SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
กิจกรรมที่2
โครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
หมายถึง กิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการเลือก
ศึกษาปัญหาที่ตนเองสนใจ โดยจะต้องวางแผนการ
ดาเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม โดยใช้ความรู้ทาง
กระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์และ
อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนา
โครงงาน เรื่องที่นักเรียนสนใจและคิดจะทาโครงงาน ซึ่งอาจ
มีผู้ศึกษามาก่อน หรือเป็นเรื่องที่นักพัฒนาโปรแกรมได้เคย
ค้นคว้าและพัฒนาแล้ว นักเรียนสามารถทาโครงงานเรื่อง
ดังกล่าวได้ แต่ต้องคิดดัดแปลงแนวทางในการศึกษา การ
วิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนาโปรแกรม หรือศึกษาเพิ่มเติมจาก
ผลงานเดิมที่มีผู้รายงานไว้
จุดมุ่งหมายสาคัญของการทาโครงงานเป็นการเปิดโอกาส
ให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์
แก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้น หรือค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ใช้
คอมพิวเตอร์ในการพัฒนาสื่อการเรียนรู้เพื่อการศึกษา ประดิษฐ์
ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ พัฒนาโปรแกรม
ประยุกต์ต่างๆ ตลอดจนการพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ เพื่อฝึกให้
นักเรียนเป็นบุคคลที่ใฝ่เรียนใฝ่รู้ การพัฒนาความคิดใหม่ๆ
ความมีคุณธรรมจริยธรรม เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ให้กับเพื่อนมนุษย์
และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
ความสาคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่ทาให้ผู้เรียนเกิด
ความสามารถในด้านต่าง ๆ ที่สาคัญ 5 ประการ ดังนี้
1.ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถที่เกิดจาก
การที่นักเรียนเป็นผู้ทาโครงงานต้องนาเสนอผลงานให้ ครูและเพื่อน
นักเรียนให้เข้าใจโครงงานคอมพิวเตอร์ได้อย่างชัดเจน ดังนั้น ผู้ทา
โครงงานต้องสื่อสารความคิดในการสร้างสรรค์โครงงานด้วยการเขียน
หรือด้วยปากเปล่า รวมทั้งเลือกใช้รูปแบบของสื่ออย่างมีประสิทธิภาพ
เพื่อนาเสนอแนวคิดในการจัด โครงงานให้ผู้อื่นได้เข้าใจ
2.ความสามารถในการคิด ซึ่งผู้เรียนจะมีการคิดในลักษณะต่าง ๆ ดังนี้
-การคิดวิเคราะห์ เกิดจากการที่ผู้เรียนต้องวิเคราะห์ปัญหาและแยกแยะสาเหตุว่าเกิดเนื่องจากอะไร
-การคิดสังเคราะห์ เกิดจากการที่ผู้เรียนต้องนาความรู้ต่าง ๆ ที่เรียนมา รวมทั้งความรู้จากการค้นหา
ข้อมูล เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาหรือการสร้างสรรค์โครงงาน
-การคิดอย่างสร้างสรรค์ เกิดจากการที่ผู้เรียนนาความรู้มาสร้างสรรค์ผลงานใหม่ ๆ
-การคิดอย่างมีวิจารณญาณ เกิดจากการที่ผู้เรียนได้มีการคิดไตร่ตรองว่าควรทาโครงงานใดและไม่ควร
ทาโครง งานใด เนื่องจากโครงงานที่สร้างขึ้นอาจส่งผลกระทบต่อสังคมโดยรวม เช่น โครงงานระบบคานวณเลข
หวย สาหรับหาเลขที่คาดว่าสลากกินแบ่งรัฐบาลจะออกในแต่ละงวด อาจส่งผลกระทบต่อสังคม ทาให้คนในสังคม
เกิดความหมกมุ่นในกับการใช้เงินเล่นหวยมากขึ้น
-การคิดอย่างเป็นระบบ เกิดจากการที่ผู้เรียนคิดแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน โดยใช้ขั้นตอนในการ
พัฒนาโครงงาน คือ ผู้เรียนเป็นผู้วางแผนในการศึกษา ค้นคว้า เก็บรวบรวมข้อมูล พัฒนา หรือประดิษฐ์คิดค้น
ผลงาน รวมทั้งการสรุปผลและการนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยมีผู้สอนและผู้ทรงคุณวุฒิเป็นผู้ให้
คาปรึกษา
3.ความสามารถในการแก้ปัญหา เกิดจากการที่
ผู้เรียนวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจ และอธิบายปัญหาทางด้าน
คอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้
เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา
4.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เกิดจากการที่
ผู้เรียนได้นาความรู้และกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการพัฒนา
โครงงาน และนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่าง
เหมาะสม รวมถึงการพัฒนาโครงงาน ก่อให้เกิดการเรียนรู้ด้วย
ตนเอง อันนาไปสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต
5.ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เกิดจากการที่
ผู้เรียนสามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการแก้ปัญหา
ได้ อย่างถูกต้องเหมาะสม และมีคุณธรรม
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ดาเนินงานโดยนักเรียน เป็นผู้ริเริ่มสร้างสรรค์ และครูอาจารย์ เป็นผู้ให้คาแนะนาปรึกษา
มีองค์ประกอบดังนี้
1. เป็นกิจกรรมการเรียนให้นักเรียนศึกษา ค้นคว้า ปฏิบัติดัวยตนเองโดยอาศัยหลักวิชาการทางทฤษฎี
ตามเนื้อหาโครงงานนั้นๆ หรือจากประสบการณ์และกิจกรรมต่าง ๆ ที่ได้พบเห็นมากแล้ว
2. นักเรียนทุกคนพิจารณาจัดทาโครงงานด้วยตนเอง หรือเป็นกลุ่มโดยใช้ระยะเวลาสั้นๆ เป็นภาคเรียน
หรือมากว่าก็ได้ แล้วแต่โครงงานเล็กหรือใหญ่
3. นักเรียนเป็นผู้พิจารณาริเริ่มสร้างสรรค์ คัดเลือกโครงงานที่จะศึกษาค้นคว้าปฏิบัติด้วยตนเองตาม
ความถนัด สนใจ และความพร้อม
4. นักเรียนเป็นผู้เสนอโครงงาน รายละเอียดของ
โครงงาน แผนปฏิบัติงานและการแปลผล รายงานผลต่ออาจารย์
ที่ปรึกษา เพื่อดาเนินงานร่วมกันให้บรรลุตามจุดหมายที่กาหนด
ไว้
5. เป็นโครงงานที่เหมาะสมกับความรู้ ความสามารถ
ของนักเรียนตามวัยและสติปัญญา รวมทั้งการใช้จ่ายเงิน
ดาเนินงานด้วย
Credit by
• http://www.acr.ac.th/acr/ACR_E-
Learning/CAREER_COMPUTER/COMPUTER/M4/ComputerProject/content1.html
• https://krudarin.wordpress.com/ตกแต่งเว็บเพจด้วยกราฟิ/ความสาคัญของโครงงานคอม/
• https://www.gotoknow.org/posts/314100
กิจกรรมที่3
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยในทุก ๆ สาขาวิชา ดังนั้นโครงงานคอมพิวเตอร์จึงมีความ
หลากหลายเป็นอย่างมาก ทั้งในลักษณะของเนื้อหา กิจกรรม และลักษณะของประโยชน์หรือผลงานที่ได้ ซึ่งอาจ
แบ่งเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 5 ประเภท คือ
1. โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media)
2. โครงงานพัฒนาเครื่องมือ (Tools Development)
3. โครงงานประเภทจาลองทฤษฎี (Theory Experiment)
4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน (Application)
5. โครงงานพัฒนาเกม (Game Development)
1.โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media)
เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา โดยการสร้างโปรแกรม
บทเรียน หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคาถาม
คาตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนแบบรายบุคคลหรือรายกลุ่ม การสอนโดยใช้
คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ ถือว่าเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ไม่ใช่เป็นครูผู้สอน ซึ่ง
อาจเป็นการพัฒนาบทเรียนแบบ Online ให้นักเรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้
โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชาต่าง ๆ ไม่ว่า
จะเป็นสาขาคอมพิวเตอร์ วิชาคณิตศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาสังคม วิชาชีพอื่น ๆ ฯลฯ
โดยนักเรียนอาจคัดเลือกหัวข้อที่นักเรียนทั่วไปที่ทาความเข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการ
พัฒนาโปรแกรมบทเรียน ตัวอย่างเช่น โปรแกรมสอนวิธีการใช้งาน ระบบสุริยะจักรวาล
โปรแกรมแบบทดสอบวิชาต่าง ๆ
2.โครงงานพัฒนาเครื่องมือ (Tools Development)
เป็นโครงงานเพื่อพัฒนาเครื่องมือมาใช้ช่วยสร้างงานประยุกต์ต่าง ๆ ซึ่งโดยส่วนใหญ่จะเป็นในรูป
ซอฟต์แวร์ ตัวอย่างของเครื่องมือช่วยงาน เช่น ซอฟต์แวร์วาดรูป ซอฟต์แวร์พิมพ์งาน ซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุ
ในมุมต่าง ๆ เป็นต้น สาหรับซอฟต์แวร์เพื่อการพิมพ์งานนั้นสร้างขึ้นเป็นโปรแกรมประมวลผลภาษา ซึ่งจะเป็น
เครื่องมือให้เราใช้งานในงานพิมพ์ต่าง ๆ บนเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นไปได้โดยง่าย ซึ่งรูปที่ได้สามารถนาไปใช้งาน
ต่าง ๆ ได้มากมาย สาหรับซอฟต์แวร์ช่วยในการมองวัตถุในมุมต่าง ๆ ใช้สาหรับช่วยในการออกแบบสิ่งของต่าง ๆ
