SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
บทวิเคราะห์สภาพการแข่งขันสินค้าในประเทศ (Five Force Model)
อุปสรรคของสินค้าหรือบริการทดแทน
อำานาจการต่อรองของผู้ขายวัตถุดิบ
อุปสรรคของผู้เข้ามาใหม่
อำานาจการต่อรองของผู้ซื้อ
ผลิตภัณฑ์ทางด้านวิทยาศาสตร์ ที่ผลิตในประเทศ เป็นผลิตภัณฑ์ที่เกิด
ขึ้นมาช่วงระยะเวลาหนึ่งแล้ว แต่ไม่มีบริษัทใด ทำา ให้เป็นระบบเพื่อเข้าสู่ตลาด
เครื่องมือทางด้านวิทยาศาสตร์อย่างแท้จริง ผู้บริโภคยังมีProduct Awareness ตำ่า
และมีคู่แข่งขันในตลาดเพียงไม่กี่ราย ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตในประเทศ จึงเป็นผลิตภัณฑ์
ที่มีแนวโน้มที่ดี จะเห็นว่าในช่วงที่ผ่านมา ผู้ประกอบการที่เข้าสู่ตลาดมีน้อยราย
เมื่อพิจารณา ในแง่ของการลงทุนและเทคโนโลยีในการผลิตสินค้านั้น การผลิต
สินค้าในปัจจุบัน จะเป็นการลงทุนที่ค่อนข้างตำ่า และมีเทคโนโลยีในการผลิตไม่ซับ
ซ้อน จึงมีการลอกเลียนแบบกันได้ง่าย เป็นอุตสาหกรรมที่มี Barrier to Entry ตำ่า
อย่างไรก็ตาม ระบบมาตรฐานของการนำาเครื่องมือ ไปใช้งาน ตลอดจนมาตรฐาน
การผลิต ก็มีผลในการผลิตมากขึ้น ทำาให้ผู้ประกอบการในธุรกิจนี้ มีความยุ่งยาก
ในการผลิตและจัดจำาหน่าย สินค้าในกลุ่มดังกล่าว
2. Rivalry Among Established Companies
การแข่งขันกับคู่แข่งกับระดับตรายี่ห้อ ยังไม่รุนแรงมากนัก เนื่องจาก
ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตภายในประเทศ เป็นสินค้าทดแทนการนำาเข้า และมีผู้ผลิตน้อยราย
ไม่มีผู้ผลิตรายใดเป็นเจ้าตลาด เนื่องจากผู้ประกอบการเป็นรายเล็ก มีกำาลังการผลิต
ไม่มากนัก การกระจายสินค้าเป็นลักษณะการ พ่วงขาย ซึ่งทำาให้ตลาดมีช่องว่างอีก
มาก ช่วยให้การแข่งขันไม่รุนแรงมากเหมือนสินค้าที่นำาเข้ามาจากต่างประเทศ
3. The Bargaining power of Buyers
แม้ว่าต ลาดผ ลิต ภัณฑ์เครื่อง มือ วิทยา ศา สต ร์ ที่ผลิตใ นประเทศ จะมีผู้
ประกอบการรายเล็กๆ เพียงไม่กี่ราย แต่ตัวผลิตภัณฑ์ ยังไม่ได้รับความนิยมจากผู้
บริโภคมากนัก เพราะผู้บริโภคยังให้ความสำา คัญกับสินค้า ที่นำา เข้า มาจากต่าง
ประเทศ ความคุ้นเคยกับตรายี่ห้อ การคำานึงถึงมาตรฐานของผลิตภัณฑ์ ตลอดจน
แหล่งผู้ผลิตจากต่างประเทศ ทำาให้ลูกค้าต้องพิจารณา เป็นกรณี ๆ ไป
4. The Bargaining Power of Supplier
เนื่องจาก ผลิตภัณฑ์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ที่ผลิตหรือประกอบภายในประเทศ จะใช้
วัตถุดิบ ที่มีอยู่ภายในประเทศ ส่วนอุปกรณ์และอะไหล่ บางตัวนำาเข้ามาจากต่างประเทศ และ
อุปกรณ์หรืออะไหล่เหล่านี้ ถ้าหากมีการผลิตในปริมาณมาก สามารถจัดซื้อจัดหาได้ในราคาตำ่า
กว่าท้องตลาดทั่วไป รวมถึงอำานาจในการต่อรอง ของบริษัทผู้ผลิต เพื่อให้สามารถซื้ออุปกรณ์
และอะไหล่ในราคาตำ่าได้
5. The Threat of Substitute Products
เนื่องจากผลิตภัณฑ์ที่ผลิตในประเทศ กลุ่มลูกค้า ยังมองว่าเป็นผลิตภัณฑ์
ที่มีคุณภาพตำ่า อาจจะยังไม่เหมาะหากนำามาใช้ในด้านการทดลองหรือการวิเคราะห์
ที่ค่อนข้างจะเน้นในด้านประสิทธิภาพ รวมถึงคุณสมบัติและรายละเอียดของสินค้า
ก็ค่อนข้างจะใกล้เคียงกัน ทั้งในด้านราคาก็มีระดับที่เท่ากัน หรือมีความแตกต่างกัน
น้อยมาก จึงเป็นอุปสรรคต่อผลิตภัณฑ์ที่ผลิตในประเทศ ในการทำาตลาดค้อนข้าง
มาก
2.2 โอกาสทางธุรกิจ
การเข้าสู่ตลาดผลิตภัณฑ์ที่ผลิตในประเทศทางด้านวิทยาศาสตร์ ในช่วงนี้นับ เป็น
โอกาสอันดีของบริษัท เห็นได้จากแนวโน้ม การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของภูมิภาค นโยบาย
ของรัฐบาล ซึ่งถ้ามองโดยภาพรวม ยังมีโอกาสขยายตัวอีกมาก ถึงแม้ว่าผู้ผลิตจะมีอำานาจในการ
ต่อรองตำ่าและผู้ซื้อมีอำานาจในการต่อรองสูง แต่ตลาดก็มี Barrier to Entry และภาวะ การ
แข่งขันที่ตำ่า คือมีจำานวนคู่แข่งไม่ถึง 10 ราย ซึ่งแต่ละราย ยังไม่ทำาตลาดอย่างจริงจัง และ
แต่ละรายยังเป็นการขายสินค้าแบบพ่วงขาย จึงทำาให้ไม่มีรายใดสามารถครองตลาดส่วนใหญ่
ได้ ซึ่งลูกค้าจะมี Brand Awareness ตำ่าเนื่องจากการทำาตลาดที่ผ่านๆมา แต่ละบริษัทมีการส่ง
เสริมการตลาดน้อย ดังนั้นบริษัทจึงเริ่มสร้าง Brand Awareness โดยเน้นการส่งเสริมการตลาด
เพื่อกระตุ้นและจูงใจ ให้ผู้บริโภค หันมาใช้ผลิตภัณฑ์ของบริษัท
• Local made product เป็นผลิตภัณฑ์ท้างด้านวิทยาศาสตร์ ที่ประกอบและผลิต
ภายในประเทศ ใช้เป็นสินค้าทดแทนการนำาเข้า โดย ทั่วๆ ไป เป็นเครื่องมือสำาหรับใช้ในงาน
ด้านการวิเคราะห์ การวิจัย และในขณะนี้ตลาดทางด้านเครื่องมือทางด้านวิทยาศาสตร์ จะมีการ
เปลี่ยนแปลงทางในด้านความต้องการของผู้บริโภคเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นความต้องการ ใน
การใช้งานเฉพาะ ความต้องการในการใช้งานที่ครอบคลุม ตลอดจน การสนับสนุนตามนโยบาย
ของรัฐบาล รวมถึงแนวโน้มการเติบโตทางด้านเศรษฐกิจ
