SlideShare a Scribd company logo
ข้อเสนอ
แผนงานสร้างเสริมการเรียนรู้กับสถาบันอุดมศึกษาไทย
เพื่อการพัฒนานโยบายสาธารณะที่ดี (นสธ.)
Thai Universities for Healthy Public Policy (TUHPP)
นาเสนอโดย
ศ.ดร.มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด และคณะ
8 พ.ย. 53
2
ประเด็นการนาเสนอ
1. ความสาคัญและที่มา
2. วิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์
3. ความสัมฤทธิ์ผลในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา
4. ข้อเสนอแผนงานใน 3 ปี พ.ศ. 2554-2556
1.
ความสาคัญและที่มา
4
ความสาคัญ
ถ้าประเทศจะหลุดจากวิกฤตการณ์ปัจจุบันไปได้
อุดมศึกษาไทยจะต้องปฏิวัติตัวเอง
มาเป็นหัวรถจักรทางปัญญา
ที่ดึงสังคมไทยออกจากความมืด
วิถีทางหนึ่งคือ สร้างความสามารถ
ในการพัฒนานโยบายสาธารณะที่ดี ให้ได้โดยรวดเร็ว
ศ.นพ.ประเวศ วะสี
5
ความต้องการการพัฒนานโยบายสาธารณะของประเทศไทย
• ปฏิรูปประเทศไทย
• การกาหนดให้กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นส่วน
หนึ่งของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
• พรรคการเมืองกับการใช้นโยบายสาธารณะในการหาเสียง
• ภาคีนโยบายกับการจัดทาข้อเสนอนโยบายต่อรัฐบาล
• การมีส่วนร่วมในการพัฒนานโยบายสาธารณะที่ดีระดับ
ท้องถิ่น
• ภาคี สสส. กับความต้องการในการพัฒนาทักษะด้านนโยบาย
สาธารณะ
กาเนิดแผนงานนสธ.
โดยการสนับสนุนจาก สสส.
เริ่มก่อตั้งเมื่อ พฤศจิกายน 2551
สังกัดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ภายใต้สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ
2
วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย
หลักการ และ วิสัยทัศน์
2.1 วัตถุประสงค์ (purpose)
1. สนับสนุนให้เกิดกลุ่มศึกษานโยบายสาธารณะใน
สถาบันอุดมศึกษา
2. สนับสนุนให้เครือข่ายชุมชนสามารถเข้าถึงเครือข่าย
สถาบันอุดมศึกษา
3. ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดเวทีนโยบายสาธารณะ
4. รวบรวมและสังเคราะห์องค์ความรู้ให้สามารถ
ถ่ายทอดประสบการณ์ และแนวทางปฏิบัติที่ดี
2.2 กลุ่มเป้าหมาย
• สถาบันอุดมศึกษาหรือสถาบันวิชาการ หรือสถาบันวิจัยที่จด
ทะเบียนเป็นมูลนิธิที่มีความพร้อม
• บุคลากรเป้าหมาย คือ คณาจารย์และนักศึกษาใน
สถาบันการศึกษาระดับต่างๆ องค์กรเอกชน บุคคลที่สนใจ
รวมทั้งผู้กาหนดนโยบายระดับชาติ ผู้บริหารในองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น
10
2.3 หลักการและแนวคิด
การพัฒนานโยบายสาธารณะ
เพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะของสังคม
11
“จะต้องประกอบด้วย กระบวนการทาง
ปัญญา กระบวนการทางศีลธรรม และ
กระบวนการทางสังคม และการสร้าง
สังคมก็เปรียบเสมือนการสร้างเจดีย์
ต้องสร้างจากฐานรากให้เข้มแข็ง”
(ศ.นพ.ประเวศ วะสี)
หลักการในการพัฒนานโยบายสาธารณะที่ดี
12
แนวคิดนโยบายสาธารณะที่ดีต้องมี P4
Participatory Public Policy Processes
13
สร้างความรู้
สาธารณะ
สื่อมวลชน
กฎหมาย
การเมือง
ชุมชน
พื้นที่
ประเด็น
= จัดการความรู้ เรื่องที่มีผลต่อคนจานวนมาก
แบบจาลองสามเหลี่ยมเขยื้อนภูเขา
กับการจัดการความรู้เพื่อพัฒนานโยบายสาธารณะ
วิจารณ์ พานิช (2548)
ชุมชน
ประเด็น
พื้นที่