เช่น โปรแกรมประเภท 3D
3. โครงงานประเภทจาลองทฤษฎี
(Theory Experiment)
เป็นโครงงานใช้คอมพิวเตอร์ในการจาลองการ
ทดลองของสาขาต่าง ๆ เป็นโครงงานที่ผู้ทาต้องศึกษา
รวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริงและแนวความคิดต่าง ๆ
อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่ต้องการศึกษา แล้วเสนอเป็นแนวคิด
แบบจาลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสมการ สูตร หรือ
คาอธิบายก็ได้ พร้อมทั้งนาเสนอวิธีการจาลองทฤษฎีด้วย
คอมพิวเตอร์ การทาโครงงานประเภทนี้มีจุดสาคัญอยู่ที่ผู้ทา
ต้องมีความรู้เรื่องนั้น ๆ เป็นอย่างดี ตัวอย่าง เช่น การ
ทดลองเรื่องการไหลของเหลว การทดลองเรื่องพฤติกรรม
ของปลาอโรวาน่า ทฤษฎีการแบ่งแยกดีเอ็นเอ เป็นต้น
4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
(Application)
เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้
งานจริงในชีวิตประจาวัน เช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่ง
อาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี ซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย
เป็นต้น โครงงานงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์
หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่าง ๆ ซึ่งอาจจะสร้างใหม่หรือปรับปรุงดัดแปลง
ของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มี ประสิทธิภาพสูงขึ้นก็ได้ โครงงานลักษณะนี้จะต้อง
ศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ก่อน แล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้ใน
การออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้น ๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการ
ทางานหรือทดสอบคุณภาพของสิ่งประดิษฐ์แล้วปรับปรุงแก้ไขให้มีความ
สมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้นักเรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเครื่อง
คอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครื่องมือต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งอาจ
ใช้วิธีทางวิศวกรรมฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในการพัฒนาด้วย
5. โครงงานพัฒนาเกม
(Game Development)
เป็นโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพื่อความรู้ หรือ
ความเพลิดเพลิน เช่น เกมหมากรุก เกมหมากฮอส เกมการ
คานวณเลข ซึ่งเกมที่พัฒนาขึ้นนี้น่าจะเน้นให้เป็นเกมที่ไม่รุนแรง
เน้นการใช้สมองเพื่อฝึกคิดอย่างมีหลักการ โครงงานประเภทนี้
จะมีการออกแบบลักษณะและกฎเกณฑ์การเล่น เพื่อให้น่าสนใจ
เก่ผู้เล่น พร้อมทั้งให้ความรู้สอดแทรกไปด้วย ผู้พัฒนาควรจะได้
ทาการสารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเกมต่าง ๆ ที่มีอยู่ทั่วไป
และนามาปรับปรุงหรือพัฒนาขึ้นใหม่เพื่อให้เป็นเกมที่แปลกใหม่
และน่าสนใจแก่ผู้เล่นกลุ่มต่าง ๆ
Credit by
• http://www.acr.ac.th/acr/ACR_E-
Learning/CAREER_COMPUTER/COMPUTER/M4/ComputerProject/content1.html
กิจกรรมที่4
ขั้นตอนของการทาโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทาโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมที่ต้องทาอย่างต่อเนื่องหลายขั้นตอน และแต่ละขั้นตอนจะมีความสาคัญต่อ
ความสาเร็จของโครงงานนั้นๆ การคัดเลือกโครงงานที่สนใจจะทา ควรเป็นไปตามความสามารถ ความถนัด ความสนใจ
และความต้องการของตัวผู้เรียนเอง การสารวจและการเลือกเรื่องที่จะทาโครงงาน เป็นขั้นตอนแรกของการทาโครงงาน
ซึ่งเป็นขั้นตอนที่สาคัญมาก
ขั้นตอนการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ ดังนี้
1. การคัดเลือกหัวข้อโครงงาน (การตั้งชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์ที่สนใจจะทา)
2. การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
3. การจัดทาข้อเสนอโครงงาน
4. การลงมือพัฒนาโครงงาน
5. การจัดทารายงาน
6. การนาเสนอและการแสดงผลงานของโครงงาน
1. การคัดเลือกหัวข้อโครงงาน(การตั้งชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์ที่สนใจจะทา)
ปัญหาสาคัญในการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ประการหนึ่งคือ ผู้เรียนไม่ทราบว่าจะทาโครงงานเรื่องอะไร โดยทั่วไป
เรื่องที่จะนามาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มักจะได้มาจากเรื่องทั่วๆ ไป จากปัญหา คาถาม หรือความสนใจในเรื่อง
ต่างๆ จากการสังเกตสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่างๆ รอบตัว อย่างไรก็ตาม ในการตัดสินใจเลือก
หัวข้อที่จะนามาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ควรพิจารณาองค์ประกอบสาคัญๆ ดังนี้
- เห็นประโยชน์และความคุ้มค่าของเรื่องที่จะทาโครงงาน
- ต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา
- สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องได้
- มีแหล่งความรู้เพียงพอที่จะค้นคว้าหรือขอคาปรึกษาซึ่งรวมถึงผู้เชี่ยวชาญ หรือผู้ให้คาปรึกษา
- มีเวลาเพียงพอ
- มีงบประมาณเพียงพอ
- มีความปลอดภัย
2. การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ซึ่งรวมถึงการขอคาปรึกษาจากครูผู้เชี่ยวชาญ ปราชญ์ภูมิ
ปัญญาท้องถิ่น จะช่วยให้ผู้เรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการกาหนดขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมาก
ยิ่งขึ้น รวมทั้งได้ความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่จะศึกษาจนสามารถใช้ออกแบบและวางแผนดาเนินการทาโครงงานนั้นได้
อย่างเหมาะสม ในการศึกษาค้นคว้าดังกล่าว ผู้เรียนจะต้องบันทึกสรุปสาระสาคัญไว้ด้วย แหล่งข้อมูลที่สาคัญอีก
แหล่งหนึ่งคือ การศึกษาผลงานของโครงงานคอมพิวเตอร์จากงานแสดงนิทรรศการ หรือจากเอกสารรายงาน
โครงงานคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจค้นหาได้จากเว็บไซต์ต่างๆ ทั่วโลก จะช่วยเพิ่มพูนประสบการณ์ให้กับผู้เรียนในด้าน
ความรู้ เทคนิคและวิธีการพัฒนา นอกจากนี้ยังทาให้เกิดแนวคิดที่จะดัดแปลงผลงานดังกล่าว มาจัดทาโครงงาน
คอมพิวเตอร์ในหัวข้อที่ตนสนใจด้วย
ตัวอย่างเว็บไซต์ เช่น
1) http://oho.ipst.ac.th เป็นเว็บไซต์ของสาขาคอมพิวเตอร์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่
เกี่ยวข้องกับการสอนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์
2) http://www.nectec.or.th/nsc เป็นเว็บไซต์ของศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ที่
เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมให้ทุนวิจัยกับเยาวชนในการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อสร้างโครงงาน และจัดการ
แข่งขัน
3) http://www. nectec.or.th/ysc เป็นเว็บไซต์ของศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ที่
เกี่ยวข้องกับโครงงานนักวิทยาศาสตร์รุ่นเยาว์ที่จัดการแข่งขันคัดเลือกโครงงานของผู้เรียน เป็นตัวแทนประเทศไทยไป
แข่งขันในโครงการของบริษัทอินเทล ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา
4) http://www.toryod.com เป็นเว็บไซต์ที่รวบรวมสิทธิบัตร สิ่งประดิษฐ์ต่างๆ ที่ผู้เรียนสามารถเข้าไปศึกษา
แนวคิดเพื่อนามาใช้สร้างโครงงาน หรือต่อยอดได้
5) http://www.ipthailand.org เป็นเว็บไซต์ของกรมทรัพย์สินทางปัญญา
6) http://www.bangcare.net เป็นเว็บไซต์ที่รวบรวมเทคโนโลยี สิ่งประดิษฐ์ที่อานวยความสะดวกให้กับคนพิการ
3. การจัดทาข้อเสนอโครงงาน
โดยทั่วไป การทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์มีขั้นตอนที่สาคัญดังนี้
3.1 กาหนดขอบเขตงาน
วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการทบทวนเอกสารวิชาการ เพื่อ
นามากาหนดขอบเขต ลักษณะ และแนวทางในการวางแผนจัดทา
โครงงาน
3.2 การออกแบบการพัฒนา
การออกแบบพัฒนา มีการกาหนดลักษณะของคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์ ตัวแปล ภาษา และวัสดุต่างๆ ที่ต้องใช้กาหนด คุณลักษณะ
ของผลงาน ระบุเทคนิคที่ใช้ในการพัฒนา พร้อมทั้งกาหนดตารางการ
ปฏิบัติงาน
3.3 พัฒนาโครงงานขั้นต้น
การพัฒนาโครงงานขั้นต้น เป็นการลงมือปฏิบัติเพื่อศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้น โดยอาจทาการพัฒนา
ส่วนย่อยๆ บางส่วนตามที่ได้ออกแบบไว้โดยนาผลจากการปฏิบัติ ไปปรับปรุงแผนการปฏิบัติงานที่ออกแบบไว้ใน