• มี Gross margin สูงถึง 00 %
• คู่แข่งผลิตภัณฑ์ Local made product ในปัจจุบัน ยังไม่ได้ทำาตลาดอย่างเติมที่
รวมไปถึงการสร้างตรา สินค้า แต่เป็นเพียงสินค้าที่ทดแทนการนำาเข้า จากต่างประเทศเท่านั้น
สำาหรับการจัดจำาหน่ายที่ผ่านๆมา เป็นการขายในลักษณะ สินค้าพ่วงขาย โดยที่ไม่ได้เน้นตลาด
อย่างจริงจัง จึงทำาให้ไม่มีรายใดที่เป็นเจ้าตลาดอย่างแท้จริง
• ประเทศไทยเป็นประเทศกำาลังพัฒนา รวมถึงมีอัตราการเติบโตทางด้านเศรษฐกิจ
อย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันนี้มีงานทางด้านการวิจัยและการพัฒนาเกิดขึ้นใหม่ๆ หลายโครงการ ไม่ว่า
จะเป็นทางด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม งานโครงการเหล่านี้ล้วนแล้วแต่ ต้องมีการนำาเครื่องมือ
เครื่องจักร มาใช้ของทุกโครงการ รวมถึงสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ ทางด้านวิทยาศาสตร์
นอกจากสินค้าที่ใช้สำาหรับการวิเคราะห์ ซึ่งโดยมาก จะเป็นสินค้าที่มีขนาดเล็กถึงขนาด
กลาง แต่ทางบริษัทยังมีสินค้าขนาดใหญ่ สำาหรับการผลิตโดยเฉพาะ เช่น โครงการกระบวนการ
แปรรูป สินค้าทางด้านเกษตร ครบวงจร เป็นต้นเหล่านี้ ทางบริษัท มีสินค้าครอบคลุม ทุก
กระบวนการตั้งแต่ เริ่ม จนครบทุกกระบวน เพื่อรองรับงาน โดยเฉพาะ
3. การวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด
3.1 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมระดับมหภาค
§ ด้านเศรษฐกิจและนโยบายของรัฐ
สภาพเศรษฐกิจที่ตกตำ่า รวมถึงการเปลี่ยนแปลงค่าเงิน ของต่างประเทศ ทำาให้สินค้าที่
นำาเข้ามาจำาหน่าย ในประเทศมีต้นทุนที่สูงขึ้น ดังนั้นสินค้าที่ผลิตในประเทศ จะมีต้นทุนที่ตำ่า และ
โดยรวมมีแนวโน้มที่จะขยายตัวเพิ่มขึ้น สวนกระแส โดยมีปัจจัยสนับสนุนที่สำาคัญ คือ
1. ภาครัฐมีนโยบายสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาสินค้าที่ผลิตภายในประเทศ และ
กำาหนดเป็นนโยบาย ให้หน่วยงานของรัฐ เปิดโอกาสในการเลือกใช้สินค้าที่ผลิตในประเทศ
โดยมีแนวทางดังนี้ “ก่อนที่จะซื้อสินค้าทางด้านวิทยาศาสตร์ จากต่างประเทศนั้นให้ หน่วยงาน
พิจารณาสินค้าที่ผลิตในประเทศ ก่อนว่า สินค้าชนิดนั้น มีคุณสมบัติหรือข้อกำาหนดที่สามารถนำา
มาใช้งานได้หรือไม่ ถ้ามีให้พิจารณาสินค้าดังกล่าวเป็นอันดับแรกก่อน “ จากนโยบายดังกล่าว
ทำาให้ตลาดสินค้าที่ผลิตในประเทศ มีโอกาสเติบโตอย่างต่อเนื่อง
2. สภาพเศรษฐกิจ ที่กำาลังเริ่มฟื้นตัวของประเทศ รวมถึงการเพิ่มขึ้นของค่าเงิน ใน
ต่างประเทศ ทำาให้ลูกค้า หันมามองผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่ภายในประเทศ เพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย รวม
ถึงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่ผลิตในประเทศ ในหลายๆ ผลิตภัณฑ์ สามารถทดแทนกันได้
§ ด้านสังคมและวัฒนธรรม (Social and Cultural Environment)
สภาพสังคมและวัฒนธรรม ในประเทศ เริ่มมีการเปลี่ยนแปลง ไปในทิศทาง ที่เอื้อ
ประโยชน์ต่อการเติบโต ของตลาดสินค้าที่ผลิตในประเทศ โดยพิจารณาจากแนวโน้มสำาคัญ ที่
เกิดขึ้นในปัจจุบัน ได้แก่
กระแสความนิยมสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ที่ประกอบในประเทศ ปัจจุบันผู้บริโภค
เริ่มหันมาให้ความสนใจผลิตภัณฑ์ที่ประกอบในประเทศ กันมากขึ้น อาจจะด้วยจากหลายๆ
ปัจจัย เช่น กระแสความนิยม นโยบายของรัฐ ตลอดจนประสิทธิภาพที่มีการปรับปรุงพัฒนา ของ
ผลิตภัณฑ์เหล่านั้น
กระแสความจำา เป็นในการนำา ไปใช้งาน ปัจจุบันสินค้าบางตัวคุณภาพ และ
ประสิทธิภาพ จะมีความใกล้เคียงกับสินค้าที่นำาเข้ามาจากต่างประเทศ ดังนั้นลูกค้าจึงหันมามอง
คุณภาพและประสิทธิภาพจากการนำามาใช้งานจริงๆ โดยหันมามองในด้านราคากับคุณภาพการ
ใช้งาน ที่สมเหตุ สมผล ดังนั้น กระแสความนิยมในสินค้าที่ผลิตภายในประเทศ จึงเป็นที่ยอมรับ
ของลูกค้ามากยิ่งขึ้น
3.2 โครงสร้างตลาดและสภาพอุตสาหกรรม
3.2.1 โครงสร้างตลาด
เมื่อพิจารณาข้อมูลทางการตลาด ในปัจจุบัน ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตและประกอบภายใน
ประเทศ ในเมืองไทยนั้น จะพบว่ามีลักษณะ Fragmented อย่างเด่นชัด โดยมีบริษัทรายใหญ่ๆ
2-3 บริษัท ที่มีกิจกรรมกระทำาทั้ง 2 ด้าน โดยมีทั้งกิจกรรมด้านการผลิตและกิจกรรมด้านการจัด
จำาหน่าย ควบคู่กันไป และในตลาดยังมีผู้ประกอบการราย ย่อยอีกเป็นจำานวนมาก ซึ่งบริษัท
เหล่านี้เป็นบริษัท ที่ทำาการผลิตและรับจ้างผลิต แบบไม่มีตราสินค้า รวมถึงการกำาหนดมาตรฐาน
ที่เกี่ยวข้องในด้านการผลิต โครงสร้างตลาดเช่นนี้ทำาให้ การประมาณขนาดตลาดในประเทศ
ที่แท้จริงนั้น ทำาได้ค่อนข้างยาก แต่ถ้าหากจะดูจากยอดจำาหน่ายจากรายใหญ่ๆ แล้ว พบว่า
ตลาดมีการเติบโตเป็นอย่างมาก ซึ่งปีที่ผ่านมาตลาดเครื่องมือทางด้านวิทยาศาสตร์มีมูลค่าไม่ตำ่า
