SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
รายวิชา ส33102 สังคมศึกษา 12 
เรื่อง การประสานประโยชน์ 
เสนอ 
อ.ปรางค์สุวรรณ ศักด์ิโสภณกุล 
จัดทาโดย 
นางสาวปารียา จีนประดับ ม.6.1 เลขที่ 14 
นางสาวพรทิวา เหลาสา ม.6.1 เลขที่ 47 
ปีการศึกษา 2557 
โรงเรียนสตรีวิทยา
องค์การค้าโลก 
(Wolrd Trade Organization-WTO) 
องค์การการค้าโลก ( WTO ) เป็นองค์การนานาชาติสังกัดองค์การ 
สหประชาชาติ(UN) ทา หน้าที่เกี่ยวข้องกับข้อตกลงทางด้านการค้าระหว่างชาติ 
เป็นเวทีสา หรับการเจรจาต่อรอง ตกลงและขจัดข้อขัดแย้งในเงื่อนไขและ 
กฎเกณฑ์ทางการค้าและการบริการระหว่างประเทศสมาชิก
องค์การค้าโลก 
(World Trade Organization-WTO) 
เกิดจากประเทศสมาชิก 85 ประเทศ ของข้อตกลงทั่วไปเกี่ยวกับอัตราภาษี 
ศุลกากรและการค้าหรือแกตต์ (General Agreement on Tariffs and Trade-GATT) 
ร่วมกันเจรจาทางการค้ารอบอุรุกวัย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเจรจาลดอัตราภาษี 
ศุลกากรระหว่างประเทศ และเจรจาเกี่ยวกับมาตรการด้านการค้า
องค์การค้าโลก 
(World Trade Organization-WTO) 
เริ่มปฎิบัติงาน ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ.1995 ปัจจุบันมีสมาชิกรวม 
159 ประเทศ และมีสา นักงานใหญ่อยู่ที่กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ 
ประเทศไทยได้เข้าเป็นสมาชิกเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ.1982 ในขณะที่ 
ยังเป็นแกตต์อยู่ และได้ผูกพันอัตราภาษีศุลกากรไว้ 93 รายการ เพื่อเป็นการ 
แลกเปลี่ยนสิทธิประโยชน์ที่ประเทศศสมาชิกอื่นผูกพันไว้ด้วย
องค์การค้าโลก 
(World Trade Organization-WTO) 
ผลประโยชน์ที่ไทยได้รับจากการเข้าร่วม คือ 
1. มีหลักประกันทางการค้าระหว่างประเทศ 
2. ได้รับประโยชน์ตามสิทธิและสิทธิพิเศษ - WTO ให้สิทธิพิเศษแก่ประเทศกา ลัง 
พัฒนา ไทยจึงได้รับสิทธินั้นด้วย 
3. ได้ขยายการค้า - การลดภาษีนา เข้า ทา ให้ไทยส่งออกได้มากขึ้น 
4. ได้รับความช่วยเหลือทางวิชาการ 
5. มีเวทีสาหรับร้องเรียนและเจรจาเพื่อแก้ไขปัญหาและอุปสรรคทางการค้าระหว่าง 
ประเทศ
การประชุมรัฐมนตรีองค์การการค้าโลก (WTO) ครั้งที่ 8 
ที่กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ระหว่างวันที่ 14-18 ธ.ค. พ.ศ.2554
Organization of Petroleum 
Exporting Countries :OPEC
ประวัติความเป็นมา 
• โอเปก(OPEC) เป็นองค์กร 
ระหว่างประเทศ โดยเกิด 
จากการร่วมกลุ่มประเทศ 
สมาชิก 5 ประเทศ ได้แก่ 
• อิหร่าน อิรัก คูเวต 
ซาอุดีอาระเบีย และ 
เวเนซุเอลา 
• ปัจจุบันมีประเทศสมาชิก 
ทั้งหมด 11 ประเทศ 
เพื่อเป็นตัวกลางประสานงาน 