ครั้งแรกให้เหมาะสมยิ่งขึ้น ขั้นตอนนี้เป็นทางเลือกสาหรับผู้เสนอโครงงานที่ต้องการตรวจสอบความเป็นไปได้ของ
โครงงานและหลักการ
3.4 จัดทาและเสนอข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
เขียนข้อเสนอโครงงานนาเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่ออาจารย์ที่ปรึกษาจะได้แนะนาในส่วนที่ยัง
บกพร่องอยู่อีกครั้ง ซึ่งจะทาให้การวางแผนและดาเนินการทาโครงงานเป็นไปอย่างราบรื่น
4. การลงมือพัฒนาโครงงาน
เมื่อข้อเสนอโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว ก็เสมือนว่าการจัดทา
โครงงานได้ผ่านพ้นไปแล้วมากกว่า50% ขั้นต่อไปจะเป็นการลงมือพัฒนาตามขั้นตอนที่วางแผนไว้
ดังนี้
4.1 การเตรียมการ
ต้องเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอื่นๆ ที่จะใช้ในการทดลอง พร้อมทั้ง
จัดเตรียมสถานที่สาหรับใช้ในการพัฒนาให้พร้อมด้วย และควรเตรียมสมุดบันทึก หรือบันทึกเป็น
แฟ้มข้อความไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ สาหรับบันทึกการทากิจกรรมต่างๆ ระหว่างทาโครงงาน ได้แก่
ได้ปฏิบัติอย่างไร ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและแก้ไขได้หรือไม่ อย่างไร รวมทั้งข้อสังเกตต่างๆ ที่พบ
4.2 การลงมือพัฒนา
4.2.1 ปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้ในเค้าโครง แต่อาจเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมได้ถ้าพบว่าจะช่วยทา
ให้ผลงานดีขึ้น
4.2.2 จัดระบบการทางานโดยทาส่วนที่เป็นหลักสาคัญให้แล้วเสร็จก่อน จึงค่อยทาส่วนที่เป็น
ส่วนประกอบหรือส่วนเสริมเพื่อให้โครงงานมีความสมบูรณ์มากขึ้น และถ้ามีการแบ่งงานกันทา ให้ทาความตกลงใน
การต่อเชื่อมชิ้นงานที่ชัดเจนด้วย
4.2.3 พัฒนาระบบงานด้วยความละเอียดรอบคอบ และบันทึกข้อมูลไว้อย่างเป็นระบบและครบถ้วน
4.2.4 คานึงถึงความประหยัด ความปลอดภัย และระยะเวลาในการทางาน
4.3 การตรวจสอบผลงานและแก้ไข
การตรวจสอบความถูกต้องของผลงานเป็นความจาเป็น เพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้นทางานได้
ถูกต้องตรงกับความต้องการที่ระบุไว้ในเป้าหมาย และทาด้วยประสิทธิภาพสูงด้วย
4.4 การอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
เมื่อพัฒนาผลงานเรียบร้อยแล้ว ให้จัดทาสรุปด้วยข้อความที่สั้นกะทัดรัดอย่างครอบคลุม เพื่อช่วย
ให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงสิ่งที่ค้นพบจากการทาโครงงาน และทาการอภิปรายผลด้วย เพื่อพิจารณาข้อมูลและผลที่ได้
พร้อมกับนาไปหาความสัมพันธ์กับหลักการ ทฤษฎี หรือผลงานที่ผู้อื่นได้ศึกษาไว้แล้ว ทั้งนี้ยังรวมถึงการนา
หลักการ ทฤษฎี หรือผลงานของผู้อื่นมาใช้ประกอบ
การอภิปรายผลที่ได้ด้วย
4.5 แนวทางการพัฒนาโครงงานในอนาคตและข้อเสนอแนะ
เมื่อทาโครงงานเสร็จสิ้นลงแล้ว ผู้เรียนอาจพบข้อสังเกต ประเด็นที่สาคัญหรือปัญหา ซึ่งสามารถเขียน
เป็นข้อเสนอแนะและสิ่งที่ควรจะศึกษาหรือใช้ประโยชน์ต่อไปได้
5. การจัดทารายงาน
เมื่อทาโครงงานจนได้ข้อมูลอย่างเพียงพอและทาการวิเคราะห์ผล และสรุปผลแล้ว ขั้นตอนต่อไปที่ต้อง
ทาคือการจัดทารายงาน ซึ่งจะรวมถึงรายละเอียดต่างๆ ในการพัฒนา และคู่มือการใช้งานรายงานโครงงาน
คอมพิวเตอร์เป็นวิธีสื่อความหมายที่มีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจแนวคิด วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูล
ที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ
เกี่ยวกับโครงงาน ในการเขียนรายงานนั้น ผู้เรียนควรใช้ภาษาที่อ่านและเข้าใจได้ง่าย ชัดเจน กระชับ และ
1. ส่วนนา
ประกอบด้วย
1.1 ปกนอก 1.2 ใบรองปก
1.3 ปกใน 1.4 บทคัดย่อ
1.5 กิตติกรรมประกาศ 1.6 สารบัญ
1.7 คาอธิบายสัญลักษณ์และคาย่อ (ถ้ามี)
2. ส่วนเนื้อเรื่อง
ส่วนนี้กาหนดให้ทาแบบเป็นบท จานวน 5 บท
ประกอบด้วย
2.1 บทที่ 1 บทนา
2.2 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
2.3 บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีดาเนินการ
2.4 บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน
2.5 บทที่ 5 สรุปผลการดาเนินงาน/อภิปรายผลการ
ดาเนินงาน
3. ส่วนอ้างอิง
เป็นส่วนท้ายของรายงานโครงงาน ประกอบด้วย
รายการอ้างอิงหรือบรรณานุกรม และภาคผนวก
3.1 รายการอ้างอิงหรือบรรณานุกรม
3.2 ภาคผนวก
3.3 คู่มือการใช้งาน (ถ้ามี)
หากโครงงานที่ผู้เรียนจัดทาเป็นการพัฒนาระบบใหม่ขึ้นมา ให้ผู้เรียนจัดทาคู่มืออธิบายวิธีการใช้งาน
ผลงานนั้นโดยละเอียด ซึ่งประกอบด้วย
- ชื่อผลงาน
- ความต้องการของระบบคอมพิวเตอร์ (ถ้ามี) ระบุรายละเอียดของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต้องมี
เพื่อจะใช้ผลงานนั้นได้
- ความต้องการของซอฟต์แวร์ (ถ้ามี) ระบุรายชื่อซอฟต์แวร์ที่ต้องมีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์
เพื่อจะให้ผลงานนั้นทางานได้อย่างสมบูรณ์
- คุณลักษณะของผลงาน อธิบายว่าผลงานนั้นทาหน้าที่อะไรบ้าง รับอะไรเป็นข้อมูลเข้า และส่ง
อะไรออกมาเป็นข้อมูลออก
- วิธีการใช้งานของแต่ละฟังก์ชัน อธิบายว่าจะต้องกดคาสั่งใด หรือกดปุ่มใด
- ข้อแนะนาในการใช้งาน เพื่อให้ผลงานนั้นสามารถทางานได้ดีที่สุด
คู่มือการใช้งาน สามารถแยกออกจากรายงานฉบับสมบูรณ์ หรือใส่ไว้เป็นภาคผนวกของรายงาน
ฉบับสมบูรณ์ก็ได้ แล้วแต่ดุลยพินิจของผู้จัดทา ที่กล่าวมานี้เป็นรูปแบบหนึ่งของการเขียนรายงานซึ่งเป็นการเขียน
รายงานในลักษณะทั่วๆ ไป รูปแบบดังกล่าวนี้อาจไม่เหมาะสมกับโครงงานบางประเภทก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะ
ของโครงงาน ซึ่งสิ่งที่สาคัญที่สุดที่
ผู้เขียนรายงานควรตระหนักไว้อยู่เสมอคือควรเขียนรายงานให้ชัดเจน ใช้ศัพท์เทคนิคที่ถูกต้อง ใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย
ตรงไปตรงมา และครอบคลุมประเด็นสาคัญๆ ทั้งหมดของโครงงาน
6. การนาเสนอและการแสดงผลงานของโครงงาน
การนาเสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่สาคัญอีกขั้นตอนหนึ่งของการทาโครงงาน เพื่อ
แสดงออกถึงผลิตผลของความคิด ความพยายามในการทางานที่ผู้ทาโครงงานได้ทุ่มเท และเป็นวิธีที่ทาให้ผู้อื่น
ได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงานนั้น การเสนอผลงานอาจทาได้ในหลายรูปแบบต่างๆ กัน เช่น การแสดงผลงานโดยไม่มี
การอธิบายประกอบ การรายงานด้วยคาพูดในที่ประชุม การจัดนิทรรศการโดยโปสเตอร์ และอธิบายด้วยคาพูด
โดยผลงานที่นามาเสนอหรือจัดแสดงควรประกอบด้วยสิ่งต่อไปนี้
1) ชื่อโครงงาน
2) ชื่อผู้จัดทาโครงงาน
3) ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
4) คาอธิบายถึงที่มาและความสาคัญของโครงงาน
5) วิธีการดาเนินการที่สาคัญ
6) การสาธิตผลงาน
7) ผลการสังเกตและข้อสรุปสาคัญที่ได้จากการทาโครงงาน
ถ้าเป็นการรายงานด้วยคาพูดต่อที่ประชุม
มีการเตรียมการในประเด็นต่อไปนี้
1) จัดลาดับความคิดในการนาเสนออย่างเป็นระบบและนาเสนอ
อย่างตรงไปตรงมาด้วยภาษาที่ชัดเจนและเข้าใจง่าย
2) ทาความเข้าใจกับเรื่องที่จะอธิบายให้ดี รวมถึงเตรียมข้อมูลที่
อาจต้องใช้ในการตอบคาถาม
3) หลีกเลี่ยงการนาเสนอด้วยวิธีอ่านรายงาน
4) ควรมองไปยังผู้ฟังขณะรายงาน
5) ตอบคาถามอย่างตรงไปตรงมา
6) รายงานให้เสร็จภายในระยะเวลาที่กาหนด
7) ควรใช้โปรแกรมนาเสนอประกอบการรายงาน
8) ความเหมาะสมของเนื้อหาต่อผู้ฟัง
9) ถ้าเป็นโครงงานพัฒนาผลงาน ผลงานนั้นควรจะอยู่ในสภาพที่
ทางานได้เป็นอย่างดี
การแสดงผลงานในรูปแบบของนิทรรศการ
การทาโครงงานคอมพิวเตอร์ นอกจากจะเป็น
กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้นาความรู้ทางคอมพิวเตอร์มา
ใช้แก้ปัญหา พัฒนาคิดค้นผลิตภัณฑ์ต่างๆ แล้ว ยังเป็น
กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความสนใจที่จะทางานวิจัย
และประกอบอาชีพทางคอมพิวเตอร์มากยิ่งขึ้นด้วย ซึ่งใน
ปัจจุบันนี้หลายประเทศทั่วโลกขาดแคลนบุคลากรทางด้าน
เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นอย่างมาก ดังนั้นจึงน่าที่จะจัดให้
การทาโครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมในทุกระดับชั้น
เพื่อนาไปสู่การพัฒนาประเทศต่อไปในอนาคต
Credit by
• https://sites.google.com/a/moeipit.ac.th/wirapons/khan-txn-kar-tha-khorng-ngan-
khxmphiwtexr
ผู้จัดทา
นางสาวอุรชา วัฒนะพงษ์ ม.6/2 เลขที่ 25
นางสาวปราณปริยา สุขเสริฐ ม.6/2 เลขที่ 29