2.4 กรอบแนวคิดการดาเนินงานร่วมกับ
สถาบันอุดมศึกษา
15
ให้ความสาคัญกับการพัฒนาระบบ
การทางานร่วมกัน ภาคีเครือข่ายเป็น
รถพ่วง ซึ่งบางครั้งมหาวิทยาลัยที่
เคยเป็นหัวรถจักรในประเด็นหนึ่งก็
อาจไปเป็นรถพ่วงในอีกรางหนึ่งก็ได้
ทาหน้าที่จัดให้ขบวนต่างๆมา
เทียบท่าอย่างเป็นระบบ และถึง
ที่หมายอย่างถูกต้อง
มหาวิทยาลัย
เปรียบเป็นหัวรถจักร
ทีมงานส่วนกลาง
เปรียบเหมือนนายสถานี
16
ประสานระหว่างภาคีอุดมศึกษา ภาคีประชาชน
และภาคียุทธศาสตร์ ในลักษณะของการเป็น
หุ้นส่วน เพื่อการเสริมสร้างศักยภาพและพัฒนา
นโยบายสาธารณะที่ดี และเพื่อใช้ทรัพยากรบุคคล
และเงินทุนให้เกิดประโยชน์สูงสุด
แนวคิดของการทางานร่วมกับภาคีเครือข่าย
17
กลุ่มเป้าหมายมีศักยภาพในการเชื่อม
ประสานเป็นเครือข่าย
เพื่อการพัฒนานโยบายสาธารณะที่ดี
ที่ตอบสนองสุขภาวะสังคมในทุกระดับ
2.5 วิสัยทัศน์
2.6 ขอบเขตการดาเนินงาน
จะเน้นหนักในประเด็นนโยบายสาธารณะเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี
(Healthy Public Policy)
หรือนโยบายสาธารณะอื่นๆ ที่ต้องคานึงถึงสุขภาวะ
แต่ไม่เน้นนโยบายสุขภาพ (Health Policy) โดยตรง
สิ่งแวดล้อมยั่งยืน
สังคมปลอดภัยและมีสุข
เศรษฐกิจมั่นคง
ขอบเขตการศึกษา/ขับเคลื่อน
1. พัฒนา
นโยบายและ
ศักยภาพภาคี
เครือข่าย
3. เพิ่ม
ประสิทธิภาพ
การสื่อสาร
นโยบาย
สาธารณะ
2. สนับสนุนการ
ออกแบบขับเคลื่อน
นโยบายสาธารณะ
ที่ดีสาหรับท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์แผนงาน นสธ.
21
กาหนดกรอบยุทธศาสตร์ในการพัฒนานโยบายสาธารณะ
โดยแบ่งการดาเนินงานออกเป็น 2 ระดับ
1.นโยบายสาธารณะระดับชาติ
2.นโยบายสาธารณะระดับท้องถิ่น
แผนงาน นสธ.
ฝ่ายสนับสนุน ฝ่ายวิชาการ
นโยบายสาธารณะ
ฝ่ายกลยุทธ์
นโยบายสาธารณะ
- งานธุรการ
- งานพัสดุ
- งานการเงิน/บัญชี
- งานงบประมาณ
- งานแผนงาน
- งานประสานการพัฒนา
นโยบายสาธารณะ
ฯลฯ
- การพัฒนาข้อเสนอ
โครงการ
- งานสนับสนุนการวิจัย
นโยบายสาธารณะ
- งานสรุปรวบรวมผลงาน
วิชาการ
- งานพัฒนาศักยภาพของ
นักวิจัยนโยบายสาธารณะ
- ฯลฯ
- วางแผนและสนับสนุน
การขับเคลื่อน
- จัดทาสื่อเพื่อการสื่อสาร
นโยบายสาธารณะ
- งานพัฒนาและสร้างการ
เรียนรู้กับสื่อในประเด็น
นโยบายสาธารณะ
- งานจัดทาสื่อเพื่อการ
เรียนการสอน
- ฯลฯ
การบริหารทีมงานของแผนงาน นสธ
23
ความสัมฤทธิ์ผลในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา
3.
สรุปตัวชี้วัดผลการดาเนินการในภาพรวม
รายการ ปีที่ 1 ปีที่ 2 รวม
จานวนโครงการวิจัย 46 71 117
ภาคีอุดมศึกษา 18 22 40
อาจารย์และนักวิจัย 119 184 303
หน่วยงานราชการ
ส่วนกลาง
15 24 39
หน่วยงานส่วนท้องถิ่น 24 98 122
องค์กรอิสระและเครือข่าย 9 12 21
กระบวนการดาเนินงานของ แผนงานนสธ.
การหาโจทย์วิจัยและ
พัฒนาข้อเสนอโครงการ
การดาเนินการวิจัยเพื่อ
ออกแบบนโยบายสาธารณะ
การขับเคลื่อนนโยบาย
สาธารณะ
ขั้นต้นน้า ขั้นกลางน้า ขั้นปลายน้า
• focus group
• public policy knowledge
management
•expert group
/stakeholder meeting
• review literatures
• policy gap analysis
•etc.
• expert group
/stakeholder meeting
• capacity building
• networking
• academic forum
• public policy
discussion
• etc.