กว่า 80,000 ล้านบาท
อย่างไรก็ตาม การทำาตลาด Local made product ในปัจจุบันนั้น เป็นการทำาตลาดใน
ลักษณะสินค้าพ่วงขาย หรือสินค้าแถม โดยไม่มีการทำาตลาดที่มีศักยภาพ โดยชี้ให้เห็น
ประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ ในประเทศ อย่างจริงจัง และรวมไปถึงผลิตภัณฑ์ที่มีขนาดใหญ่ ซึ่ง
เกี่ยวข้องในด้านการผลิต แต่ถ้าหากมีการเผยแพร่และขยายผลไปให้ครอบคลุม รวมถึงการ
สร้างตลาดให้มีศักยภาพ เพื่อขยายเข้าสู่ตลาดเครื่องมือในด้านการผลิต แทนสินค้าที่มีเฉพาะใน
ด้านการวิจัย ซึ่งขนาดตลาดโดยรวม ไม่ตำ่ากว่า 100,000 ล้านบาท
3.2.2 สภาพอุตสาหกรรมของสินค้า Local made product
§ อำานาจต่อรองของ Supplier (+)
วัตถุดิบ ที่สำาคัญของอุตสาหกรรมการผลิต สินค้าในประเทศนี้ สามารถแบ่งออกได้เป็น
2 ส่วนใหญ่ๆ
ดังนี้ คือ ส่วนที่เป็นโครงตู้ (Structure) กับส่วนที่เป็นอุปกรณ์ประเภทอะไหล่สำา หรับ
ประกอบ ( part) ซึ่งเป็นวัตถุดิบมีทั้งที่ผลิตภายในประเทศและเป็นการนำาเข้าจากต่างประเทศ แต่
เนื่องจากปัญหาเรื่องคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ที่ผลิตในประเทศยังไม่ค่อยสมำ่าเสมอ ตลอดจน
มาตรฐานในการผลิต เพราะเป็นสินค้าที่มีผลค้อนข้างมาก ในด้านมาตรฐานสินค้า ทำาให้
ผลิตภัณฑ์หรือสินค้าที่จำา หน่ายอยู่ในท้องตลาด ส่วนใหญ่เป็นการนำา เข้ามาจากต่าง
ประเทศ และด้วยเรื่องที่ว่า สินค้าหรือผลิตภัณฑ์ทางด้านวิทยาศาสตร์ เป็นเรื่องของเทคโนโลยี
ขั้นสูงรวมถึง คุณภาพ ประสิทธิภาพ และรวมไปถึงงานด้านการวิเคราะห์วิจัยบางอย่าง ต้องใช้
สินค้าที่มีประสิทธิภาพเท่านั้น ทำาให้ผู้ประกอบการในต่างประเทศมีจำานวนมาก ผู้จัดจำาหน่าย
สินค้าเกี่ยวกับสินค้าทางด้านวิทยาศาสตร์ ส่วนใหญ่ จึงมีทางเลือกในการสั่งซื้อ สินค้าดังกล่าว
ได้จากหลายแหล่ง ทำาให้อำานาจในการต่อรองกับ Supplier ในตลาดอยู่ในระดับตำ่า
§ อำานาจต่อรองของ Buyers (+)
ปัจจุบัน ลูกค้า เริ่มหันมาให้ความสนใจ ผลิตภัณฑ์ทางด้านเครื่องมือวิทยาศาสตร์ มาก
ขึ้น เนื่องจากหลายๆ ปัจจัย ซึ่งหากมองจากประโยชน์ ในด้านราคาเพียงอย่างเดียว ลูกค้าจะมี
ทางเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่มีจำาหน่ายอยู่ได้มากมายหลายระดับราคา ทั้งประเภทที่มีและไม่มี
ตราสินค้า ซึ่งอำานาจการต่อรองของผู้บริโภคสูงมาก สภาวะของผู้จำาหน่ายแต่ละราย อาจเป็น
เพียงตัวเลือกหนึ่งในหลายๆ ตัวเลือกที่ผู้บริโภค มีอยู่เท่านั้น แต่ถ้าหากลูกค้าต้องการซื้อสินค้าที่
ต้องนำามาใช้กับงานเฉพาะ ลูกค้าอาจจะต้องทำาการออกแบบและผลิตสินค้าขึ้นมาเพื่อใช้เอง
บางครั้งเป็นการลองผิดลองถูก ถ้าปัจจุบัน ลูกค้าที่มีความสามารถประเภทดังกล่าว มีอยู่เพียงไม่
กี่กลุ่ม ดังนั้นทางเลือกของลูกค้า จึงมีน้อยและมีวงจำากัด ซึ่งทำาให้การใช้เครื่องมือหรือ
ผลิตภัณฑ์ทางด้านวิทยาศาสตร์ ที่ผลิตในประเทศ ยังไม่แพร่หลาย
§ แนวโน้มการเกิดคู่แข่งขันรายใหม่ (-)
เ นื่อ ง จ า ก สิน ค้า ป ร ะ เ ภ ท นี้มี Profit margin สูง แ ม้ปัจ จุบัน ผู้ผ ลิต แ ล ะ
จำาหน่าย ทั้งบริษัทเล็กหรือบริษัทใหญ่ จะยังไม่เน้น คุณภาพ และประสิทธิภาพใน
การนำาไปใช้งาน แต่ถ้าหากมีผู้เข้ามาปลุกกระแสในเรื่องนี้ ให้ลูกค้าได้รับรู้ โอกาส
ที่ผู้ผลิตและจัดจำาหน่ายรายเดิมจะหันกลับมาเน้นคุณประโยชน์ในเรื่องนี้ ก็เป็นไป
ได้สูง อีกทั้งคู่แข่งรายใหม่ ๆ ที่จะเข้ามาในตลาดจะเพิ่มอย่างรวดเร็ว เพราะวัตถุดิบ
ในการผลิตนั้น สามารถหาซื้อได้จากหลาย ๆ แหล่งผลิต ทำา ให้คู่แข่งรายใหม่
สามารถเข้าตลาดได้โดยง่าย สถานการณ์ ดังกล่าวจะส่งผลทำาให้เกิดสงครามราคา
จนทำาให้ Profit margin ลดลง
§ สินค้านำาเข้าจากต่างประเทศที่มีราคาถูก ทดแทนสินค้าที่มีราคาแพง (-)
การเน้นสินค้าที่มีราคาถูก และทดแทนการนำาเข้าสินค้าที่มีราคาแพงมา
จากต่างประเทศ โดยเฉพาะจากประเทศแถบยุโรป ทำาให้ความต้องการในการใช้
งานสินค้าในประเทศ มีการกำาหนดวัตถุประสงค์ในการนำาไปใช้งาน ชัดเจนมากยิ่ง
ขึ้น ทำา ให้ราคาใกล้เคียงกับสินค้าที่นำา เข้ามาจากประเทศแถบเอเชีย เช่น จีน
เป็นต้น ราคาสินค้าที่ผลิตในประเทศกับราคาสินค้าที่นำาเข้าจากต่างประเทศมีราคา
ที่ใกล้เคียงกัน และรวมไปถึงคุณภาพและประสิทธิภาพ ไม่แตกต่างกัน แต่ความแตก
ต่างที่สำาคัญ ที่ทำาให้สินค้าที่ผลิตในประเทศมีความชัดเจน มากที่สุด คือ การบริการ
หลังการขาย และรวมไปถึงการรับประกันคุณภาพของสินค้า รวมทั้งการรับสอบ
เทียบเครื่องมือในกรณีที่ลูกค้า ต้องการนำามาตรฐานของสินค้าไปใช้ในการทำางาน
ตารางเปรียบเทียบผลิตภัณฑ์ของคู่แข่งหลัก
กลุ่มบริษัทคู่แข่ง
ปัจจัยเปรียบเทียบ
ก ลุ่ ม
จำา ห น่ า ย
เ ค รื่ อ ง มื อ
ทั่วไป
กลุ่มเครื่องมือ
ท า ง ก า ร
แพทย์
กลุ่มเครื่องมือ
เฉพาะด้าน
กลุ่มเครื่อง
มือการผลิต
1.ชื่อเสียงของบริษัท   
2. กลุ่มเครื่องมือ/ลักษณะ
เครื่องมือ
  