More Related Content

What's hot

งานคอม2
งานคอม2งานคอม2
งานคอม2Charisma An
 
ใบงานท 2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญ
ใบงานท   2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญใบงานท   2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญ
ใบงานท 2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญjjrrwnd
 
Presentation computer project
Presentation computer projectPresentation computer project
Presentation computer projectthanapong46655
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Korrakot Intanon
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์Mook Sunita
 
หมูนวมงานคอม (1)
หมูนวมงานคอม (1)หมูนวมงานคอม (1)
หมูนวมงานคอม (1)Aom Nachanok
 
โครงงานคอมพิวเตอเจลต้าวีวี
โครงงานคอมพิวเตอเจลต้าวีวีโครงงานคอมพิวเตอเจลต้าวีวี
โครงงานคอมพิวเตอเจลต้าวีวีNattaphong Kaewtathip
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมSompor Sukaew
 
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์Kansiri Sai-ud
 
กิจกรรมที่ 23-ฝนกิ๊ฟฟ-dddd
กิจกรรมที่ 23-ฝนกิ๊ฟฟ-ddddกิจกรรมที่ 23-ฝนกิ๊ฟฟ-dddd
กิจกรรมที่ 23-ฝนกิ๊ฟฟ-ddddKorakrit Jindadang
 
Cream and brown curvy serif typefaces simple presentation (1)
Cream and brown curvy serif typefaces simple presentation (1)Cream and brown curvy serif typefaces simple presentation (1)
Cream and brown curvy serif typefaces simple presentation (1)pangggggggggggggg
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Plai Plaifah
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมtakyrc13
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่2-8โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่2-8peesor
 

What's hot (19)

งานคอม2
งานคอม2งานคอม2
งานคอม2
 
ใบงานท 2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญ
ใบงานท   2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญใบงานท   2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญ
ใบงานท 2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญ
 
Presentation computer project
Presentation computer projectPresentation computer project
Presentation computer project
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Presentation607.45
Presentation607.45Presentation607.45
Presentation607.45
 
2 3
2 32 3
2 3
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
 
หมูนวมงานคอม (1)
หมูนวมงานคอม (1)หมูนวมงานคอม (1)
หมูนวมงานคอม (1)
 
โครงงานคอมพิวเตอเจลต้าวีวี
โครงงานคอมพิวเตอเจลต้าวีวีโครงงานคอมพิวเตอเจลต้าวีวี
โครงงานคอมพิวเตอเจลต้าวีวี
 
วิจัยฝุ่น
วิจัยฝุ่นวิจัยฝุ่น
วิจัยฝุ่น
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่ 23-ฝนกิ๊ฟฟ-dddd
กิจกรรมที่ 23-ฝนกิ๊ฟฟ-ddddกิจกรรมที่ 23-ฝนกิ๊ฟฟ-dddd
กิจกรรมที่ 23-ฝนกิ๊ฟฟ-dddd
 