ด้านนโยบายน้า มันระหว่าง 
ประเทศผู้ผลิตน้า มัน 
สร้างความมั่นคงให้กับ 
ประเทศผู้ผลิตปิโตรเลียม และ 
รักษาระดับราคา ปริมาณการ 
ผลิต 
ให้เป็นธรรม และเพียงพอต่อ 
การส่งออกสู่ตลาดโลก
ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับกลุ่มโอเปก 
• ทางด้านการค้า ไทยมีการซื้อขายน้ามันกับกลุ่มโอเปก 
โดยเฉพาะประเทศโอมาน สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และ 
ซาอุดิอาระเบีย และมีส่งสินค้าส่งออกแก่กลุ่มประเทศเหล่านี้ 
หลักๆคือ ข้าวโพด ข้าว เสื้อผ้า เครื่องแต่งกายและเครื่องหนัง 
• ด้านแรงงาน แต่หลังจากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ชาวไทยที่ไป 
ทางานก็ลดจานวนลงจนเกือบไม่มีเลย 
• ด้านการเมือง 
• ด้านอื่นๆ เช่นการกู้เงินเป็นต้น
ประวัติความเป็นมา 
ผู้เชี่ยวชาญด้าน 
เศรษฐกิจของฝรั่งเศส 
ชอง มอนเน 
เสนอให้มีการร่วมมือ 
ระหว่างฝรั่งเศสกับ 
เยอรมนีเพื่อแก้ไข 
ปัญหาเศรษฐกิจของ 
ยุโรปหลัง 
สงครามโลก 
รัฐมนตรีต่างประเทศ 
โรแบร์ชูมอง 
ของฝรั่งเศส 
แผนการ 
ชูมอง 
องค์การทางเศรษฐกิจ 
ระหว่างประเทศที่มีอา นาจ 
ควบคุมเหนือรัฐซึ่งได้รับ 
การยอมรับจากเยอรมนี 
ตะวันตก อิตาลี และ 
กลุ่มประเทศเบเนลักซ์ 
เบลเลียม 
เนเธอร์แลนด์ 
ลักเซมเบิร์ก
ประวัติความเป็นมา 
ประชาคมถ่านหินและ 
เหล็กกล้ายุโรป (ECSC) 
สหภาพยุโรป (EU) 
ประขาคมเศรษฐกิจยุโรป 
(EEC) 
ประชาคมปรมาณูยุโรป 
(EU RATOM) 
ประชาคมยุโรป (EC) 
เริ่มเปิดรับสมาชิกเพิ่มขึ้น 
เรื่อยๆ แต่การเปิดรับ 
สมาชิกนั้นก็สร้างปัญหา 
แก่องค์การพอสมควร ทา 
ให้กลุ่มประชาคมยุโรป 
ปรับปรุงโครงสร้างให้เกิด 
ความมั่นคงมากขึ้น 
จัดประชุมขึ้นที่เมือง 
มาสตริกต์ ทา ให้เกิด 
สหภาพยุโรปขึ้น โดย 
สนธิสัญญามาสตริกต์
สหภาพยุโรป (European Union) 
โครงสร้าง องค์กรหลัก 
• ประชาคมยุโรป (EC) 
• นโยบายร่วมด้านการ 
ต่างประเทศและความ 
มั่นคง(CFSP) 
• ความร่วมมือด้านกิจกรรม 
ยุติธรรมและกิจการภายใน 
(JHA) 
• สถาบันการเงินแห่งยุโรป 
(European Monetary Institute) 
• คณะรัฐมนตรีแห่งสหภาพยุโรป 
(The Council of the European 
Union) 
• ธนาคารกลางยุโรป 
(The European Central Bank)
ผลกระทบจากการรวมยุโรป 
• ก่อให้เกิดดุลอา นาจทางการเมืองและเศรษฐกิจในโลกระหว่างอเมริกา เอเชีย 
และยุโรป โดยเฉพาะการแข่งขันเจราจาต่อรองทางด้านการค้าระหว่างกลุ่ม 
ประเทศทางเศรษฐกิจ 
• ประเทศต่างๆที่เคยติดต่อสัมพันธ์กับประเทศยุโรปต้องปรับนโยบายรับมือกับ 
มาตรการของสหภาพยุโรป โดยเฉพาะมาตรการกีดกันทางการค้า 
• การรับกลุ่มประเทศตะวันออกเป็นสมาชิกทา ให้สหภาพยุโรปต้องมีอาณาเขต 