Output
(ผลผลิต)
Process
(แผนงานนสธ)
Stage
(นักวิจัย)
• public policy forum
• policy brief/policy poll
• Q&A/documents
• meet the presses
• public policy lobbying
• Multimedia/mass media
• etc.
การจัดการงานวิจัยนโยบายสาธารณะ (นสธ.)
ข้อเสนอโครงการ
ทบทวนข้อเสนอโครงการ
ทาสัญญา
ปรับแก้ไขเพิ่มเติม
ดาเนินงานโครงการ
วิเคราะห์ช่องว่างนโยบาย
ทบทวนร่างรายงาน (2-4 ครั้ง)
รายงานฉบับสมบูรณ์
สรุปย่อข้อเสนอนโยบายสาธารณะเพื่อการสื่อสาร
ผ่าน
ไม่ผ่านไม่ผ่าน
L
M
S
27
พัฒนา
นโยบายและ
ศักยภาพภาคี
เครือข่าย
ผลสัมฤทธิ์
ยุทธศาสตร์ที่ 1
โครงการเด่น
ร่าง พ.ร.บ มาตรการการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม
(ผ่านมติครม. 12 ต.ค.53)
ร่าง พ.ร.ฏ. ภาษีมลพิษทางน้า
และมลพิษทางอากาศ
โครงการเด่น
ระดับของงานนโยบาย
สาธารณะ
สัญลักษณ์ โครงการเด่น
พัฒนาโจทย์วิจัย  • นโยบายสาธารณะเพื่อแก้ไขปัญหามาบตาพุดอย่างมีส่วนร่วม
ดาเนินการวิจัย  • นโยบายการกระจายอุตสาหกรรมไปสู่ภูมิภาค
• นโยบายส่งเสริมการลงทุนของไทย
• การเปลี่ยนแปลงชนบทไทย
ได้องค์ความรู้เพื่อพัฒนา
นโยบาย
 • ข้อเสนอระบบเฝ้าระวังการนาเข้าอาหาร และระบบการเฝ้าระวัง
อาหารอย่างมีส่วนร่วม
• ยุทธศาสตร์การวิจัยและพัฒนาเกษตรอย่างยั่งยืนภายใต้ภาวะโลก
ร้อน
• กาหนดยุทธศาสตร์ในการจัดการปัญหาการเผาในที่โล่ง จ.เชียงใหม่
• ชุดข้อมูลความรู้การเปลี่ยนแปลงของชีวิตคนไทยในรอบ 20 ปี
ข้อเสนอนโยบาย
สาธารณะ
 • กาหนดยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาการเผาในที่โล่งและมลพิษ
อากาศ
หน่วยงานรับไป
ดาเนินการ
 • ร่าง พ.ร.ฎ. ภาษีมลพิษทางน้า และ ร่าง พ.ร.ฎ. ภาษีมลพิษทางอากาศ
• ร่าง พ.ร.บ มาตรการการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม (ผ่านมติครม. 12 ต.ค.53)
เวทีปฏิรูปประเทศไทย
ชาแหละภาษีสิ่งแวดล้อม ตอบโจทย์จริงหรือ
วันที่ 3 พฤศจิกายน 2553 ณ สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย
ที่ ผลผลิต หน่วย
ตัวชี้วัด
ร้อยละของ
ความสาเร็จเป้า ผล
1. อาจารย์ นักวิชาการ ที่เข้าร่วม
โครงการ (เพิ่มขึ้นร้อยละ 20 ต่อปี)
คน 213
ฐาน 178
299 140
2. อาจารย์ นักวิชาการ ที่ได้รับทุน
(เพิ่มขึ้นร้อยละ 20 ต่อปี)
คน 55
ฐาน 46
71 129
3. อาจารย์/นักวิชาการที่เป็นเครือข่าย
เพิ่มขึ้น (เพิ่มขึ้นร้อยละ 20 ต่อปี)
คน 588
ฐาน 490
997 169
4. จานวนข้อเสนอเชิงนโยบายที่เข้าสู่
กระบวนการพัฒนาเพิ่มขึ้น
ข้อเสนอ
นโยบาย
1 2 200
ตัวชี้วัดผลผลิต (ข้อมูล 30 กันยายน 2553) ของยุทธศาสตร์ที่ 1
การสร้างนักวิชาการ Champion
ด้านนโยบายสาธารณะ
• เศรษฐกิจและอุตสาหกรรม
• สังคม
• สิ่งแวดล้อม และอาหาร
• ท้องถิ่น
Champion นักวิชาการนโยบายสาธารณะ
ด้านเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม
Champion
ด้านสังคม (ชนบท สังคมสูงวัย การศึกษา)
Champion ด้านสิ่งแวดล้อม
Champion ด้านอาหาร และเกษตร
โครงการสร้างศักยภาพ
และเครือข่ายนักนโยบายสาธารณะ
(Young Leaders in Public Policy Research)
- Foresight & Scenario Planning
- Public Policy Process
- Stakeholders Analysis & Lobby
- Public Policy Discussion
- Etc.
Case Writing and Teaching on Public Policies
วันที่ 2-3 สิงหาคม 2553 ณ โรงแรมอิมพีเรียล แม่ปิง จังหวัดเชียงใหม่
1. การพัฒนาศักยภาพด้านการสอนนโยบายสาธารณะ
ในสถาบันอุดมศึกษาไทย
LKYPPI
2. เวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์ เพื่อเสริมทักษะนักวิจัย
ในการวิเคราะห์นโยบายและกระบวนการทางสังคม
เพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะในสังคมสูงวัย
40
ผลสัมฤทธิ์
ยุทธศาสตร์ที่ 2
สนับสนุนการ
ออกแบบ
ขับเคลื่อนนโยบาย
สาธารณะ
ที่ดีสาหรับท้องถิ่น
ที่ ผลผลิต หน่วย
ตัวชี้วัด ร้อยละของ
ความสาเร็จเป้า ผล
1. อาจารย์ และนักวิชาการที่เข้า
ร่วมโครงการและได้รับความ
ร่วมมือจาก องค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น (เพิ่มขึ้นร้อยละ 30 ต่อปี)
คน 5 18 360
2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่มี
คู่คิด (เพิ่มขึ้นร้อยละ 30 ต่อปี)
แห่ง 5 18 360
ตัวชี้วัดผลผลิต (ข้อมูล 30 กันยายน 2553) ของยุทธศาสตร์ที่ 2
Champion นักวิชาการนโยบายสาธารณะ
ระดับพื้นที่
นักวิจัยในโครงการคู่คิด มิตรแท้ อปท. รุ่น 2
ผศ.ดร.นัยนา หนูนิล
ได้รับรางวัลชนะเลิศในการนาเสนอผลงานวิจัยด้านการสร้างเสริมสุขภาพ
เรื่องกระบวนการนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาต้นทุนชีวิตเด็กและเยาวชน
ในชุมชนจังหวัดนครศรีธรรมราช
44
ผลสัมฤทธิ์
ยุทธศาสตร์ที่ 3
เพิ่มประสิทธิภาพ
การสื่อสารนโยบาย
สาธารณะ
* 1.ตะวันออก-ตะวันตก 2.นโยบายความสุข 3.หมอกควันและมลพิษทางอากาศในจังหวัดเชียงใหม่ 4.นโยบายสาธารณะเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
5. Q&A ภาษีสิ่งแวดล้อม แนวคิด หลักการ และกฎหมาย 6. นโยบายการคลังสาธารณะ 7. โลกาภิวัตน์ ท้องถิ่นภิวัตน์ นโยบายภิวัตน์ 8. เปลี่ยนกระบวนทัศน์ของอุดมศึกษา
** ข้อมูลประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมประชุมเวทีนโยบายสาธารณะร่วมกับภาคี
ตัวชี้วัดผลผลิต (ข้อมูล 30 กันยายน 2553) ของยุทธศาสตร์ที่ 3
ที่ ผลผลิต หน่วย
ตัวชี้วัด
เป้า ผล
ร้อยละของ
ความสาเร็จ
1. ผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์
เพิ่มขึ้น 50% ต่อปี
ครั้ง 6,507
ฐาน 4,338
18,799 288
2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเวที
สาธารณะเพิ่มขึ้น 20% ต่อ
ปี
คน 1,672
ฐาน 1,394
1,450 86
3. เอกสารเพิ่มขึ้น 100% ต่อปี เรื่อง 10
(ฐาน) 5
8 80
4. ความพึงพอใจของภาคี ร้อยละ ไม่ต่ากว่า 80 92.5** 115
เวทีขับเคลื่อนนโยบาย : อาหารปลอดภัย และนโยบายนมโรงเรียน
มีวัตถุประสงค์ ดังนี้
- เพื่อรายงานสถานการณ์อาหาร
และสร้างความตระหนักในระบบ
การเฝ้าระวังความปลอดภัยด้าน
อาหารที่ผลิตภายในประเทศและ
นาเข้าจากต่างประเทศให้เกิด
ประสิทธิผล
- เพื่อขับเคลื่อนและสนับสนุน
กลไกการเฝ้าระวังความปลอดภัย
ของอาหารอย่างมีส่วนร่วม ให้
สามารถดูแลคุ้มครองสุขภาพของ
ประชาชนทั้งในระดับชาติและระดับ
ท้องถิ่นอย่างแท้จริง
เวทีรับฟังความคิดเห็นจากส่วนราชการต่อ (ร่าง) พระราชกฤษฎีกากาหนดหลักเกณฑ์
วิธีการ เงื่อนไข และอัตราการจัดเก็บภาษีการปล่อยมลพิษทางอากาศ
จากค่าซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ออกไซด์ของไนโตรเจน และฝุ่นละอองรวม พ.ศ. ...