Cream and brown curvy serif typefaces simple presentation (1)
Cream and brown curvy serif typefaces simple presentation (1)Cream and brown curvy serif typefaces simple presentation (1)
Cream and brown curvy serif typefaces simple presentation (1)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
กิจกรรมที่2และ3
กิจกรรมที่2และ3กิจกรรมที่2และ3
กิจกรรมที่2และ3
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่2-8โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่2-8
 
Presentation1 1
Presentation1 1Presentation1 1
Presentation1 1
 

Similar to กิจกรรมที่ 2-4 โครงงานคอมพิวเตอร์

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์dekkok552
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์dekkok552
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมCharisma An
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมCharisma An
 
ใบงานท 2 ความหมายความสำค_ญของโครงงาน
ใบงานท   2 ความหมายความสำค_ญของโครงงานใบงานท   2 ความหมายความสำค_ญของโครงงาน
ใบงานท 2 ความหมายความสำค_ญของโครงงานnoonnarinthip
 
ใบงานท 2 ความหมายความสำค_ญของโครงงาน
ใบงานท   2 ความหมายความสำค_ญของโครงงานใบงานท   2 ความหมายความสำค_ญของโครงงาน
ใบงานท 2 ความหมายความสำค_ญของโครงงานFilm'film Kachamad
 
ใบงานท 2 ความหมายความสำค_ญของโครงงาน
ใบงานท   2 ความหมายความสำค_ญของโครงงานใบงานท   2 ความหมายความสำค_ญของโครงงาน
ใบงานท 2 ความหมายความสำค_ญของโครงงานFilm'film Kachamad
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Supanan Fom
 
ใบงานที่ 2 ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 ความหมายและความสำคัญของโครงงาน ใบงานที่ 2 ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 ความหมายและความสำคัญของโครงงาน gammamcnk
 
ใบงานที่ 2 ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 ความหมายและความสำคัญของโครงงาน ใบงานที่ 2 ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 ความหมายและความสำคัญของโครงงาน gammamcnk
 
กิจกรรมที่2+3
กิจกรรมที่2+3กิจกรรมที่2+3
กิจกรรมที่2+3PaiwarinLuanginta
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานmind jirapan
 

Similar to กิจกรรมที่ 2-4 โครงงานคอมพิวเตอร์ (20)

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Presentation
PresentationPresentation
Presentation
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
Work 22
Work 22Work 22
Work 22
 
ใบงานท 2 ความหมายความสำค_ญของโครงงาน
ใบงานท   2 ความหมายความสำค_ญของโครงงานใบงานท   2 ความหมายความสำค_ญของโครงงาน
ใบงานท 2 ความหมายความสำค_ญของโครงงาน
 
ใบงานท 2 ความหมายความสำค_ญของโครงงาน
ใบงานท   2 ความหมายความสำค_ญของโครงงานใบงานท   2 ความหมายความสำค_ญของโครงงาน
ใบงานท 2 ความหมายความสำค_ญของโครงงาน
 
ใบงานท 2 ความหมายความสำค_ญของโครงงาน
ใบงานท   2 ความหมายความสำค_ญของโครงงานใบงานท   2 ความหมายความสำค_ญของโครงงาน
ใบงานท 2 ความหมายความสำค_ญของโครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
2626
26262626
2626
 
ใบงานที่ 2 ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 ความหมายและความสำคัญของโครงงาน ใบงานที่ 2 ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
ใบงานที่ 2 ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 ความหมายและความสำคัญของโครงงาน ใบงานที่ 2 ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
Work2 3
Work2 3Work2 3
Work2 3
 
Pang_task2
Pang_task2Pang_task2
Pang_task2
 
Work 2
Work 2Work 2
Work 2
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
กิจกรรมที่2+3
กิจกรรมที่2+3กิจกรรมที่2+3
กิจกรรมที่2+3
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 