ติดกับบางประเทศในกลุ่มสหภาพโซเวียตเดิม อันอาจนา มาซึ่งปัญหาด้าน 
ความมั่นคงและปัญหาทางสังคม เช่น ปัญหาคนหลบหนีเข้าเมือง ปัญหา 
อาชญากรรม
สมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรปหรือเอฟตา 
(European Free Trade Association-EFTA) 
เป็นการรวมตัวทางเศรษฐกิจของประเทศในยุโรปตะวันตกที่ไม่พอใจการ 
ดา เนินงานของสหภาพยุโรปและมีจุดประสงค์ คือ การปฏิรูประบบการค้าสินค้า 
อุตสาหกรรมในกลุ่มประเทศภาคีสมาชิก โดยการกา หนดวิธีการและแนวทาง 
ปฏิบัติทางด้านรายการสินค้าและภาษีศุลกากร 
เอฟตาก่อตั้งขึ้น เมื่อปีค.ศ.1960 ปัจจุบันมีสมาชิก 4 ประเทศ คือ นอร์เวย์ 
สวิตเซอร์แลนด์ ลิกเตนสไตน์ และ ไอซ์แลนด์
สมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรปหรือเอฟตา 
(European Free Trade Association-EFTA) 
ในทวีปยุโรป ไทยค้าขายกับเอฟตาเป็นอันดับ 2 รองจากลุ่มสหภาพยุโรป 
สินค้าที่ไทยส่งออกไปยังเอฟตา ได้แก่ เครื่องประดับและโลหะมีค่า นาฬิกา 
และส่วนประกอบ เสื้อผ้าสา เร็จรูป และอาหารทะเลกระป๋อง โดยเฉพาะประเทศ 
สวิตเซอร์แลนด์ที่มีทรัพยากรทางธรรมชาติน้อย ทา ให้วัตถุดิบในการผลิตอาหาร 
ไม่เพียงพอ จึงต้องนาเข้าจากไทยเป็นส่วนใหญ่ 
สินค้าที่ไทยนาเข้าจากเอฟตา ได้แก่ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ อุปกรณ์ 
การแพทย์ อุปกรณ์ถ่ายรูป อุปกรณ์ภาพยนตร์ ปุ๋ย และยานพาหนะทางบก
เขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือ หรือ นาฟตา 
(North America Free Trade Area-NAFTA) 
สหรัฐอเมริกา และแคนาดา ซึ่งเป็นประเทศขนาดใหญ่ในทวีปอเมริกาเหนือ 
ได้ตกลงทา สนธิสัญญาทวิภาคี เกี่ยวกับการค้าเสรี (Canada – US Free Trada 
Agreement) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1989 ต่อมาในช่วงปี ค.ศ. 1990 เม็กซิโกได้เข้ามาเป็น 
สมาชิกอีกประเทศหนึ่ง ทา ให้กลุ่ม NAFTA นี้มีประชากรรวมทั้งสิ้นประมาณ 
360 ล้านคน เป็นตลาดที่ค่อนข้างใหญ่กลุ่มหนึ่ง
เขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือ หรือ นาฟตา 
(North America Free Trade Area-NAFTA) 
สมาชิกทั้ง 3ประเทศ คือ สหรัฐอเมริกา แคนาดา และเม็กซิโก 
ได้มีการทา ข้อตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ เมื่อค.ศ. 1992 โดยข้อตกลงมีผลใช้ 
บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1994
เขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือ หรือ นาฟตา 
(North America Free Trade Area-NAFTA) 
การประกาศจัดตั้งนาฟตา ประเทศต่างๆมองว่าเป็นองค์กรที่กีดกันสินค้าจาก 
ทั่วโลก เพราะสินค้าอุตสาหกรรมที่สั่งเข้าจากประเทศสมาชิกเท่านั้นที่จะได้รับ 
