้แก่ clofazimine cin จะพบปัญหาของการดือยามากกว่า นอกจากนัน ้ ้ (Cfz), linezolid (Lzd), amoxicillin/clavulanate kanamycin และ amikacin ยังเป็นยาทีมราคาถูกกว่า ่ ี (Amx/Clv), thioacetazone (Thz), imipenem/cilas- และมีผลข้างเคียง ototoxicity น้อยกว่า streptomycin tatin (Ipm/Cln), high-dose isoniazid (16-20 mg/kg/ เนื่องจากยา kanamycin และ amikacin มีลักษณะ day), clarithromycin (Clr) เป็นกลุ่มยาที่ WHO ไม่ โครงสร้างเหมือนกันจึงมี cross-resistance กันได้ แนะนำาให้ใช้เป็นยากลุมแรกในการรักษา MDR-TB ่ แพทย์จงต้องพิจารณาปัญหาดังกล่างในการเลือกใช้ ึ เนืองจากประสิทธิภาพของยาไม่ชดเจน จะพิจารณา ่ ั ยา และถ้าหากเชื้อดื้อต่อ kanamycin และ amikacin ใช้ยากลุมนีกตอเมือไม่สามารถเลือกใช้ยาในกลุมที ่ 1 ่ ้็่ ่ ่ ให้พิจารณาให้ capreomycin ถึง 4 ในการรักษา เช่น ผู้ป่วย XDR-TB ซึ่งในกรณี Group 3: Fluoroquinolones ได้แก่ le- ดังกล่าวต้องปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ vofloxacin (Lfx), moxifloxacin (Mfx), ofloxacin (Ofx) แนะนำาให้ใช้ยากลุ่มนี้ร่วมด้วยในการรักษา Treatment of extrapulmonary TB MDR-TB ยา levofloxacin และ moxifloxacin มี and TB in special situations ประสิทธิภาพดีกว่า ofloxacin ส่วน ciprofloxacin รายงานของ extrapulmonary TB พบ ปัจจุบันไม่แนะนำาให้ใช้ในการรักษา drug-suscep- ได้ร้อยละ 20 ถึง 25 ของผู้ป่วยวัณโรค โดยอาจจะ tible หรือ drug-resistant TB พบเป็นวัณโรคต่อมนำ้าเหลือง วัณโรคเยื่อหุ้มปอด Group 4: Oral bacteriostatic second- วัณโรคกระดูกและข้อ ส่วน extrapulmonary TB ที่ Vol. 10 No.1 line agents ได้แก่ para-aminosclicylic acid (PAS), มีอตารตายสูงได้แก่ วัณโรคเยือหุมหัวใจ วัณโรคเยือ ั ่ ้ ่ cycloserine (Cs), terizidone (Trd), ethionamide หุ้มสมอง และวัณโรคแพร่กระจาย IJM (Eto), protionamide (Pto) ยาในกลุ่มนี้ ethionamide ผู้ป่วยทุกรายควรได้รับการขอตรวจเลือด มั ก เป็ น ยาที่ ถู ก เลื อ กใช้ ใ นการรั ก ษา MDR-TB HIV testing เนื่องจากผู้ป่วยโรคเอดส์พบว่ามีการ เนืองจากยามีราคาถูก แต่ถาไม่คานึงถึงราคา ยา para- ่ ้ ำ ติดเชื้อ extrapulmonary TB ได้บ่อย การรักษา ex- aminosalicylic acid ในรูป enteric-coated ควรเป็น trapulmonary TB ใช้ regimen เดียวกับ pulmonary ยาชนิดแรกทีจะเลือกในกลุมนี ้ เนืองจากไม่ม ี cross- ่ ่ ่ TB คือ 2HRZE/4HR อย่างไรก็ตามผู้เชี่ยวชาญบาง resistance กับยาชนิดอื่น ถ้าต้องการใช้ยา 2 ชนิด ท่านแนะนำาให้ยานาน 9 ถึง 12 เดือน ในการรักษา ในกลุ่มนี้ ควรเลือก para-aminosalicylic acid และ วัณโรคเยื่อหุ้มสมอง เนื่องจากมีโอกาสเกิด disabil- cycloserine เพราะการให้ para-aminosalicylic acid ity และ mortality สูง และแนะนำาให้ยานาน 9 เดือน ร่วมกับ ethionamide จะมีโอกาสเกิด