กิจกรรมที่ 2-4 โครงงานคอมพิวเตอร์

  • 2. ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ หมายถึง กิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการเลือก ศึกษาปัญหาที่ตนเองสนใจ โดยจะต้องวางแผนการ ดาเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม โดยใช้ความรู้ทาง กระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์และ อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนา โครงงาน เรื่องที่นักเรียนสนใจและคิดจะทาโครงงาน ซึ่งอาจ มีผู้ศึกษามาก่อน หรือเป็นเรื่องที่นักพัฒนาโปรแกรมได้เคย ค้นคว้าและพัฒนาแล้ว นักเรียนสามารถทาโครงงานเรื่อง ดังกล่าวได้ แต่ต้องคิดดัดแปลงแนวทางในการศึกษา การ วิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนาโปรแกรม หรือศึกษาเพิ่มเติมจาก ผลงานเดิมที่มีผู้รายงานไว้
  • 3. จุดมุ่งหมายสาคัญของการทาโครงงานเป็นการเปิดโอกาส ให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ แก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้น หรือค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ใช้ คอมพิวเตอร์ในการพัฒนาสื่อการเรียนรู้เพื่อการศึกษา ประดิษฐ์ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ พัฒนาโปรแกรม ประยุกต์ต่างๆ ตลอดจนการพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ เพื่อฝึกให้ นักเรียนเป็นบุคคลที่ใฝ่เรียนใฝ่รู้ การพัฒนาความคิดใหม่ๆ ความมีคุณธรรมจริยธรรม เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ให้กับเพื่อนมนุษย์ และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
  • 4. ความสาคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่ทาให้ผู้เรียนเกิด ความสามารถในด้านต่าง ๆ ที่สาคัญ 5 ประการ ดังนี้ 1.ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถที่เกิดจาก การที่นักเรียนเป็นผู้ทาโครงงานต้องนาเสนอผลงานให้ ครูและเพื่อน นักเรียนให้เข้าใจโครงงานคอมพิวเตอร์ได้อย่างชัดเจน ดังนั้น ผู้ทา โครงงานต้องสื่อสารความคิดในการสร้างสรรค์โครงงานด้วยการเขียน หรือด้วยปากเปล่า รวมทั้งเลือกใช้รูปแบบของสื่ออย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อนาเสนอแนวคิดในการจัด โครงงานให้ผู้อื่นได้เข้าใจ
  • 5. 2.ความสามารถในการคิด ซึ่งผู้เรียนจะมีการคิดในลักษณะต่าง ๆ ดังนี้ -การคิดวิเคราะห์ เกิดจากการที่ผู้เรียนต้องวิเคราะห์ปัญหาและแยกแยะสาเหตุว่าเกิดเนื่องจากอะไร -การคิดสังเคราะห์ เกิดจากการที่ผู้เรียนต้องนาความรู้ต่าง ๆ ที่เรียนมา รวมทั้งความรู้จากการค้นหา ข้อมูล เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาหรือการสร้างสรรค์โครงงาน -การคิดอย่างสร้างสรรค์ เกิดจากการที่ผู้เรียนนาความรู้มาสร้างสรรค์ผลงานใหม่ ๆ -การคิดอย่างมีวิจารณญาณ เกิดจากการที่ผู้เรียนได้มีการคิดไตร่ตรองว่าควรทาโครงงานใดและไม่ควร ทาโครง งานใด เนื่องจากโครงงานที่สร้างขึ้นอาจส่งผลกระทบต่อสังคมโดยรวม เช่น โครงงานระบบคานวณเลข หวย สาหรับหาเลขที่คาดว่าสลากกินแบ่งรัฐบาลจะออกในแต่ละงวด อาจส่งผลกระทบต่อสังคม ทาให้คนในสังคม เกิดความหมกมุ่นในกับการใช้เงินเล่นหวยมากขึ้น -การคิดอย่างเป็นระบบ เกิดจากการที่ผู้เรียนคิดแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน โดยใช้ขั้นตอนในการ พัฒนาโครงงาน คือ ผู้เรียนเป็นผู้วางแผนในการศึกษา ค้นคว้า เก็บรวบรวมข้อมูล พัฒนา หรือประดิษฐ์คิดค้น ผลงาน รวมทั้งการสรุปผลและการนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยมีผู้สอนและผู้ทรงคุณวุฒิเป็นผู้ให้ คาปรึกษา
  • 6. 3.ความสามารถในการแก้ปัญหา เกิดจากการที่ ผู้เรียนวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจ และอธิบายปัญหาทางด้าน คอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้ เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา 4.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เกิดจากการที่ ผู้เรียนได้นาความรู้และกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการพัฒนา โครงงาน และนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่าง เหมาะสม รวมถึงการพัฒนาโครงงาน ก่อให้เกิดการเรียนรู้ด้วย ตนเอง อันนาไปสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต 5.ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เกิดจากการที่ ผู้เรียนสามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการแก้ปัญหา ได้ อย่างถูกต้องเหมาะสม และมีคุณธรรม
  • 7. ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์ ดาเนินงานโดยนักเรียน เป็นผู้ริเริ่มสร้างสรรค์ และครูอาจารย์ เป็นผู้ให้คาแนะนาปรึกษา มีองค์ประกอบดังนี้ 1. เป็นกิจกรรมการเรียนให้นักเรียนศึกษา ค้นคว้า ปฏิบัติดัวยตนเองโดยอาศัยหลักวิชาการทางทฤษฎี ตามเนื้อหาโครงงานนั้นๆ หรือจากประสบการณ์และกิจกรรมต่าง ๆ ที่ได้พบเห็นมากแล้ว 2. นักเรียนทุกคนพิจารณาจัดทาโครงงานด้วยตนเอง หรือเป็นกลุ่มโดยใช้ระยะเวลาสั้นๆ เป็นภาคเรียน หรือมากว่าก็ได้ แล้วแต่โครงงานเล็กหรือใหญ่ 3. นักเรียนเป็นผู้พิจารณาริเริ่มสร้างสรรค์ คัดเลือกโครงงานที่จะศึกษาค้นคว้าปฏิบัติด้วยตนเองตาม ความถนัด สนใจ และความพร้อม
  • 8. 4. นักเรียนเป็นผู้เสนอโครงงาน รายละเอียดของ โครงงาน แผนปฏิบัติงานและการแปลผล รายงานผลต่ออาจารย์ ที่ปรึกษา เพื่อดาเนินงานร่วมกันให้บรรลุตามจุดหมายที่กาหนด ไว้ 5. เป็นโครงงานที่เหมาะสมกับความรู้ ความสามารถ ของนักเรียนตามวัยและสติปัญญา รวมทั้งการใช้จ่ายเงิน ดาเนินงานด้วย
  • 9. Credit by • http://www.acr.ac.th/acr/ACR_E- Learning/CAREER_COMPUTER/COMPUTER/M4/ComputerProject/content1.html • https://krudarin.wordpress.com/ตกแต่งเว็บเพจด้วยกราฟิ/ความสาคัญของโครงงานคอม/ • https://www.gotoknow.org/posts/314100
  • 11. ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยในทุก ๆ สาขาวิชา ดังนั้นโครงงานคอมพิวเตอร์จึงมีความ หลากหลายเป็นอย่างมาก ทั้งในลักษณะของเนื้อหา กิจกรรม และลักษณะของประโยชน์หรือผลงานที่ได้ ซึ่งอาจ แบ่งเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 5 ประเภท คือ 1. โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media) 2. โครงงานพัฒนาเครื่องมือ (Tools Development) 3. โครงงานประเภทจาลองทฤษฎี (Theory Experiment) 4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน (Application) 5. โครงงานพัฒนาเกม (Game Development)
  • 12. 1.โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media) เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา โดยการสร้างโปรแกรม บทเรียน หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคาถาม คาตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนแบบรายบุคคลหรือรายกลุ่ม การสอนโดยใช้ คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ ถือว่าเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ไม่ใช่เป็นครูผู้สอน ซึ่ง อาจเป็นการพัฒนาบทเรียนแบบ Online ให้นักเรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้ โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชาต่าง ๆ ไม่ว่า จะเป็นสาขาคอมพิวเตอร์ วิชาคณิตศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาสังคม วิชาชีพอื่น ๆ ฯลฯ โดยนักเรียนอาจคัดเลือกหัวข้อที่นักเรียนทั่วไปที่ทาความเข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการ พัฒนาโปรแกรมบทเรียน ตัวอย่างเช่น โปรแกรมสอนวิธีการใช้งาน ระบบสุริยะจักรวาล โปรแกรมแบบทดสอบวิชาต่าง ๆ
  • 13. 2.โครงงานพัฒนาเครื่องมือ (Tools Development) เป็นโครงงานเพื่อพัฒนาเครื่องมือมาใช้ช่วยสร้างงานประยุกต์ต่าง ๆ ซึ่งโดยส่วนใหญ่จะเป็นในรูป ซอฟต์แวร์ ตัวอย่างของเครื่องมือช่วยงาน เช่น ซอฟต์แวร์วาดรูป ซอฟต์แวร์พิมพ์งาน ซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุ ในมุมต่าง ๆ เป็นต้น สาหรับซอฟต์แวร์เพื่อการพิมพ์งานนั้นสร้างขึ้นเป็นโปรแกรมประมวลผลภาษา ซึ่งจะเป็น เครื่องมือให้เราใช้งานในงานพิมพ์ต่าง ๆ บนเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นไปได้โดยง่าย ซึ่งรูปที่ได้สามารถนาไปใช้งาน ต่าง ๆ ได้มากมาย สาหรับซอฟต์แวร์ช่วยในการมองวัตถุในมุมต่าง ๆ ใช้สาหรับช่วยในการออกแบบสิ่งของต่าง ๆ เช่น โปรแกรมประเภท 3D