3. ความหลากหลายของ
ผลิตภัณฑ์
 
4. ร ะ บ บ ม า ต ร ฐ า น
ผลิตภัณฑ์ (ISO)
  
5. คุณสมบัติพิเศษ /ข้อ
แตกต่าง
  
6. ค ว า ม ส า ม า ร ถ ที่
เพิ่ม(สอบเทียบ)
 
7. ช่ อ ง ท า ง ก า ร จั ด
จำาหน่าย
   
8. การบริการหลังการ
ขาย
   
9. โ ซ น บ ริก า ร ห รือ
สำานักงานสาขา
   
10. อื่น ๆ (มีโ ร ง ง า น
ผลิตเอง)
 
จากข้อมูลข้างต้นแสดงให้เห็น มีกลุ่มงานที่เกี่ยวข้อง อยู่ 4 กลุ่ม แต่ละกลุ่ม
จะมีผลิตภัณฑ์ที่คล้ายคลึงกัน บางบริษัท เป็นผู้ผลิตโดยตรง และบางบริษัทเป็นผู้จัด
จำาหน่าย หรือทั้งผลิตและจัดจำาหน่าย และแต่ละบริษัทพยายามสร้างจุดขายของตัว
เอง เช่น บริษัทเป็นผู้ผลิตโดยตรง เป็นสินค้าทดแทนการนำาเข้า เป็นสินค้าที่ผลิตใน
ประเทศราคาถูก เป็นต้น เพื่อให้ได้เปรียบจากคู่แข่งขัน แต่สืบเนื่องจาก กลุ่มบริษัท
เหล่านั้น มักจะทำาตลาดเหมือน ๆ กัน ดังนั้นความแตกต่าง ๆ ของแต่ละบริษัท จึงไม่
ชัดเจน เพราะไม่มีรายใดที่ทำาตลาดอย่างจริงจังทางด้านนี้โดยเฉพาะ ทำาให้ตลาด
สินค้าที่ผลิตในประเทศ ไม่มีผู้นำาตลาดในปัจจุบัน
คู่แข่งทางอ้อม
สิน ค้า ที่นำา เ ข้า จ า ก ป ร ะ เ ท ศ แ ถ บ เ อ เ ชีย เ ป็น สิน ค้า ท ด แ ท น ก า ร ผ ลิต ใ น
ประเทศ Local made product เพราะเป็นสินค้าราคาถูก ชูจุดขายโดยที่ ต้นทุน
การผลิตตำ่า เพราะแรงงานถูก อีกทั้งการนำาเข้าก็ไม่ได้มีอะไรยุ่งยากมาก เพราะ
เป็นการค้าตลาดเสรี แต่สินค้าเหล่านั้นบางตัวไม่มีคุณภาพ รวมถึงการบริการหลัง
การขาย เพราะกา รรับประกันยัง ไม่ครอ บคลุม ทุกกรณี ตลอดจ นความ รู้ควา ม
สามารถในการบำารุงดูแลรักษาของตัวแทนจำาหน่าย ทำาให้ ลูกค้าเกิดความไม่มั่นใจ
ในตัวสินค้า ดังนั้น การนำาไปใช้งาน จึงถูกจัดอยู่ในวงจำากัด เมื่อนำามาเปรียบเทียบ
กั บ สิ น ค้ า ที่ ผ ลิ ต โ ด ย ค น ไ ท ย
by jjsciencelab co.,ltd.
October 2005

More Related Content

Similar to บทวิเคราะห์สภาพการแข่งขันสินค้าในประเทศ

Documents from applicants to submit
Documents from applicants to submitDocuments from applicants to submit
Documents from applicants to submitwalaiphorn
 
02 การพัฒนาระบบนวัตกรรมของไทย ศ นพ สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ วช
02 การพัฒนาระบบนวัตกรรมของไทย ศ นพ สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ วช02 การพัฒนาระบบนวัตกรรมของไทย ศ นพ สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ วช
02 การพัฒนาระบบนวัตกรรมของไทย ศ นพ สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ วชKant Weerakant Drive Thailand
 
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่supatra39
 
Scribe book กลุ่มที่ 1
Scribe book  กลุ่มที่ 1Scribe book  กลุ่มที่ 1
Scribe book กลุ่มที่ 1TangMo Sweet
 
ปัจจัยที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์ โตโยต้า นิว วิออส ของผู้บริโภค...
ปัจจัยที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์ โตโยต้า นิว วิออส ของผู้บริโภค...ปัจจัยที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์ โตโยต้า นิว วิออส ของผู้บริโภค...
ปัจจัยที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์ โตโยต้า นิว วิออส ของผู้บริโภค...นางสาวสุธาสิน? ศีรทำมา
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อTeetut Tresirichod
 
Thai-Japan : Management of Technology
Thai-Japan : Management of TechnologyThai-Japan : Management of Technology
Thai-Japan : Management of Technologypantapong
 
Innovation and new product development
Innovation and new product developmentInnovation and new product development
Innovation and new product developmentmaruay songtanin
 
Presentattion slide1
Presentattion slide1Presentattion slide1
Presentattion slide1suthaising
 

Similar to บทวิเคราะห์สภาพการแข่งขันสินค้าในประเทศ (20)