สิทธิลดหย่อนภาษีศุลการกรและให้สิทธิพิเศษทางการค้า นอกจากนี้นาฟตายังมี 
นโยบายในการให้เงินอุดหนุนแก่สินค้าเกษตรกรรมที่ประเทศสมาชิกส่งออกไป 
จา หน่ายยังตลาดโลกด้วย
เขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือ หรือ นาฟตา 
(North America Free Trade Area-NAFTA) 
นาฟตาเกรงว่าการลดหย่อนภาษีศุลกากรระหว่างประเทศสมาชิกอาจทา ให้ 
เม็กซิโกเป็นศูนย์กลางการระบายสินค้าอุตสาหกรรมเข้าสู่ตลาดสหรัฐอเมริกา และ 
แคนาดา แต่เพราะนาฟตาเป็นองค์การที่เพิ่งก่อตั้งขึ้นมา จึงอยู่ในระยะการเจรจา 
เพื่อทา ความตกลงกัน 
ผลกระทบต่อประเทศไทย 
• ผลดี คือ ไทยจะขายสินค้าอุตสาหกรรมขนาดย่อมและสินค้าการเกษตรบางชนิด 
ได้มากขึ้นโดยใช้เม็กซิโกเป็นฐานการส่งออก 
• ผลเสีย คือ ขณะนี้สหรัฐอเมริกาเป็นตลาดการส่งออกที่สา คัญของไทย เมื่อก่อตั้ง 
นาฟตาแล้ว เม็กซิโกจะเป็นตลาดการนาเข้าแทนไทย
เขตการค้าเสรี ( Free Trade Area-FTA) 
หรือ ข้อตกลงการค้าเสรี ( Free Trade Agreement ) 
เป็นการทา ข้อตกลงระหว่างประเทศ 2 ประเทศขึ้นไป วัตถุประสงค์เพื่อที่จะ 
ลดอุปสรรคทางการค้าระหว่างกันให้เหลือน้อยที่สุด และเพื่อให้การค้าเป็นไปอย่าง 
เสรีและมีประสิทธิภาพ 
นอกจากนี้ ยังถูกใช้เป็นโอกาสในการขยายตลาดสินค้าเพื่อประเทศคู่ค้าและ 
สร้างความได้เปรียบในการค้า เพราะสินค้าที่นาเข้าจากประเทศสมาชิกจะถูกเก็บ 
ภาษีในอัตราที่ต่า กว่า
เขตการค้าเสรี ( Free Trade Area-FTA) 
หรือ ข้อตกลงการค้าเสรี ( Free Trade Agreement ) 
นโยบายการค้าเสรี (Free Trade Policy) มีรากฐานมาจากทฤษฎีการ 
ได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ (The Theory of Comparative Advantage) ที่เสนอว่า 
“แต่ละประเทศควรจะเลือกผลิตแต่เฉพาะสินค้าที่ตนมีต้นทุนการผลิตได้เปรียบ 
โดยเปรียบเทียบมากที่สุด แล้วนาสินค้าที่ผลิตได้นั้นไปแลกเปลี่ยนกับสินค้าที่ 
ประเทศอื่นมีต้นทุนการผลิตได้เปรียบ โดยแต่ละประเทศจะเลือกผลิตเฉพาะสินค้า 
ที่เมื่อเปรียบกับสินค้าอื่นแล้ว ประเทศตนสามารถผลิตได้ด้วยต้นทุนที่ต่า ที่สุด แล้ว 
นา มาแลกเปลี่ยนสินค้าที่ผลิตขึ้นกับอีกประเทศหนึ่ง”
เขตการค้าเสรี ( Free Trade Area-FTA) 
หรือ ข้อตกลงการค้าเสรี ( Free Trade Agreement ) 
รูปแบบเขตการค้าเสรีแบ่งได้ 2 ชนิดคือ 
1. สหภาพศุลกากร (Custom Union) หมายถึง การรวมตัวกันทางเศรษฐกิจในระดับ 
ที่ลึกและกว้างกว่าเขตการค้าเสรี เพราะมีลักษณะที่เป็นตลาดร่วม (Single Market) 
ซึ่งเก็บภาษีศุลกากรอัตราเดียวกัน (Common Level) กับทุกประเทศนอกกลุ่ม จึง 
ทา ให้ประเทศในกลุ่มมีสภาพเป็นเสมือนประเทศเดียวกันหรือตลาดเดียวกัน 