  • 14. 3. โครงงานประเภทจาลองทฤษฎี (Theory Experiment) เป็นโครงงานใช้คอมพิวเตอร์ในการจาลองการ ทดลองของสาขาต่าง ๆ เป็นโครงงานที่ผู้ทาต้องศึกษา รวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริงและแนวความคิดต่าง ๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่ต้องการศึกษา แล้วเสนอเป็นแนวคิด แบบจาลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสมการ สูตร หรือ คาอธิบายก็ได้ พร้อมทั้งนาเสนอวิธีการจาลองทฤษฎีด้วย คอมพิวเตอร์ การทาโครงงานประเภทนี้มีจุดสาคัญอยู่ที่ผู้ทา ต้องมีความรู้เรื่องนั้น ๆ เป็นอย่างดี ตัวอย่าง เช่น การ ทดลองเรื่องการไหลของเหลว การทดลองเรื่องพฤติกรรม ของปลาอโรวาน่า ทฤษฎีการแบ่งแยกดีเอ็นเอ เป็นต้น
  • 15. 4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน (Application) เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้ งานจริงในชีวิตประจาวัน เช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่ง อาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี ซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่าง ๆ ซึ่งอาจจะสร้างใหม่หรือปรับปรุงดัดแปลง ของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มี ประสิทธิภาพสูงขึ้นก็ได้ โครงงานลักษณะนี้จะต้อง ศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ก่อน แล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้ใน การออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้น ๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการ ทางานหรือทดสอบคุณภาพของสิ่งประดิษฐ์แล้วปรับปรุงแก้ไขให้มีความ สมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้นักเรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเครื่อง คอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครื่องมือต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งอาจ ใช้วิธีทางวิศวกรรมฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในการพัฒนาด้วย
  • 16. 5. โครงงานพัฒนาเกม (Game Development) เป็นโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพื่อความรู้ หรือ ความเพลิดเพลิน เช่น เกมหมากรุก เกมหมากฮอส เกมการ คานวณเลข ซึ่งเกมที่พัฒนาขึ้นนี้น่าจะเน้นให้เป็นเกมที่ไม่รุนแรง เน้นการใช้สมองเพื่อฝึกคิดอย่างมีหลักการ โครงงานประเภทนี้ จะมีการออกแบบลักษณะและกฎเกณฑ์การเล่น เพื่อให้น่าสนใจ เก่ผู้เล่น พร้อมทั้งให้ความรู้สอดแทรกไปด้วย ผู้พัฒนาควรจะได้ ทาการสารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเกมต่าง ๆ ที่มีอยู่ทั่วไป และนามาปรับปรุงหรือพัฒนาขึ้นใหม่เพื่อให้เป็นเกมที่แปลกใหม่ และน่าสนใจแก่ผู้เล่นกลุ่มต่าง ๆ
  • 19. ขั้นตอนการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมที่ต้องทาอย่างต่อเนื่องหลายขั้นตอน และแต่ละขั้นตอนจะมีความสาคัญต่อ ความสาเร็จของโครงงานนั้นๆ การคัดเลือกโครงงานที่สนใจจะทา ควรเป็นไปตามความสามารถ ความถนัด ความสนใจ และความต้องการของตัวผู้เรียนเอง การสารวจและการเลือกเรื่องที่จะทาโครงงาน เป็นขั้นตอนแรกของการทาโครงงาน ซึ่งเป็นขั้นตอนที่สาคัญมาก ขั้นตอนการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ ดังนี้ 1. การคัดเลือกหัวข้อโครงงาน (การตั้งชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์ที่สนใจจะทา) 2. การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล 3. การจัดทาข้อเสนอโครงงาน 4. การลงมือพัฒนาโครงงาน 5. การจัดทารายงาน 6. การนาเสนอและการแสดงผลงานของโครงงาน
  • 20. 1. การคัดเลือกหัวข้อโครงงาน(การตั้งชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์ที่สนใจจะทา) ปัญหาสาคัญในการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ประการหนึ่งคือ ผู้เรียนไม่ทราบว่าจะทาโครงงานเรื่องอะไร โดยทั่วไป เรื่องที่จะนามาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มักจะได้มาจากเรื่องทั่วๆ ไป จากปัญหา คาถาม หรือความสนใจในเรื่อง ต่างๆ จากการสังเกตสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่างๆ รอบตัว อย่างไรก็ตาม ในการตัดสินใจเลือก หัวข้อที่จะนามาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ควรพิจารณาองค์ประกอบสาคัญๆ ดังนี้ - เห็นประโยชน์และความคุ้มค่าของเรื่องที่จะทาโครงงาน - ต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา - สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องได้ - มีแหล่งความรู้เพียงพอที่จะค้นคว้าหรือขอคาปรึกษาซึ่งรวมถึงผู้เชี่ยวชาญ หรือผู้ให้คาปรึกษา - มีเวลาเพียงพอ - มีงบประมาณเพียงพอ - มีความปลอดภัย
  • 21. 2. การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ซึ่งรวมถึงการขอคาปรึกษาจากครูผู้เชี่ยวชาญ ปราชญ์ภูมิ ปัญญาท้องถิ่น จะช่วยให้ผู้เรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการกาหนดขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมาก ยิ่งขึ้น รวมทั้งได้ความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่จะศึกษาจนสามารถใช้ออกแบบและวางแผนดาเนินการทาโครงงานนั้นได้ อย่างเหมาะสม ในการศึกษาค้นคว้าดังกล่าว ผู้เรียนจะต้องบันทึกสรุปสาระสาคัญไว้ด้วย แหล่งข้อมูลที่สาคัญอีก แหล่งหนึ่งคือ การศึกษาผลงานของโครงงานคอมพิวเตอร์จากงานแสดงนิทรรศการ หรือจากเอกสารรายงาน โครงงานคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจค้นหาได้จากเว็บไซต์ต่างๆ ทั่วโลก จะช่วยเพิ่มพูนประสบการณ์ให้กับผู้เรียนในด้าน ความรู้ เทคนิคและวิธีการพัฒนา นอกจากนี้ยังทาให้เกิดแนวคิดที่จะดัดแปลงผลงานดังกล่าว มาจัดทาโครงงาน คอมพิวเตอร์ในหัวข้อที่ตนสนใจด้วย
  • 22. ตัวอย่างเว็บไซต์ เช่น 1) http://oho.ipst.ac.th เป็นเว็บไซต์ของสาขาคอมพิวเตอร์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่ เกี่ยวข้องกับการสอนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์ 2) http://www.nectec.or.th/nsc เป็นเว็บไซต์ของศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ที่ เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมให้ทุนวิจัยกับเยาวชนในการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อสร้างโครงงาน และจัดการ แข่งขัน 3) http://www. nectec.or.th/ysc เป็นเว็บไซต์ของศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ที่ เกี่ยวข้องกับโครงงานนักวิทยาศาสตร์รุ่นเยาว์ที่จัดการแข่งขันคัดเลือกโครงงานของผู้เรียน เป็นตัวแทนประเทศไทยไป แข่งขันในโครงการของบริษัทอินเทล ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา 4) http://www.toryod.com เป็นเว็บไซต์ที่รวบรวมสิทธิบัตร สิ่งประดิษฐ์ต่างๆ ที่ผู้เรียนสามารถเข้าไปศึกษา แนวคิดเพื่อนามาใช้สร้างโครงงาน หรือต่อยอดได้ 5) http://www.ipthailand.org เป็นเว็บไซต์ของกรมทรัพย์สินทางปัญญา 6) http://www.bangcare.net เป็นเว็บไซต์ที่รวบรวมเทคโนโลยี สิ่งประดิษฐ์ที่อานวยความสะดวกให้กับคนพิการ
  • 23. 3. การจัดทาข้อเสนอโครงงาน โดยทั่วไป การทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์มีขั้นตอนที่สาคัญดังนี้ 3.1 กาหนดขอบเขตงาน วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการทบทวนเอกสารวิชาการ เพื่อ นามากาหนดขอบเขต ลักษณะ และแนวทางในการวางแผนจัดทา โครงงาน 3.2 การออกแบบการพัฒนา การออกแบบพัฒนา มีการกาหนดลักษณะของคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ ตัวแปล ภาษา และวัสดุต่างๆ ที่ต้องใช้กาหนด คุณลักษณะ ของผลงาน ระบุเทคนิคที่ใช้ในการพัฒนา พร้อมทั้งกาหนดตารางการ ปฏิบัติงาน