เวทีขับเคลื่อนนโยบาย: ภาษีสิ่งแวดล้อม
เวทีขับเคลื่อนนโยบาย : HIA มาบตาพุด
การเสริมสร้างสุขภาวะของชุมชนตามกลไก
การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ (HIA)
การจัดประชุมครั้งนี้เพื่อผลักดันหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการทา EIA และ HIA ไปสู่
การเผยแพร่ความรู้ให้กับประชาชนได้รับทราบข้อมูลในการจัดทารายงานฯของบริษัท
ที่ปรึกษา รวมถึงการเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจในการเข้าร่วมกระบวนการ Public
Scoping และ Public Review
จดหมายข่าว (newsletter) จานวน 3 ฉบับ
ประจาเดือนธันวาคม 2552 เดือนกุมภาพันธ์ และเดือนเมษายน 2553
เผยแพร่ผลงานต่อสื่อ :
- หนังสือพิมพ์ อาทิ กรุงเทพธุรกิจ คมชัด ประชาชาติธุรกิจ ลึก มติชน ไทยรัฐ
เดลินิวส์ สยามรัฐ ข่าวสด ฯลฯ
- โทรทัศน์ อาทิ ทีวีไทย สานักข่าวไทย ช่องเจ็ด เนชั่น สทท. ฯลฯ
- วิทยุ และผู้สนใจทั่วไป
เวทีนโยบายสาธารณะ : จับตานโยบายรัฐบาล (POLICY WATCH)
กลุ่ม Policy Watch ดาเนินกิจกรรม จับตานโยบายรัฐบาลแถลงข่าว
ผ่านสื่อ ครั้งที่ 6-10 รวมจานวน 5 ครั้ง ได้แก่
1.“การประมูล 3 G: ใครได้ใครเสีย” (9 พ.ย. 2552)
2.“โครงการสินเชื่อเพื่อปลดหนี้นอกระบบ” (12 ธ.ค.2552)
3. “ไทยควรทาอะไรหลัง Copenhagen Climate Change Talks” (11 ม.ค. 2553)
4. “1 ปีรัฐบาล ก้าวไม่พ้นประชานิยม ไปไม่ถึงรัฐสวัสดิการ” (15 ก.พ. 2553)
5. “บทเรียนการดาเนินนโยบายภายใต้เศรษฐกิจสังคมทวิลักษณ์” (8 เม.ย.
2553)
6. เดือนพฤษภาคม งดเว้นเนื่องจากสถานการณ์เมือง
เวทีขับเคลื่อนนโยบาย : หมอกควันเชียงใหม่
ก า ร ป ร ะ ชุ ม เ พื่ อ
นาเสนอองค์ความรู้ของ
การจัดการและแก้ไข
ปัญหาหมอกควันใน
จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อการ
ขับเคลื่อนเพื่อแก้ไข
ปัญหาหมอกควัน”
เวทีวิชาการนโยบาย
การประชุมหารือแนวทางการผลักดัน
นโยบายสาธารณะเพื่อควบคุมการ
ก่อสร้างอาคารสูงในเขตเทศบาลตาบล
ช้างเผือก อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
เวทีผังเมือง
เวทีโลกร้อน
การประชุมเพื่อระดมสมองระดับ
ผู้เชี่ยวชาญ ในหัวข้อยุทธศาสตร์การ
วิจัยเกษตรเพื่อรองรับโลกร้อน”
เวทีวิชาการนโยบาย: พัฒนาร่างกฎหมายวิธีพิจารณาคดี
สิ่งแวดล้อมของไทยเปรียบเทียบกับแนวทางปฏิบัติของศาล
สิ่งแวดล้อมออสเตรเลีย
จดหมายข่าว POLICY WATCH
สื่อสิ่งพิมพ์ของแผนงาน นสธ.
จุดแข็งของแผนงาน นสธ.
• งานเสร็จตามเป้าหมายทุกโครงการ
• โซ่ข้อกลาง
• บริการวิชาการแก่นักวิจัย
• เอื้อต่อการผลิตนวัตกรรมการจัดการการวิจัยนโยบาย
- การฝึกอบรมประเมินนโยบายสาธารณะ
- โครงการฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างศักยภาพ
นักวิจัยนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมรุ่นใหม่
บทเรียน
• ขาดการรวมกลุ่มภาคีวิชาการที่มีความเข้าใจ+ศักยภาพ
• ขาดการประสานภาคี
• ขาดฐานข้อมูลเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ/อปท.
• รอบระยะเวลาของการบริหารโครงการ
57
ข้อเสนอแผนงานใน 3 ปี พ.ศ. 2554-2556
4.
• มหาวิทยาลัยกับการปฏิรูปประเทศไทย
• ริเริ่มการวิจัยระดับพื้นที่ (area-based)
• นโยบายสาธารณะเพื่อปฏิรูปการศึกษา