Energy
EnergyEnergy
Energy
 
Energy
EnergyEnergy
Energy
 
Energy
EnergyEnergy
Energy
 
Energy
EnergyEnergy
Energy
 
Introgecon
IntrogeconIntrogecon
Introgecon
 
Documents from applicants to submit
Documents from applicants to submitDocuments from applicants to submit
Documents from applicants to submit
 
02 การพัฒนาระบบนวัตกรรมของไทย ศ นพ สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ วช
02 การพัฒนาระบบนวัตกรรมของไทย ศ นพ สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ วช02 การพัฒนาระบบนวัตกรรมของไทย ศ นพ สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ วช
02 การพัฒนาระบบนวัตกรรมของไทย ศ นพ สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ วช
 
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
 
Scribe book กลุ่มที่ 1
Scribe book  กลุ่มที่ 1Scribe book  กลุ่มที่ 1
Scribe book กลุ่มที่ 1
 
Energy
EnergyEnergy
Energy
 
Toyota Hybird
Toyota HybirdToyota Hybird
Toyota Hybird
 
Fighting brand future
Fighting brand futureFighting brand future
Fighting brand future
 
ปัจจัยที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์ โตโยต้า นิว วิออส ของผู้บริโภค...
ปัจจัยที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์ โตโยต้า นิว วิออส ของผู้บริโภค...ปัจจัยที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์ โตโยต้า นิว วิออส ของผู้บริโภค...
ปัจจัยที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์ โตโยต้า นิว วิออส ของผู้บริโภค...
 
Brand equity 2
Brand equity 2Brand equity 2
Brand equity 2
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
 
Thai-Japan : Management of Technology
Thai-Japan : Management of TechnologyThai-Japan : Management of Technology
Thai-Japan : Management of Technology
 
Case Study : Customer Centric & Lead User
Case Study : Customer Centric & Lead UserCase Study : Customer Centric & Lead User
Case Study : Customer Centric & Lead User
 
Tu tot1
Tu tot1Tu tot1
Tu tot1
 
Innovation and new product development
Innovation and new product developmentInnovation and new product development
Innovation and new product development
 
Presentattion slide1
Presentattion slide1Presentattion slide1
Presentattion slide1
 