  • 24. 3.3 พัฒนาโครงงานขั้นต้น การพัฒนาโครงงานขั้นต้น เป็นการลงมือปฏิบัติเพื่อศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้น โดยอาจทาการพัฒนา ส่วนย่อยๆ บางส่วนตามที่ได้ออกแบบไว้โดยนาผลจากการปฏิบัติ ไปปรับปรุงแผนการปฏิบัติงานที่ออกแบบไว้ใน ครั้งแรกให้เหมาะสมยิ่งขึ้น ขั้นตอนนี้เป็นทางเลือกสาหรับผู้เสนอโครงงานที่ต้องการตรวจสอบความเป็นไปได้ของ โครงงานและหลักการ 3.4 จัดทาและเสนอข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ เขียนข้อเสนอโครงงานนาเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่ออาจารย์ที่ปรึกษาจะได้แนะนาในส่วนที่ยัง บกพร่องอยู่อีกครั้ง ซึ่งจะทาให้การวางแผนและดาเนินการทาโครงงานเป็นไปอย่างราบรื่น
  • 25. 4. การลงมือพัฒนาโครงงาน เมื่อข้อเสนอโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว ก็เสมือนว่าการจัดทา โครงงานได้ผ่านพ้นไปแล้วมากกว่า50% ขั้นต่อไปจะเป็นการลงมือพัฒนาตามขั้นตอนที่วางแผนไว้ ดังนี้ 4.1 การเตรียมการ ต้องเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอื่นๆ ที่จะใช้ในการทดลอง พร้อมทั้ง จัดเตรียมสถานที่สาหรับใช้ในการพัฒนาให้พร้อมด้วย และควรเตรียมสมุดบันทึก หรือบันทึกเป็น แฟ้มข้อความไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ สาหรับบันทึกการทากิจกรรมต่างๆ ระหว่างทาโครงงาน ได้แก่ ได้ปฏิบัติอย่างไร ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและแก้ไขได้หรือไม่ อย่างไร รวมทั้งข้อสังเกตต่างๆ ที่พบ
  • 26. 4.2 การลงมือพัฒนา 4.2.1 ปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้ในเค้าโครง แต่อาจเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมได้ถ้าพบว่าจะช่วยทา ให้ผลงานดีขึ้น 4.2.2 จัดระบบการทางานโดยทาส่วนที่เป็นหลักสาคัญให้แล้วเสร็จก่อน จึงค่อยทาส่วนที่เป็น ส่วนประกอบหรือส่วนเสริมเพื่อให้โครงงานมีความสมบูรณ์มากขึ้น และถ้ามีการแบ่งงานกันทา ให้ทาความตกลงใน การต่อเชื่อมชิ้นงานที่ชัดเจนด้วย 4.2.3 พัฒนาระบบงานด้วยความละเอียดรอบคอบ และบันทึกข้อมูลไว้อย่างเป็นระบบและครบถ้วน 4.2.4 คานึงถึงความประหยัด ความปลอดภัย และระยะเวลาในการทางาน 4.3 การตรวจสอบผลงานและแก้ไข การตรวจสอบความถูกต้องของผลงานเป็นความจาเป็น เพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้นทางานได้ ถูกต้องตรงกับความต้องการที่ระบุไว้ในเป้าหมาย และทาด้วยประสิทธิภาพสูงด้วย
  • 27. 4.4 การอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ เมื่อพัฒนาผลงานเรียบร้อยแล้ว ให้จัดทาสรุปด้วยข้อความที่สั้นกะทัดรัดอย่างครอบคลุม เพื่อช่วย ให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงสิ่งที่ค้นพบจากการทาโครงงาน และทาการอภิปรายผลด้วย เพื่อพิจารณาข้อมูลและผลที่ได้ พร้อมกับนาไปหาความสัมพันธ์กับหลักการ ทฤษฎี หรือผลงานที่ผู้อื่นได้ศึกษาไว้แล้ว ทั้งนี้ยังรวมถึงการนา หลักการ ทฤษฎี หรือผลงานของผู้อื่นมาใช้ประกอบ การอภิปรายผลที่ได้ด้วย 4.5 แนวทางการพัฒนาโครงงานในอนาคตและข้อเสนอแนะ เมื่อทาโครงงานเสร็จสิ้นลงแล้ว ผู้เรียนอาจพบข้อสังเกต ประเด็นที่สาคัญหรือปัญหา ซึ่งสามารถเขียน เป็นข้อเสนอแนะและสิ่งที่ควรจะศึกษาหรือใช้ประโยชน์ต่อไปได้
  • 28. 5. การจัดทารายงาน เมื่อทาโครงงานจนได้ข้อมูลอย่างเพียงพอและทาการวิเคราะห์ผล และสรุปผลแล้ว ขั้นตอนต่อไปที่ต้อง ทาคือการจัดทารายงาน ซึ่งจะรวมถึงรายละเอียดต่างๆ ในการพัฒนา และคู่มือการใช้งานรายงานโครงงาน คอมพิวเตอร์เป็นวิธีสื่อความหมายที่มีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจแนวคิด วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูล ที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ เกี่ยวกับโครงงาน ในการเขียนรายงานนั้น ผู้เรียนควรใช้ภาษาที่อ่านและเข้าใจได้ง่าย ชัดเจน กระชับ และ 1. ส่วนนา ประกอบด้วย 1.1 ปกนอก 1.2 ใบรองปก 1.3 ปกใน 1.4 บทคัดย่อ 1.5 กิตติกรรมประกาศ 1.6 สารบัญ 1.7 คาอธิบายสัญลักษณ์และคาย่อ (ถ้ามี)
  • 29. 2. ส่วนเนื้อเรื่อง ส่วนนี้กาหนดให้ทาแบบเป็นบท จานวน 5 บท ประกอบด้วย 2.1 บทที่ 1 บทนา 2.2 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 2.3 บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีดาเนินการ 2.4 บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน 2.5 บทที่ 5 สรุปผลการดาเนินงาน/อภิปรายผลการ ดาเนินงาน 3. ส่วนอ้างอิง เป็นส่วนท้ายของรายงานโครงงาน ประกอบด้วย รายการอ้างอิงหรือบรรณานุกรม และภาคผนวก 3.1 รายการอ้างอิงหรือบรรณานุกรม 3.2 ภาคผนวก 3.3 คู่มือการใช้งาน (ถ้ามี)
  • 30. หากโครงงานที่ผู้เรียนจัดทาเป็นการพัฒนาระบบใหม่ขึ้นมา ให้ผู้เรียนจัดทาคู่มืออธิบายวิธีการใช้งาน ผลงานนั้นโดยละเอียด ซึ่งประกอบด้วย - ชื่อผลงาน - ความต้องการของระบบคอมพิวเตอร์ (ถ้ามี) ระบุรายละเอียดของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต้องมี เพื่อจะใช้ผลงานนั้นได้ - ความต้องการของซอฟต์แวร์ (ถ้ามี) ระบุรายชื่อซอฟต์แวร์ที่ต้องมีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อจะให้ผลงานนั้นทางานได้อย่างสมบูรณ์ - คุณลักษณะของผลงาน อธิบายว่าผลงานนั้นทาหน้าที่อะไรบ้าง รับอะไรเป็นข้อมูลเข้า และส่ง อะไรออกมาเป็นข้อมูลออก - วิธีการใช้งานของแต่ละฟังก์ชัน อธิบายว่าจะต้องกดคาสั่งใด หรือกดปุ่มใด - ข้อแนะนาในการใช้งาน เพื่อให้ผลงานนั้นสามารถทางานได้ดีที่สุด คู่มือการใช้งาน สามารถแยกออกจากรายงานฉบับสมบูรณ์ หรือใส่ไว้เป็นภาคผนวกของรายงาน ฉบับสมบูรณ์ก็ได้ แล้วแต่ดุลยพินิจของผู้จัดทา ที่กล่าวมานี้เป็นรูปแบบหนึ่งของการเขียนรายงานซึ่งเป็นการเขียน รายงานในลักษณะทั่วๆ ไป รูปแบบดังกล่าวนี้อาจไม่เหมาะสมกับโครงงานบางประเภทก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะ ของโครงงาน ซึ่งสิ่งที่สาคัญที่สุดที่ ผู้เขียนรายงานควรตระหนักไว้อยู่เสมอคือควรเขียนรายงานให้ชัดเจน ใช้ศัพท์เทคนิคที่ถูกต้อง ใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย ตรงไปตรงมา และครอบคลุมประเด็นสาคัญๆ ทั้งหมดของโครงงาน
  • 31. 6. การนาเสนอและการแสดงผลงานของโครงงาน การนาเสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่สาคัญอีกขั้นตอนหนึ่งของการทาโครงงาน เพื่อ แสดงออกถึงผลิตผลของความคิด ความพยายามในการทางานที่ผู้ทาโครงงานได้ทุ่มเท และเป็นวิธีที่ทาให้ผู้อื่น ได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงานนั้น การเสนอผลงานอาจทาได้ในหลายรูปแบบต่างๆ กัน เช่น การแสดงผลงานโดยไม่มี การอธิบายประกอบ การรายงานด้วยคาพูดในที่ประชุม การจัดนิทรรศการโดยโปสเตอร์ และอธิบายด้วยคาพูด โดยผลงานที่นามาเสนอหรือจัดแสดงควรประกอบด้วยสิ่งต่อไปนี้ 1) ชื่อโครงงาน 2) ชื่อผู้จัดทาโครงงาน 3) ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา 4) คาอธิบายถึงที่มาและความสาคัญของโครงงาน 5) วิธีการดาเนินการที่สาคัญ 6) การสาธิตผลงาน 7) ผลการสังเกตและข้อสรุปสาคัญที่ได้จากการทาโครงงาน
  • 32. ถ้าเป็นการรายงานด้วยคาพูดต่อที่ประชุม มีการเตรียมการในประเด็นต่อไปนี้ 1) จัดลาดับความคิดในการนาเสนออย่างเป็นระบบและนาเสนอ อย่างตรงไปตรงมาด้วยภาษาที่ชัดเจนและเข้าใจง่าย 2) ทาความเข้าใจกับเรื่องที่จะอธิบายให้ดี รวมถึงเตรียมข้อมูลที่ อาจต้องใช้ในการตอบคาถาม 3) หลีกเลี่ยงการนาเสนอด้วยวิธีอ่านรายงาน 4) ควรมองไปยังผู้ฟังขณะรายงาน 5) ตอบคาถามอย่างตรงไปตรงมา 6) รายงานให้เสร็จภายในระยะเวลาที่กาหนด 7) ควรใช้โปรแกรมนาเสนอประกอบการรายงาน 8) ความเหมาะสมของเนื้อหาต่อผู้ฟัง 9) ถ้าเป็นโครงงานพัฒนาผลงาน ผลงานนั้นควรจะอยู่ในสภาพที่ ทางานได้เป็นอย่างดี
  • 33. การแสดงผลงานในรูปแบบของนิทรรศการ การทาโครงงานคอมพิวเตอร์ นอกจากจะเป็น กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้นาความรู้ทางคอมพิวเตอร์มา ใช้แก้ปัญหา พัฒนาคิดค้นผลิตภัณฑ์ต่างๆ แล้ว ยังเป็น กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความสนใจที่จะทางานวิจัย และประกอบอาชีพทางคอมพิวเตอร์มากยิ่งขึ้นด้วย ซึ่งใน ปัจจุบันนี้หลายประเทศทั่วโลกขาดแคลนบุคลากรทางด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นอย่างมาก ดังนั้นจึงน่าที่จะจัดให้ การทาโครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมในทุกระดับชั้น เพื่อนาไปสู่การพัฒนาประเทศต่อไปในอนาคต
  • 35. ผู้จัดทา นางสาวอุรชา วัฒนะพงษ์ ม.6/2 เลขที่ 25 นางสาวปราณปริยา สุขเสริฐ ม.6/2 เลขที่ 29