• เน้นกระบวนการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ
4.1 การดาเนินโครงการต่อเนื่อง (40%)
และโครงการใหม่ (60%)
การปฏิรูปการศึกษา
แผนการดาเนินงานในระยะต่อไป
(การจัดการความรู้เพื่อเตรียมการสาหรับอนาคต)
มาบตาพุด
• นโยบายสาธารณะเพื่อการปรับตัวในอุตสาหกรรม
• นโยบายส่งเสริมการลงทุน
• นโยบายการเจริญเติบโตของประเทศไทย
ยุทธศาสตร์ 1: พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ
ของภาคีเครือข่าย
1. กลุ่มเศรษฐกิจ
• ชุดโครงการนโยบายด้านการเปลี่ยนแปลง
สังคมการเมืองเศรษฐกิจ
2. กลุ่มสังคม
การเปลี่ยนแปลงสังคมชนบทไทย
ใคร ทาไมเป็น “เสื้อแดง”
การปฏิรูปและเข้าถึงกระบวนการออก
กฎหมายโดยฝ่ายนิติบัญญัติ
3. กลุ่มสิ่งแวดล้อมและอาหาร
ชุดโครงการหมอกควัน
โซ่ข้อกลาง รัฐ ท้องถิ่น อุดมศึกษา เติมเต็มช่องว่างความรู้ในระดับ
จังหวัด
ชุดโครงการนโยบายมาตรการทางการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม
ชุดโครงการนี้เป็นการดาเนินงานต่อเนื่อง มีเป้าหมายเพื่อศึกษาหา
ข้อมูลประกอบการร่าง พ.ร.ฎ.
ชุดโครงการนโยบายวิธีพิจารณาคดีสิ่งแวดล้อม
ชุดโครงการนี้มีเป้าหมาย เพื่อศึกษาและแก้ไขข้อจากัดของ
กระบวนการยุติธรรมด้านสิ่งแวดล้อม
ชุดโครงการนโยบายเพื่อป้องกันการกัดเซาะชายหาด
ขับเคลื่อนกระบวนการกาหนดนโยบายสาธารณะและการ
ประเมินผลกระทบของนโยบายสาธารณะที่เกี่ยวข้องกับการ
ลงทุนของภาครัฐเพื่อการป้องกันการกัดเซาะ
ชุดโครงการนโยบายด้านอาหารปลอดภัย
• ยกระดับโครงการระดับภูมิภาค เป็นระดับชาติ
• ส่วนที่สอง เป็นการขับเคลื่อนกลไกเฝ้าระวังอาหาร
ปลอดภัยของเครือข่ายอาสาสมัคร อปท. โดยเริ่มที่ กทม.
4 พัฒนาสื่อการเรียนการสอน
นโยบายสาธารณะที่ดี
และ E-learning for Public Policy Studies
โดยนาเนื้อหาจากการจัดฝึกอบรมและการสัมมนามาจัดทา
เป็นสื่อ electronic และนามาเผยแพร่ทางเว็บไซต์ เพื่อให้นักศึกษา
และผู้สนใจเข้าถึงได้ง่าย
ยุทธศาสตร์ที่ 2 สนับสนุนการออกแบบ
และขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะที่ดีสาหรับท้องถิ่น
1. Area-based (Strategic Environmental
Assessment : SEA)
2. สนับสนุนนักวิจัยให้ทางานร่วมกับท้องถิ่น
3. ส่งเสริมและผลักดันข้อบัญญัติท้องถิ่น
พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ
เพื่อการเฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในเขตพื้นที่มาบตาพุด
วันจันทร์ที่ 6 กันยายน 2553
ณ โรงแรมปทุมวันปริ๊นเซส กรุงเทพมหานคร
ยุทธศาสตร์ที่ 3 เพิ่มประสิทธิภาพในการสื่อสารสาธารณะ
ของสถาบันฯ เครือข่าย เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยงความรู้
นโยบายสาธารณะไปสู่ภาคีเครือข่ายต่างๆ ในสังคม
ร่วมกระบวนการปฏิรูปประเทศไทย
สื่อสารนโยบายสาธารณะ
และขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ
4.2 ตัวชี้วัดผลสาเร็จ
แผนปฏิบัติการ ตัวชี้วัดและผลผลิต ยุทธศาสตร์ที่ 1
กิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพของภาคีเครือข่าย
1.1 สนับสนุนและสร้างแรงจูงใจให้ภาคี
เครือข่ายมีความสนใจจัดการองค์ความรู้
และการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะที่ดี
โดยเฉพาะในมหาวิทยาลัยขนาดใหญ่