สหภาพศุลกากรที่สาคัญ คือ สหภาพยุโรป (European Union) และ 
MERCOSUR (ตลาดร่วมอเมริกาใต้ตอนล่าง)
เขตการค้าเสรี ( Free Trade Area-FTA) 
หรือ ข้อตกลงการค้าเสรี ( Free Trade Agreement ) 
2. พันธมิตรทางเศรษฐกิจ (Closer Economic Partnership: CEP) 
หมายถึง ความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่มีการพัฒนารูปแบบไปจากที่เคยมีมา โดยมี 
กรอบความร่วมมือที่กว้างขวางกว่าเขตการค้าเสรี โดยทั่วไป CEP ครอบคลุม 
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจทั้งในด้านการค้า สินค้า บริการและการลงทุน
เขตการค้าเสรี ( Free Trade Area-FTA) 
หรือ ข้อตกลงการค้าเสรี ( Free Trade Agreement ) 
ปัจจุบันประเทศไทยทา ข้อตกลงเขตการค้าเสรีกับประเทศต่างๆ โดยมี 
วัตถุประสงค์ คือ การขยายตัวการค้าขายในตลาดสินค้าเดิม และเปิดตลาดสินค้า 
ใหม่ให้กับการส่งออก ยังทา ให้สินค้าที่เข้ามาในไทยมีราคาถูกลง ในขณะเดียวกัน 
สินค้าที่ผลิตในประเทศก็ต้องปรับลดราคา และปรับปรุงคุณภาพให้สามารถแข่งขัน 
กับสินค้าภายนอกได้ แต่อาจทา ให้ผู้ผลิตภายในประเทศบางรายที่ไม่สามารถปรับ 
แข่งขันกับสินค้าภายนอกได้ถูกทา ลาย รัฐบาลจึงต้องหานโยบายคุ้มครองผู้ผลิต 
เหล่านี้ด้วย
เขตการค้าเสรี ( Free Trade Area-FTA) 
หรือ ข้อตกลงการค้าเสรี ( Free Trade Agreement ) 
ในปัจจุบันไทยได้ทา ข้อตกลงเขตการค้าเสรีกับประเทศต่างๆที่มีผลบังคับใช้แล้ว ดังนี้ 
• ในนามประเทศไทย 
– เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) - จัดตั้งปี 2535 
– ไทย - อินเดีย (ITFTA) - มีผลเริ่มลดภาษีรายการสินค้าเร่งลดภาษีเบื้องต้น 82 รายการ (Early 
Harvest Scheme) 1 กันยายน 2547 - ลดภาษีเป็น 0 วันที่ 1 กันยายน 2549 
– ไทย - ออสเตรเลีย (TAFTA) - มีผลใช้บังคับ 1 มกราคม 2548 
– ไทย - นิวซีแลนด์ (TNZCEP) - มีผลใช้บังคับ 1 กรกฎาคม 2548 
– ไทย - ญี่ปุ่น (JTEPT) - มีผลใช้บังคับ 1 พฤศจิกายน 2550 
– ไทย - เปรู - มีผลเริ่มลดภาษีรายการสินค้าเร่งลดภาษีเบื้องต้น (Early Harvest Scheme) 19 
พฤศจิกายน 2548 
– ไทย - ชิลี - ลงนาม 4 ตุลาคม 2556
เขตการค้าเสรี ( Free Trade Area-FTA) 
หรือ ข้อตกลงการค้าเสรี ( Free Trade Agreement ) 
• ในนามอาเซียน 
– อาเซียน - จีน (ACFTA) - ลงนาม 29 พฤศจิกายน 2547 
– อาเซียน - ญี่ปุ่น (AJCEP) - ลงนาม 11 เมษายน 2551 
– อาเซียน - เกาหลีใต้ (AKFTA) - ลงนาม 27 กุมภาพันธ์ 2552 
– อาเซียน - ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ (AANZFTA) - ลงนาม 27 กุมภาพันธ์ 2552 
– อาเซียน - อินเดีย (AIFTA) - ลงนาม 13 สิงหาคม 2552