บทวิเคราะห์สภาพการแข่งขันสินค้าในประเทศ

  • 1. บทวิเคราะห์สภาพการแข่งขันสินค้าในประเทศ (Five Force Model) อุปสรรคของสินค้าหรือบริการทดแทน อำานาจการต่อรองของผู้ขายวัตถุดิบ อุปสรรคของผู้เข้ามาใหม่ อำานาจการต่อรองของผู้ซื้อ ผลิตภัณฑ์ทางด้านวิทยาศาสตร์ ที่ผลิตในประเทศ เป็นผลิตภัณฑ์ที่เกิด ขึ้นมาช่วงระยะเวลาหนึ่งแล้ว แต่ไม่มีบริษัทใด ทำา ให้เป็นระบบเพื่อเข้าสู่ตลาด เครื่องมือทางด้านวิทยาศาสตร์อย่างแท้จริง ผู้บริโภคยังมีProduct Awareness ตำ่า และมีคู่แข่งขันในตลาดเพียงไม่กี่ราย ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตในประเทศ จึงเป็นผลิตภัณฑ์ ที่มีแนวโน้มที่ดี จะเห็นว่าในช่วงที่ผ่านมา ผู้ประกอบการที่เข้าสู่ตลาดมีน้อยราย เมื่อพิจารณา ในแง่ของการลงทุนและเทคโนโลยีในการผลิตสินค้านั้น การผลิต สินค้าในปัจจุบัน จะเป็นการลงทุนที่ค่อนข้างตำ่า และมีเทคโนโลยีในการผลิตไม่ซับ ซ้อน จึงมีการลอกเลียนแบบกันได้ง่าย เป็นอุตสาหกรรมที่มี Barrier to Entry ตำ่า อย่างไรก็ตาม ระบบมาตรฐานของการนำาเครื่องมือ ไปใช้งาน ตลอดจนมาตรฐาน การผลิต ก็มีผลในการผลิตมากขึ้น ทำาให้ผู้ประกอบการในธุรกิจนี้ มีความยุ่งยาก ในการผลิตและจัดจำาหน่าย สินค้าในกลุ่มดังกล่าว 2. Rivalry Among Established Companies การแข่งขันกับคู่แข่งกับระดับตรายี่ห้อ ยังไม่รุนแรงมากนัก เนื่องจาก ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตภายในประเทศ เป็นสินค้าทดแทนการนำาเข้า และมีผู้ผลิตน้อยราย ไม่มีผู้ผลิตรายใดเป็นเจ้าตลาด เนื่องจากผู้ประกอบการเป็นรายเล็ก มีกำาลังการผลิต ไม่มากนัก การกระจายสินค้าเป็นลักษณะการ พ่วงขาย ซึ่งทำาให้ตลาดมีช่องว่างอีก มาก ช่วยให้การแข่งขันไม่รุนแรงมากเหมือนสินค้าที่นำาเข้ามาจากต่างประเทศ 3. The Bargaining power of Buyers แม้ว่าต ลาดผ ลิต ภัณฑ์เครื่อง มือ วิทยา ศา สต ร์ ที่ผลิตใ นประเทศ จะมีผู้ ประกอบการรายเล็กๆ เพียงไม่กี่ราย แต่ตัวผลิตภัณฑ์ ยังไม่ได้รับความนิยมจากผู้ บริโภคมากนัก เพราะผู้บริโภคยังให้ความสำา คัญกับสินค้า ที่นำา เข้า มาจากต่าง ประเทศ ความคุ้นเคยกับตรายี่ห้อ การคำานึงถึงมาตรฐานของผลิตภัณฑ์ ตลอดจน แหล่งผู้ผลิตจากต่างประเทศ ทำาให้ลูกค้าต้องพิจารณา เป็นกรณี ๆ ไป 4. The Bargaining Power of Supplier เนื่องจาก ผลิตภัณฑ์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ที่ผลิตหรือประกอบภายในประเทศ จะใช้ วัตถุดิบ ที่มีอยู่ภายในประเทศ ส่วนอุปกรณ์และอะไหล่ บางตัวนำาเข้ามาจากต่างประเทศ และ อุปกรณ์หรืออะไหล่เหล่านี้ ถ้าหากมีการผลิตในปริมาณมาก สามารถจัดซื้อจัดหาได้ในราคาตำ่า กว่าท้องตลาดทั่วไป รวมถึงอำานาจในการต่อรอง ของบริษัทผู้ผลิต เพื่อให้สามารถซื้ออุปกรณ์ และอะไหล่ในราคาตำ่าได้
  • 2. 5. The Threat of Substitute Products เนื่องจากผลิตภัณฑ์ที่ผลิตในประเทศ กลุ่มลูกค้า ยังมองว่าเป็นผลิตภัณฑ์ ที่มีคุณภาพตำ่า อาจจะยังไม่เหมาะหากนำามาใช้ในด้านการทดลองหรือการวิเคราะห์ ที่ค่อนข้างจะเน้นในด้านประสิทธิภาพ รวมถึงคุณสมบัติและรายละเอียดของสินค้า ก็ค่อนข้างจะใกล้เคียงกัน ทั้งในด้านราคาก็มีระดับที่เท่ากัน หรือมีความแตกต่างกัน น้อยมาก จึงเป็นอุปสรรคต่อผลิตภัณฑ์ที่ผลิตในประเทศ ในการทำาตลาดค้อนข้าง มาก 2.2 โอกาสทางธุรกิจ การเข้าสู่ตลาดผลิตภัณฑ์ที่ผลิตในประเทศทางด้านวิทยาศาสตร์ ในช่วงนี้นับ เป็น โอกาสอันดีของบริษัท เห็นได้จากแนวโน้ม การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของภูมิภาค นโยบาย ของรัฐบาล ซึ่งถ้ามองโดยภาพรวม ยังมีโอกาสขยายตัวอีกมาก ถึงแม้ว่าผู้ผลิตจะมีอำานาจในการ ต่อรองตำ่าและผู้ซื้อมีอำานาจในการต่อรองสูง แต่ตลาดก็มี Barrier to Entry และภาวะ การ แข่งขันที่ตำ่า คือมีจำานวนคู่แข่งไม่ถึง 10 ราย ซึ่งแต่ละราย ยังไม่ทำาตลาดอย่างจริงจัง และ แต่ละรายยังเป็นการขายสินค้าแบบพ่วงขาย จึงทำาให้ไม่มีรายใดสามารถครองตลาดส่วนใหญ่ ได้ ซึ่งลูกค้าจะมี Brand Awareness ตำ่าเนื่องจากการทำาตลาดที่ผ่านๆมา แต่ละบริษัทมีการส่ง เสริมการตลาดน้อย ดังนั้นบริษัทจึงเริ่มสร้าง Brand Awareness โดยเน้นการส่งเสริมการตลาด เพื่อกระตุ้นและจูงใจ ให้ผู้บริโภค หันมาใช้ผลิตภัณฑ์ของบริษัท • Local made product เป็นผลิตภัณฑ์ท้างด้านวิทยาศาสตร์ ที่ประกอบและผลิต ภายในประเทศ ใช้เป็นสินค้าทดแทนการนำาเข้า โดย ทั่วๆ ไป เป็นเครื่องมือสำาหรับใช้ในงาน ด้านการวิเคราะห์ การวิจัย และในขณะนี้ตลาดทางด้านเครื่องมือทางด้านวิทยาศาสตร์ จะมีการ เปลี่ยนแปลงทางในด้านความต้องการของผู้บริโภคเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นความต้องการ ใน การใช้งานเฉพาะ ความต้องการในการใช้งานที่ครอบคลุม ตลอดจน การสนับสนุนตามนโยบาย ของรัฐบาล รวมถึงแนวโน้มการเติบโตทางด้านเศรษฐกิจ • มี Gross margin สูงถึง 00 % • คู่แข่งผลิตภัณฑ์ Local made product ในปัจจุบัน ยังไม่ได้ทำาตลาดอย่างเติมที่ รวมไปถึงการสร้างตรา สินค้า แต่เป็นเพียงสินค้าที่ทดแทนการนำาเข้า จากต่างประเทศเท่านั้น สำาหรับการจัดจำาหน่ายที่ผ่านๆมา เป็นการขายในลักษณะ สินค้าพ่วงขาย โดยที่ไม่ได้เน้นตลาด อย่างจริงจัง จึงทำาให้ไม่มีรายใดที่เป็นเจ้าตลาดอย่างแท้จริง • ประเทศไทยเป็นประเทศกำาลังพัฒนา รวมถึงมีอัตราการเติบโตทางด้านเศรษฐกิจ อย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันนี้มีงานทางด้านการวิจัยและการพัฒนาเกิดขึ้นใหม่ๆ หลายโครงการ ไม่ว่า จะเป็นทางด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม งานโครงการเหล่านี้ล้วนแล้วแต่ ต้องมีการนำาเครื่องมือ เครื่องจักร มาใช้ของทุกโครงการ รวมถึงสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ ทางด้านวิทยาศาสตร์