 จานวนชุดความรู้ไม่ต่ากว่า 8
เรื่องต่อปี
 จานวนชุดความรู้เพิ่มขึ้น 20% ทุกปี
1.2 ส่งเสริมวิจัยนโยบายสาธารณะอย่างมี
ส่วนร่วม
 อาจารย์ นักวิชาการ ที่ได้รับทุน
30 คน/ปี
 อาจารย์ นักวิชาการ ที่ได้รับทุน
เพิ่มขึ้น 20% ต่อปี (ฐาน 184 คน)
 นักวิจัยที่ติดต่อเพิ่มขึ้น  นักวิจัยที่ติดต่อเพิ่มขึ้น 20% ต่อปี
(ฐาน 299 คน)
 จานวนภาคีสถาบันอุดมศึกษา  ภาคีสถาบันเพิ่มขึ้น 10% (ฐาน 22
สถาบัน)
 จานวนข้อเสนอนโยบายไม่ต่า
กว่า 5 ประเด็นต่อปี
 จานวนข้อเสนอที่มีการรับไป
ขับเคลื่อน เพิ่มขึ้น 10% ต่อปี
แผนปฏิบัติการ ตัวชี้วัดและผลผลิต ยุทธศาสตร์ที่ 1 (ต่อ)
กิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพของภาคีเครือข่าย
1.3 พัฒนาศักยภาพนักวิจัย
และภาคีเครือข่าย
 นักวิจัยที่ได้รับการพัฒนา
ศักยภาพ 10 คน/ปี
 ความพึงพอใจของนักวิจัย
ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ
ไม่ต่ากว่า 80%
 เกิด e-learning ด้าน
นโยบายสาธารณะ
 ผู้เข้าชมเว็บไซต์มีความพึง
พอใจไม่ต่ากว่า 80% ต่อปี
 ชุดความรู้นโยบายที่
สามารถพัฒนาให้เข้าเป็น
หลักสูตร 5 เรื่อง/ปี
 ชุดความรู้นโยบายที่
สามารถพัฒนาให้เข้าเป็น
หลักสูตร เพิ่มขึ้นปีละ
10%
กิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด
ยุทธศาสตร์ที่ 2 สนับสนุนการออกแบบและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะที่ดีสาหรับท้องถิ่น
2.1ร่วมกับภาคีสถาบันอุดมศึกษา พัฒนา
ข้อบัญญัติและระเบียบปฏิบัติในระดับ
ท้องถิ่น ตลอดจนแนวทางพัฒนาในด้าน
ต่างๆ ให้เอื้อต่อการเสริมสร้างสุขภาวะใน
ชุมชน
2.2 วิจัยนโยบายสาธารณะในท้องถิ่น
ตลอดจนแสวงหาและถอดบทเรียน
เพื่อให้ได้แนวทางปฏิบัติที่ดี
 อาจารย์ และนักวิชาการที่
เข้าร่วมโครงการและได้รับ
ความร่วมมือจาก อปท.
จานวน 15 คน/ปี
 อปท. ที่ได้รับบริการ มี
ความพึงพอใจในบริการ
ไม่ต่ากว่า 80%
แผนปฏิบัติการ ตัวชี้วัดและผลผลิต ยุทธศาสตร์ที่ 2
แผนปฏิบัติการ ตัวชี้วัดและผลผลิต ยุทธศาสตร์ที่ 3
กิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด
ยุทธศาสตร์ที่ 3 เพิ่มประสิทธิภาพในการสื่อสารสาธารณะของสถาบันฯ เครือข่าย
3.1สร้างศักยภาพเพื่อขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ
ร่วมกับสื่อมวลชน
 จานวนผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ไม่
ต่ากว่า 50,000 คน ใน 3 ปี
 จานวนผู้เข้าชมเว็บไซต์ไม่ต่ากว่า
20% ต่อปี (ฐาน 18,799 คน)
3.2 สื่อสารและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะแบบ
ไตรภาคีร่วมกับแกนนาประชาชน / ผู้นา
ท้องถิ่น / อปท. และส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเวทีสาธารณะ
ไม่ต่ากว่า 800 คน/ปี
 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเวทีนโยบาย
สาธารณะ เพิ่มขึ้น 20% ต่อปี
 ความพึงพอใจของภาคีไม่ต่ากว่า
80%
3.3สื่อสารและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะโดยใช่
สื่อรูปแบบต่างๆ เช่น วีดิทัศน์ เว็บไซต์ ฯลฯ
 จานวนเอกสาร วีดิทัศน์เผยแพร่
ไม่ต่ากว่า 10 ชิ้น/ปี
 จานวนเอกสาร วีดิทัศน์เผยแพร่
เพิ่มขึ้น 20% ทุกปี
 ฐานข้อมูลที่ภาคีและประชาชน
เข้าถึง 2 ฐานข้อมูล/ปี
ขอบคุณค่ะ