More Related Content

What's hot

ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติnaleesaetor
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมFemale'PiAtip BoOn Paeng
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2Wichai Likitponrak
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายSantichon Islamic School
 
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาบทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาThammasat University
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงานPhanuwat Somvongs
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2Taraya Srivilas
 
Power point ped.1
Power point  ped.1Power point  ped.1
Power point ped.1juckit009
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกPannaray Kaewmarueang
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพOrnkapat Bualom
 
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมเรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมjariya namwichit
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 

What's hot (20)

ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติ
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาบทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
Power point ped.1
Power point  ped.1Power point  ped.1
Power point ped.1
 
หน่วย 2
หน่วย 2หน่วย 2
หน่วย 2
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
 
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมเรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 

Similar to ม.6.1 การประสานประโยชน์ : wtoถึงเขตการค้าเสรี (14,47)

การประสานประโยชน์
การประสานประโยชน์การประสานประโยชน์
การประสานประโยชน์Pareeya Jeenpradab
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่thnaporn999
 
Book 50 คำถาม
Book 50 คำถามBook 50 คำถาม
Book 50 คำถามsammychimrueng
 
ความก้าวหน้าด้านการค้าและการพัฒนาของประเทศสมาชิก WTO:กรณีศึกษาของประเทศไทย
ความก้าวหน้าด้านการค้าและการพัฒนาของประเทศสมาชิก WTO:กรณีศึกษาของประเทศไทยความก้าวหน้าด้านการค้าและการพัฒนาของประเทศสมาชิก WTO:กรณีศึกษาของประเทศไทย
ความก้าวหน้าด้านการค้าและการพัฒนาของประเทศสมาชิก WTO:กรณีศึกษาของประเทศไทยDr.Choen Krainara
 
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯเอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯthnaporn999
 
ความก้าวหน้าด้านการค้าและการพัฒนาของประเทศสมาชิกองค์การการค้าโลก : กรณีศึกษาข...
ความก้าวหน้าด้านการค้าและการพัฒนาของประเทศสมาชิกองค์การการค้าโลก : กรณีศึกษาข...ความก้าวหน้าด้านการค้าและการพัฒนาของประเทศสมาชิกองค์การการค้าโลก : กรณีศึกษาข...
ความก้าวหน้าด้านการค้าและการพัฒนาของประเทศสมาชิกองค์การการค้าโลก : กรณีศึกษาข...Dr.Choen Krainara
 
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศMacro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศOrnkapat Bualom
 
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRINopporn Thepsithar
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศthnaporn999
 