  • 3. นอกจากสินค้าที่ใช้สำาหรับการวิเคราะห์ ซึ่งโดยมาก จะเป็นสินค้าที่มีขนาดเล็กถึงขนาด กลาง แต่ทางบริษัทยังมีสินค้าขนาดใหญ่ สำาหรับการผลิตโดยเฉพาะ เช่น โครงการกระบวนการ แปรรูป สินค้าทางด้านเกษตร ครบวงจร เป็นต้นเหล่านี้ ทางบริษัท มีสินค้าครอบคลุม ทุก กระบวนการตั้งแต่ เริ่ม จนครบทุกกระบวน เพื่อรองรับงาน โดยเฉพาะ 3. การวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด 3.1 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมระดับมหภาค § ด้านเศรษฐกิจและนโยบายของรัฐ สภาพเศรษฐกิจที่ตกตำ่า รวมถึงการเปลี่ยนแปลงค่าเงิน ของต่างประเทศ ทำาให้สินค้าที่ นำาเข้ามาจำาหน่าย ในประเทศมีต้นทุนที่สูงขึ้น ดังนั้นสินค้าที่ผลิตในประเทศ จะมีต้นทุนที่ตำ่า และ โดยรวมมีแนวโน้มที่จะขยายตัวเพิ่มขึ้น สวนกระแส โดยมีปัจจัยสนับสนุนที่สำาคัญ คือ 1. ภาครัฐมีนโยบายสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาสินค้าที่ผลิตภายในประเทศ และ กำาหนดเป็นนโยบาย ให้หน่วยงานของรัฐ เปิดโอกาสในการเลือกใช้สินค้าที่ผลิตในประเทศ โดยมีแนวทางดังนี้ “ก่อนที่จะซื้อสินค้าทางด้านวิทยาศาสตร์ จากต่างประเทศนั้นให้ หน่วยงาน พิจารณาสินค้าที่ผลิตในประเทศ ก่อนว่า สินค้าชนิดนั้น มีคุณสมบัติหรือข้อกำาหนดที่สามารถนำา มาใช้งานได้หรือไม่ ถ้ามีให้พิจารณาสินค้าดังกล่าวเป็นอันดับแรกก่อน “ จากนโยบายดังกล่าว ทำาให้ตลาดสินค้าที่ผลิตในประเทศ มีโอกาสเติบโตอย่างต่อเนื่อง 2. สภาพเศรษฐกิจ ที่กำาลังเริ่มฟื้นตัวของประเทศ รวมถึงการเพิ่มขึ้นของค่าเงิน ใน ต่างประเทศ ทำาให้ลูกค้า หันมามองผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่ภายในประเทศ เพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย รวม ถึงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่ผลิตในประเทศ ในหลายๆ ผลิตภัณฑ์ สามารถทดแทนกันได้ § ด้านสังคมและวัฒนธรรม (Social and Cultural Environment) สภาพสังคมและวัฒนธรรม ในประเทศ เริ่มมีการเปลี่ยนแปลง ไปในทิศทาง ที่เอื้อ ประโยชน์ต่อการเติบโต ของตลาดสินค้าที่ผลิตในประเทศ โดยพิจารณาจากแนวโน้มสำาคัญ ที่ เกิดขึ้นในปัจจุบัน ได้แก่ กระแสความนิยมสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ที่ประกอบในประเทศ ปัจจุบันผู้บริโภค เริ่มหันมาให้ความสนใจผลิตภัณฑ์ที่ประกอบในประเทศ กันมากขึ้น อาจจะด้วยจากหลายๆ ปัจจัย เช่น กระแสความนิยม นโยบายของรัฐ ตลอดจนประสิทธิภาพที่มีการปรับปรุงพัฒนา ของ ผลิตภัณฑ์เหล่านั้น กระแสความจำา เป็นในการนำา ไปใช้งาน ปัจจุบันสินค้าบางตัวคุณภาพ และ ประสิทธิภาพ จะมีความใกล้เคียงกับสินค้าที่นำาเข้ามาจากต่างประเทศ ดังนั้นลูกค้าจึงหันมามอง
  • 4. คุณภาพและประสิทธิภาพจากการนำามาใช้งานจริงๆ โดยหันมามองในด้านราคากับคุณภาพการ ใช้งาน ที่สมเหตุ สมผล ดังนั้น กระแสความนิยมในสินค้าที่ผลิตภายในประเทศ จึงเป็นที่ยอมรับ ของลูกค้ามากยิ่งขึ้น 3.2 โครงสร้างตลาดและสภาพอุตสาหกรรม 3.2.1 โครงสร้างตลาด เมื่อพิจารณาข้อมูลทางการตลาด ในปัจจุบัน ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตและประกอบภายใน ประเทศ ในเมืองไทยนั้น จะพบว่ามีลักษณะ Fragmented อย่างเด่นชัด โดยมีบริษัทรายใหญ่ๆ 2-3 บริษัท ที่มีกิจกรรมกระทำาทั้ง 2 ด้าน โดยมีทั้งกิจกรรมด้านการผลิตและกิจกรรมด้านการจัด จำาหน่าย ควบคู่กันไป และในตลาดยังมีผู้ประกอบการราย ย่อยอีกเป็นจำานวนมาก ซึ่งบริษัท เหล่านี้เป็นบริษัท ที่ทำาการผลิตและรับจ้างผลิต แบบไม่มีตราสินค้า รวมถึงการกำาหนดมาตรฐาน ที่เกี่ยวข้องในด้านการผลิต โครงสร้างตลาดเช่นนี้ทำาให้ การประมาณขนาดตลาดในประเทศ ที่แท้จริงนั้น ทำาได้ค่อนข้างยาก แต่ถ้าหากจะดูจากยอดจำาหน่ายจากรายใหญ่ๆ แล้ว พบว่า ตลาดมีการเติบโตเป็นอย่างมาก ซึ่งปีที่ผ่านมาตลาดเครื่องมือทางด้านวิทยาศาสตร์มีมูลค่าไม่ตำ่า กว่า 80,000 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม การทำาตลาด Local made product ในปัจจุบันนั้น เป็นการทำาตลาดใน ลักษณะสินค้าพ่วงขาย หรือสินค้าแถม โดยไม่มีการทำาตลาดที่มีศักยภาพ โดยชี้ให้เห็น ประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ ในประเทศ อย่างจริงจัง และรวมไปถึงผลิตภัณฑ์ที่มีขนาดใหญ่ ซึ่ง เกี่ยวข้องในด้านการผลิต แต่ถ้าหากมีการเผยแพร่และขยายผลไปให้ครอบคลุม รวมถึงการ สร้างตลาดให้มีศักยภาพ เพื่อขยายเข้าสู่ตลาดเครื่องมือในด้านการผลิต แทนสินค้าที่มีเฉพาะใน ด้านการวิจัย ซึ่งขนาดตลาดโดยรวม ไม่ตำ่ากว่า 100,000 ล้านบาท 3.2.2 สภาพอุตสาหกรรมของสินค้า Local made product § อำานาจต่อรองของ Supplier (+) วัตถุดิบ ที่สำาคัญของอุตสาหกรรมการผลิต สินค้าในประเทศนี้ สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ ดังนี้ คือ ส่วนที่เป็นโครงตู้ (Structure) กับส่วนที่เป็นอุปกรณ์ประเภทอะไหล่สำา หรับ ประกอบ ( part) ซึ่งเป็นวัตถุดิบมีทั้งที่ผลิตภายในประเทศและเป็นการนำาเข้าจากต่างประเทศ แต่ เนื่องจากปัญหาเรื่องคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ที่ผลิตในประเทศยังไม่ค่อยสมำ่าเสมอ ตลอดจน มาตรฐานในการผลิต เพราะเป็นสินค้าที่มีผลค้อนข้างมาก ในด้านมาตรฐานสินค้า ทำาให้ ผลิตภัณฑ์หรือสินค้าที่จำา หน่ายอยู่ในท้องตลาด ส่วนใหญ่เป็นการนำา เข้ามาจากต่าง ประเทศ และด้วยเรื่องที่ว่า สินค้าหรือผลิตภัณฑ์ทางด้านวิทยาศาสตร์ เป็นเรื่องของเทคโนโลยี ขั้นสูงรวมถึง คุณภาพ ประสิทธิภาพ และรวมไปถึงงานด้านการวิเคราะห์วิจัยบางอย่าง ต้องใช้