More Related Content

Viewers also liked

PPT ประสบการณ์การทำงานและการอนุรักษ์เมืองของไทยใแต่ละภาค
PPT ประสบการณ์การทำงานและการอนุรักษ์เมืองของไทยใแต่ละภาคPPT ประสบการณ์การทำงานและการอนุรักษ์เมืองของไทยใแต่ละภาค
PPT ประสบการณ์การทำงานและการอนุรักษ์เมืองของไทยใแต่ละภาค
FURD_RSU
 
Game Theory
Game TheoryGame Theory
Game TheoryVaristha
 
ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 1 ภาคแนวคิด)
ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 1 ภาคแนวคิด)ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 1 ภาคแนวคิด)
ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 1 ภาคแนวคิด)
Pim-Ngarm Mudha
 
วิจัยปี 59 ครูวิชัย
วิจัยปี 59 ครูวิชัยวิจัยปี 59 ครูวิชัย
วิจัยปี 59 ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
Ict Krutao
 

Viewers also liked (6)

PPT ประสบการณ์การทำงานและการอนุรักษ์เมืองของไทยใแต่ละภาค
PPT ประสบการณ์การทำงานและการอนุรักษ์เมืองของไทยใแต่ละภาคPPT ประสบการณ์การทำงานและการอนุรักษ์เมืองของไทยใแต่ละภาค
PPT ประสบการณ์การทำงานและการอนุรักษ์เมืองของไทยใแต่ละภาค
 
Game Theory
Game TheoryGame Theory
Game Theory
 
ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 1 ภาคแนวคิด)
ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 1 ภาคแนวคิด)ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 1 ภาคแนวคิด)
ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 1 ภาคแนวคิด)
 
1.Health Community_Concept
1.Health Community_Concept1.Health Community_Concept
1.Health Community_Concept
 
วิจัยปี 59 ครูวิชัย
วิจัยปี 59 ครูวิชัยวิจัยปี 59 ครูวิชัย
วิจัยปี 59 ครูวิชัย
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
 

Similar to Proposal54 mk 8_nov10(final)

นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการนโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
Sakanan nuclear power_plants
Sakanan nuclear power_plantsSakanan nuclear power_plants
Sakanan nuclear power_plants
SAKANAN ANANTASOOK
 
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)ชนาธิป ศรีโท
 
W 2
W 2W 2
ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 1 ภาคแนวคิด)
ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 1 ภาคแนวคิด)ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 1 ภาคแนวคิด)
ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 1 ภาคแนวคิด)
Ruangvit_G
 
0 บทที่ 1
0 บทที่ 10 บทที่ 1
0 บทที่ 1Pala333
 
หมออนามัยVol.6
หมออนามัยVol.6หมออนามัยVol.6
หมออนามัยVol.6
Chuchai Sornchumni
 
Dissertation1
Dissertation1Dissertation1
Dissertation1tomranbo
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับ มาตรฐานการเรียนรู...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับ มาตรฐานการเรียนรู...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับ มาตรฐานการเรียนรู...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับ มาตรฐานการเรียนรู...
Atigarn Tingchart
 
โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56Met Namchu
 
โครงการพ ฒนาผ _เร_ยน
โครงการพ ฒนาผ _เร_ยนโครงการพ ฒนาผ _เร_ยน
โครงการพ ฒนาผ _เร_ยน
ไชยา แก้วผาไล
 
2562 final-project -1-23-1 weed
2562 final-project -1-23-1 weed2562 final-project -1-23-1 weed
2562 final-project -1-23-1 weed
ssuser8b5bea
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Bai'mon Chankaew
 
สรุปนโยบายรัฐบาล
สรุปนโยบายรัฐบาลสรุปนโยบายรัฐบาล
สรุปนโยบายรัฐบาลAull Kcp
 
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปี
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปี
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปี
Watcharasak Chantong
 

Similar to Proposal54 mk 8_nov10(final) (20)

บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการนโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
 
Sakanan nuclear power_plants
Sakanan nuclear power_plantsSakanan nuclear power_plants
Sakanan nuclear power_plants
 
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
 
แนะนำทุน พสวท.
แนะนำทุน พสวท.แนะนำทุน พสวท.
แนะนำทุน พสวท.
 
25713 1
25713 125713 1
25713 1
 
ทักษะกระบวนการวิทย์
ทักษะกระบวนการวิทย์ทักษะกระบวนการวิทย์
ทักษะกระบวนการวิทย์
 
W 2
W 2W 2
W 2
 
ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 1 ภาคแนวคิด)
ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 1 ภาคแนวคิด)ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 1 ภาคแนวคิด)
ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 1 ภาคแนวคิด)
 
0 บทที่ 1
0 บทที่ 10 บทที่ 1
0 บทที่ 1
 
หมออนามัยVol.6
หมออนามัยVol.6หมออนามัยVol.6
หมออนามัยVol.6
 
Dissertation1
Dissertation1Dissertation1
Dissertation1
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับ มาตรฐานการเรียนรู...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับ มาตรฐานการเรียนรู...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับ มาตรฐานการเรียนรู...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับ มาตรฐานการเรียนรู...
 
โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56
 
โครงการพ ฒนาผ _เร_ยน
โครงการพ ฒนาผ _เร_ยนโครงการพ ฒนาผ _เร_ยน
โครงการพ ฒนาผ _เร_ยน
 
2562 final-project -1-23-1 weed
2562 final-project -1-23-1 weed2562 final-project -1-23-1 weed
2562 final-project -1-23-1 weed
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
สรุปนโยบายรัฐบาล
สรุปนโยบายรัฐบาลสรุปนโยบายรัฐบาล
สรุปนโยบายรัฐบาล
 
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปี
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปี
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปี
 
แผนเศรษฐกิจพอเพียง
แผนเศรษฐกิจพอเพียงแผนเศรษฐกิจพอเพียง
แผนเศรษฐกิจพอเพียง
 

Proposal54 mk 8_nov10(final)