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศjanejaneneee
 
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศjanejaneneee
 
Pretiontation Doc
Pretiontation DocPretiontation Doc
Pretiontation Docmaovkh
 
ปตท จำกัด(มหาชน)
ปตท จำกัด(มหาชน)ปตท จำกัด(มหาชน)
ปตท จำกัด(มหาชน)Love Plukkie Zaa
 
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)Love Plukkie Zaa
 

Similar to ม.6.1 การประสานประโยชน์ : wtoถึงเขตการค้าเสรี (14,47) (19)

การประสานประโยชน์
การประสานประโยชน์การประสานประโยชน์
การประสานประโยชน์
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
 
Book 50 คำถาม
Book 50 คำถามBook 50 คำถาม
Book 50 คำถาม
 
ความก้าวหน้าด้านการค้าและการพัฒนาของประเทศสมาชิก WTO:กรณีศึกษาของประเทศไทย
ความก้าวหน้าด้านการค้าและการพัฒนาของประเทศสมาชิก WTO:กรณีศึกษาของประเทศไทยความก้าวหน้าด้านการค้าและการพัฒนาของประเทศสมาชิก WTO:กรณีศึกษาของประเทศไทย
ความก้าวหน้าด้านการค้าและการพัฒนาของประเทศสมาชิก WTO:กรณีศึกษาของประเทศไทย
 
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯเอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
 
ความก้าวหน้าด้านการค้าและการพัฒนาของประเทศสมาชิกองค์การการค้าโลก : กรณีศึกษาข...
ความก้าวหน้าด้านการค้าและการพัฒนาของประเทศสมาชิกองค์การการค้าโลก : กรณีศึกษาข...ความก้าวหน้าด้านการค้าและการพัฒนาของประเทศสมาชิกองค์การการค้าโลก : กรณีศึกษาข...
ความก้าวหน้าด้านการค้าและการพัฒนาของประเทศสมาชิกองค์การการค้าโลก : กรณีศึกษาข...
 
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศMacro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
 
test2
test2test2
test2
 
SME
SMESME
SME
 
AEC for SME Thailand
AEC for SME ThailandAEC for SME Thailand
AEC for SME Thailand
 
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ
 
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
 
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
 
CSR and Labor
CSR and LaborCSR and Labor
CSR and Labor
 
Pretiontation Doc
Pretiontation DocPretiontation Doc
Pretiontation Doc
 
ปตท จำกัด(มหาชน)
ปตท จำกัด(มหาชน)ปตท จำกัด(มหาชน)
ปตท จำกัด(มหาชน)
 
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
 

ม.6.1 การประสานประโยชน์ : wtoถึงเขตการค้าเสรี (14,47)