GI side-effect ในการรักษาวัณโรคกระดูก เนื่องจากเป็นวัณโรคที่ และ hypothyroidism มากขึน ดังนันจะเลือกใช้กตอ ้ ้ ็่ ประเมินผลการรักษายาก ในกรณีที่ไม่คิดถึงวัณโรค เมื่อแพทย์ต้องการยา 3 ชนิดในกลุ่มนี้ โดยให้เป็น ดื้อยา แนะนำาให้ corticosteroid ในผู้ป่วยวัณโรคเยื่อ ethionamide, cycloserine และ para-aminosalicylic หุ้มสมองและวัณโรคเยื่อหุ้มหัวใจ สูตรการรักษา 10 ว า ร ส า ร อ า ยุ ร ศ า ส ต ร์ อี ส า น ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554
  • 11. วัณโรคเยื่อหุ้มสมองแนะนำาให้ streptomycin แทน ผู้ป่วยตั้งครรภ์และให้นมบุตร สามารถ ethambutol การผ่าตัดอาจจะมีบทบาทในบางกรณี ให้การรักษาเหมือนคนทั่วไป คือ 2HRZE/4HR ซึ่งมักจะเป็น late complication ได้แก่การผ่าตัดใน เนื่องจาก first-line anti-TB drugs ทุกตัวปลอดภัย กรณีที่เกิด hydrocephalus, obstructive uropathy, ในหญิงตั้งครรภ์ ยกเว้น streptomycin ซึ่งทำาให้เกิด constrictive pericarditis, และ neurological involve- ototoxic กับเด็กในครรภ์ จึงห้ามให้ในหญิงตังครรภ์ ้ ment จาก Pott’s disease ในกรณีที่ต่อมนำ้าเหลืองมี หญิงให้นมบุตรสามารถให้นมบุตรและอยู่ร่วมกัน ขนาดใหญ่และมี fluctuation การทำา aspiration หรือ กับบุตรได้ มารดานอกจากจะได้ยาต้านวัณโรคแล้ว incision และ drainage จะมีประโยชน์ ควรใช้ผ้าปิดปากเวลาไอจาม เพื่อป้องกันการแพร่ การบริหารยาวัณโรคร่วมกับยาตัวอื่น ๆ กระจายของเชื้อวัณโรค บุตรควรได้รับการตรวจว่า ต้องคำานึงถึง drug interactions โดยเฉพาะยา rifam- เป็น active TB หรือไม่ ซึงถ้าไม่เป็น active TB แพทย์ ่ picin จะทำาให้ metabolize ของยาอื่น ๆ ที่ผ่านตับ ควรให้ isoniazid prophylaxis เป็นเวลา 6 เดือน แล้ว เร็วขึ้น ได้แก่ยา anti-infectives (protease inhibitor, ตามด้วยการให้ BCG vaccination ขณะให้การรักษา mefloquine, azole antifungal agents,clarithromycin, วัณโรคซึ่งมี isoniazid ใน regimen ทั้งในหญิงตั้ง erythromycin, doxycycline, atovaquone, chloram- ครรภ์และหญิงให้นมบุตรควรได้รับ pyridoxine phenicol), hormone therapy (ethinylestradiol, nore- supplement ทุกราย hindrone, tamoxifen, levothyroxine), methadone, ผูปวยทีมโรคตับอยูเ่ ดิมทีรนแรง ควรได้รบ ้ ่ ่ ี ุ่ ั warfarin, cyclosporine, corticosteroids, anticonvul- การตรวจ LFT ก่อนการให้ยาต้านวัณโรค ถ้า serum sants (phenytopn), cardiovascular agents (digoxin, alanine aminotransferase level มากกว่า 3 เท่าของ digitoxin, verapamil, nifedipine, diltiazem, pro- ค่าปกติ การให้ยาต้านวัณโรคควรพิจารณาใช้จานวน ำ pranolol, metoprorol, enarapril, losartan, quinidine, ชนิดของยาต้านวัณโรคที่มีผลต่อตับลดลง ซึ่งขึ้น IJM mexiletine, tocainide, propafenone), theophylline, กับความรุนแรงของโรคตับ ควรปรึกษาแพทย์ผู้ Vol. 10 No.1 sulfonylurea hypoglycemic drug, hypolipidaemic เชี่ยวชาญในการดูแลรักษาผู้ป่วย ให้ติดตามอาการ drugs (simvastatin, fluvastatin), nortriptyline, halo- ทางคลินิกและ LFT เป็นระยะในระหว่างที่ผู้ป่วย peridol, quetiapine, benzodiazepines (diazepam, ได้ยาต้านวัณโรค ดังนั้น regimen ที่อาจจะพิจารณา triazolam), zolpidem, และ buspirone ดังนั้นถ้า ใช้ได้แก่ จำาเป็นต้องให้ยาดังกล่าวร่วมกับ rifampicin จำาเป็น - การเลือกใช้ hepatotoxic drug 2 ชนิด ต้องเพิ่มขนาดยา อย่างไรก็ตามแพทย์อาจพิจารณา แทนการใช้ hepatotoxic drugs 3 ชนิดตาม standard ให้ยาชนิดอื่นหรือการรักษาอื่นทดแทน เช่น การ regimen ดังนั้น regimen ที่เลือกใช้จะเป็น 9HRE เปลี่ยนการคุมการเนิดเป็นการคุมกำาเนิดด้วยวิธีอื่น หรือ 2HRSE/6HR หรือ 6-9RZE หรือการให้ higher dose estrogen (50 µg) และเมื่อ - การเลือกใช้ hepatotoxic drugs 1 ชนิด สินสุดการรักษาคือหยุดใช้ยา rifampicin ผล metab- ้ ดังนั้น regimen ที่เลือกใช้จะเป็น 2HES/10HE olism-inducing ของ rifampicin จะหมดไปภายใน 2 - การไม่ใช้ hepatotoxic drugs ใน regimen สัปดาห์ ดังนันเมือหยุดยา rifampicin แพทย์ตองลด ้ ่ ้ ของการรักษา ดังนั้น regimen ที่เลือกใช้จะเป็น 18 ขนาดยาอื่น ๆ ที่ให้ร่วมลงมาเป็นขนาดปกติก่อนที่ ถึง 24 เดือนของ streptomycin, ethambutol และ ผู้ป่วยจะได้ยา rifampicin fluoroquinolone ว า ร ส า ร อ า ยุ ร ศ า ส ต ร์ อี ส า น 11 ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554
  • 12. ผูปวยทีมโรคไตวายรุนแรง ควรพิจารณาให้ ้ ่ ่ ี neuropathy ยาที่ควรหลีกเลี่ยงในผู้ป่วยโรคไตวาย เป็น 2HRZE/4HR โดยไม่จาเป็นต้องปรับขนาดของ ำ คือ streptomycin เพราะมีความเสี่ยงที่จะเกิด neph- ยา isoniazid และ rifampicin เนื่องจากยาทั้งสองขับ rotoxicity และ ototoxicity สูงขึ้น ซึ่งหากจำาเป็น ออกทางนำาดี ส่วนยา ethambutol และ pyrazinamide ้ จะต้องใช้ แนะนำาให้ streptomycin 15 มิลลิกรัม/ ขับออกทางไต จึงจำาเป็นต้องปรับการบริหารยาโดย กิโลกรัม/ครัง โดยบริหารยา 2 หรือ 3 ครังต่อสัปดาห์ ้ ้ ให้บริหารยาทั้งสองเป็นแบบ 3 ครั้งต่อสัปดาห์ โดย และติดตามการทำางานของไตและ serum level ของ ให้ pyrazinamide 25 มิลลิกรัม/กิโลกรัม/ครั้ง และ streptomycin เป็นระยะ ethambutol 15 มิลลิกรัม/กิโลกรัม/ครั้ง ซึ่งเท่ากับ ขนาดยาที่ให้ในคนปกติต่อวัน แต่ในผู้ป่วยโรคไต บรรณานุกรม วายให้เป็น 3 ครั้งต่อสัปดาห์ ในผู้ป่วยโรคไตวาย 1. World Health Organization. Treatment of ทุกรายขณะที่ได้รับยา isoniazid ใน regimen ควร tuberculosis guidelines. 4th ed., 2010. ให้ pyridoxine เพื่อป้องกันการเกิด peripheral Vol. 10 No.1 IJM 12 ว า ร ส า ร อ า ยุ ร ศ า ส ต ร์ อี ส า น ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554