  • 5. สินค้าที่มีประสิทธิภาพเท่านั้น ทำาให้ผู้ประกอบการในต่างประเทศมีจำานวนมาก ผู้จัดจำาหน่าย สินค้าเกี่ยวกับสินค้าทางด้านวิทยาศาสตร์ ส่วนใหญ่ จึงมีทางเลือกในการสั่งซื้อ สินค้าดังกล่าว ได้จากหลายแหล่ง ทำาให้อำานาจในการต่อรองกับ Supplier ในตลาดอยู่ในระดับตำ่า § อำานาจต่อรองของ Buyers (+) ปัจจุบัน ลูกค้า เริ่มหันมาให้ความสนใจ ผลิตภัณฑ์ทางด้านเครื่องมือวิทยาศาสตร์ มาก ขึ้น เนื่องจากหลายๆ ปัจจัย ซึ่งหากมองจากประโยชน์ ในด้านราคาเพียงอย่างเดียว ลูกค้าจะมี ทางเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่มีจำาหน่ายอยู่ได้มากมายหลายระดับราคา ทั้งประเภทที่มีและไม่มี ตราสินค้า ซึ่งอำานาจการต่อรองของผู้บริโภคสูงมาก สภาวะของผู้จำาหน่ายแต่ละราย อาจเป็น เพียงตัวเลือกหนึ่งในหลายๆ ตัวเลือกที่ผู้บริโภค มีอยู่เท่านั้น แต่ถ้าหากลูกค้าต้องการซื้อสินค้าที่ ต้องนำามาใช้กับงานเฉพาะ ลูกค้าอาจจะต้องทำาการออกแบบและผลิตสินค้าขึ้นมาเพื่อใช้เอง บางครั้งเป็นการลองผิดลองถูก ถ้าปัจจุบัน ลูกค้าที่มีความสามารถประเภทดังกล่าว มีอยู่เพียงไม่ กี่กลุ่ม ดังนั้นทางเลือกของลูกค้า จึงมีน้อยและมีวงจำากัด ซึ่งทำาให้การใช้เครื่องมือหรือ ผลิตภัณฑ์ทางด้านวิทยาศาสตร์ ที่ผลิตในประเทศ ยังไม่แพร่หลาย § แนวโน้มการเกิดคู่แข่งขันรายใหม่ (-) เ นื่อ ง จ า ก สิน ค้า ป ร ะ เ ภ ท นี้มี Profit margin สูง แ ม้ปัจ จุบัน ผู้ผ ลิต แ ล ะ จำาหน่าย ทั้งบริษัทเล็กหรือบริษัทใหญ่ จะยังไม่เน้น คุณภาพ และประสิทธิภาพใน การนำาไปใช้งาน แต่ถ้าหากมีผู้เข้ามาปลุกกระแสในเรื่องนี้ ให้ลูกค้าได้รับรู้ โอกาส ที่ผู้ผลิตและจัดจำาหน่ายรายเดิมจะหันกลับมาเน้นคุณประโยชน์ในเรื่องนี้ ก็เป็นไป ได้สูง อีกทั้งคู่แข่งรายใหม่ ๆ ที่จะเข้ามาในตลาดจะเพิ่มอย่างรวดเร็ว เพราะวัตถุดิบ ในการผลิตนั้น สามารถหาซื้อได้จากหลาย ๆ แหล่งผลิต ทำา ให้คู่แข่งรายใหม่ สามารถเข้าตลาดได้โดยง่าย สถานการณ์ ดังกล่าวจะส่งผลทำาให้เกิดสงครามราคา จนทำาให้ Profit margin ลดลง § สินค้านำาเข้าจากต่างประเทศที่มีราคาถูก ทดแทนสินค้าที่มีราคาแพง (-) การเน้นสินค้าที่มีราคาถูก และทดแทนการนำาเข้าสินค้าที่มีราคาแพงมา จากต่างประเทศ โดยเฉพาะจากประเทศแถบยุโรป ทำาให้ความต้องการในการใช้ งานสินค้าในประเทศ มีการกำาหนดวัตถุประสงค์ในการนำาไปใช้งาน ชัดเจนมากยิ่ง ขึ้น ทำา ให้ราคาใกล้เคียงกับสินค้าที่นำา เข้ามาจากประเทศแถบเอเชีย เช่น จีน เป็นต้น ราคาสินค้าที่ผลิตในประเทศกับราคาสินค้าที่นำาเข้าจากต่างประเทศมีราคา ที่ใกล้เคียงกัน และรวมไปถึงคุณภาพและประสิทธิภาพ ไม่แตกต่างกัน แต่ความแตก ต่างที่สำาคัญ ที่ทำาให้สินค้าที่ผลิตในประเทศมีความชัดเจน มากที่สุด คือ การบริการ
  • 6. หลังการขาย และรวมไปถึงการรับประกันคุณภาพของสินค้า รวมทั้งการรับสอบ เทียบเครื่องมือในกรณีที่ลูกค้า ต้องการนำามาตรฐานของสินค้าไปใช้ในการทำางาน ตารางเปรียบเทียบผลิตภัณฑ์ของคู่แข่งหลัก กลุ่มบริษัทคู่แข่ง ปัจจัยเปรียบเทียบ ก ลุ่ ม จำา ห น่ า ย เ ค รื่ อ ง มื อ ทั่วไป กลุ่มเครื่องมือ ท า ง ก า ร แพทย์ กลุ่มเครื่องมือ เฉพาะด้าน กลุ่มเครื่อง มือการผลิต 1.ชื่อเสียงของบริษัท    2. กลุ่มเครื่องมือ/ลักษณะ เครื่องมือ    3. ความหลากหลายของ ผลิตภัณฑ์   4. ร ะ บ บ ม า ต ร ฐ า น ผลิตภัณฑ์ (ISO)    5. คุณสมบัติพิเศษ /ข้อ แตกต่าง    6. ค ว า ม ส า ม า ร ถ ที่ เพิ่ม(สอบเทียบ)   7. ช่ อ ง ท า ง ก า ร จั ด จำาหน่าย     8. การบริการหลังการ ขาย     9. โ ซ น บ ริก า ร ห รือ สำานักงานสาขา    
  • 7. 10. อื่น ๆ (มีโ ร ง ง า น ผลิตเอง)   จากข้อมูลข้างต้นแสดงให้เห็น มีกลุ่มงานที่เกี่ยวข้อง อยู่ 4 กลุ่ม แต่ละกลุ่ม จะมีผลิตภัณฑ์ที่คล้ายคลึงกัน บางบริษัท เป็นผู้ผลิตโดยตรง และบางบริษัทเป็นผู้จัด จำาหน่าย หรือทั้งผลิตและจัดจำาหน่าย และแต่ละบริษัทพยายามสร้างจุดขายของตัว เอง เช่น บริษัทเป็นผู้ผลิตโดยตรง เป็นสินค้าทดแทนการนำาเข้า เป็นสินค้าที่ผลิตใน ประเทศราคาถูก เป็นต้น เพื่อให้ได้เปรียบจากคู่แข่งขัน แต่สืบเนื่องจาก กลุ่มบริษัท เหล่านั้น มักจะทำาตลาดเหมือน ๆ กัน ดังนั้นความแตกต่าง ๆ ของแต่ละบริษัท จึงไม่ ชัดเจน เพราะไม่มีรายใดที่ทำาตลาดอย่างจริงจังทางด้านนี้โดยเฉพาะ ทำาให้ตลาด สินค้าที่ผลิตในประเทศ ไม่มีผู้นำาตลาดในปัจจุบัน คู่แข่งทางอ้อม สิน ค้า ที่นำา เ ข้า จ า ก ป ร ะ เ ท ศ แ ถ บ เ อ เ ชีย เ ป็น สิน ค้า ท ด แ ท น ก า ร ผ ลิต ใ น ประเทศ Local made product เพราะเป็นสินค้าราคาถูก ชูจุดขายโดยที่ ต้นทุน การผลิตตำ่า เพราะแรงงานถูก อีกทั้งการนำาเข้าก็ไม่ได้มีอะไรยุ่งยากมาก เพราะ เป็นการค้าตลาดเสรี แต่สินค้าเหล่านั้นบางตัวไม่มีคุณภาพ รวมถึงการบริการหลัง การขาย เพราะกา รรับประกันยัง ไม่ครอ บคลุม ทุกกรณี ตลอดจ นความ รู้ควา ม สามารถในการบำารุงดูแลรักษาของตัวแทนจำาหน่าย ทำาให้ ลูกค้าเกิดความไม่มั่นใจ ในตัวสินค้า ดังนั้น การนำาไปใช้งาน จึงถูกจัดอยู่ในวงจำากัด เมื่อนำามาเปรียบเทียบ กั บ สิ น ค้ า ที่ ผ ลิ ต โ ด ย ค น ไ ท ย by jjsciencelab co.,ltd. October 2005