  • 1. รายวิชา ส33102 สังคมศึกษา 12 เรื่อง การประสานประโยชน์ เสนอ อ.ปรางค์สุวรรณ ศักด์ิโสภณกุล จัดทาโดย นางสาวปารียา จีนประดับ ม.6.1 เลขที่ 14 นางสาวพรทิวา เหลาสา ม.6.1 เลขที่ 47 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนสตรีวิทยา
  • 2.
  • 3.
  • 4. องค์การค้าโลก (Wolrd Trade Organization-WTO) องค์การการค้าโลก ( WTO ) เป็นองค์การนานาชาติสังกัดองค์การ สหประชาชาติ(UN) ทา หน้าที่เกี่ยวข้องกับข้อตกลงทางด้านการค้าระหว่างชาติ เป็นเวทีสา หรับการเจรจาต่อรอง ตกลงและขจัดข้อขัดแย้งในเงื่อนไขและ กฎเกณฑ์ทางการค้าและการบริการระหว่างประเทศสมาชิก
  • 5. องค์การค้าโลก (World Trade Organization-WTO) เกิดจากประเทศสมาชิก 85 ประเทศ ของข้อตกลงทั่วไปเกี่ยวกับอัตราภาษี ศุลกากรและการค้าหรือแกตต์ (General Agreement on Tariffs and Trade-GATT) ร่วมกันเจรจาทางการค้ารอบอุรุกวัย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเจรจาลดอัตราภาษี ศุลกากรระหว่างประเทศ และเจรจาเกี่ยวกับมาตรการด้านการค้า
  • 6. องค์การค้าโลก (World Trade Organization-WTO) เริ่มปฎิบัติงาน ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ.1995 ปัจจุบันมีสมาชิกรวม 159 ประเทศ และมีสา นักงานใหญ่อยู่ที่กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ประเทศไทยได้เข้าเป็นสมาชิกเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ.1982 ในขณะที่ ยังเป็นแกตต์อยู่ และได้ผูกพันอัตราภาษีศุลกากรไว้ 93 รายการ เพื่อเป็นการ แลกเปลี่ยนสิทธิประโยชน์ที่ประเทศศสมาชิกอื่นผูกพันไว้ด้วย
  • 7. องค์การค้าโลก (World Trade Organization-WTO) ผลประโยชน์ที่ไทยได้รับจากการเข้าร่วม คือ 1. มีหลักประกันทางการค้าระหว่างประเทศ 2. ได้รับประโยชน์ตามสิทธิและสิทธิพิเศษ - WTO ให้สิทธิพิเศษแก่ประเทศกา ลัง พัฒนา ไทยจึงได้รับสิทธินั้นด้วย 3. ได้ขยายการค้า - การลดภาษีนา เข้า ทา ให้ไทยส่งออกได้มากขึ้น 4. ได้รับความช่วยเหลือทางวิชาการ 5. มีเวทีสาหรับร้องเรียนและเจรจาเพื่อแก้ไขปัญหาและอุปสรรคทางการค้าระหว่าง ประเทศ
  • 8. การประชุมรัฐมนตรีองค์การการค้าโลก (WTO) ครั้งที่ 8 ที่กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ระหว่างวันที่ 14-18 ธ.ค. พ.ศ.2554
  • 9. Organization of Petroleum Exporting Countries :OPEC
  • 10. ประวัติความเป็นมา • โอเปก(OPEC) เป็นองค์กร ระหว่างประเทศ โดยเกิด จากการร่วมกลุ่มประเทศ สมาชิก 5 ประเทศ ได้แก่ • อิหร่าน อิรัก คูเวต ซาอุดีอาระเบีย และ เวเนซุเอลา • ปัจจุบันมีประเทศสมาชิก ทั้งหมด 11 ประเทศ เพื่อเป็นตัวกลางประสานงาน ด้านนโยบายน้า มันระหว่าง ประเทศผู้ผลิตน้า มัน สร้างความมั่นคงให้กับ ประเทศผู้ผลิตปิโตรเลียม และ รักษาระดับราคา ปริมาณการ ผลิต ให้เป็นธรรม และเพียงพอต่อ การส่งออกสู่ตลาดโลก
  • 11. ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับกลุ่มโอเปก • ทางด้านการค้า ไทยมีการซื้อขายน้ามันกับกลุ่มโอเปก โดยเฉพาะประเทศโอมาน สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และ ซาอุดิอาระเบีย และมีส่งสินค้าส่งออกแก่กลุ่มประเทศเหล่านี้ หลักๆคือ ข้าวโพด ข้าว เสื้อผ้า เครื่องแต่งกายและเครื่องหนัง • ด้านแรงงาน แต่หลังจากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ชาวไทยที่ไป ทางานก็ลดจานวนลงจนเกือบไม่มีเลย • ด้านการเมือง • ด้านอื่นๆ เช่นการกู้เงินเป็นต้น
  • 12.
  • 13. ประวัติความเป็นมา ผู้เชี่ยวชาญด้าน เศรษฐกิจของฝรั่งเศส ชอง มอนเน เสนอให้มีการร่วมมือ ระหว่างฝรั่งเศสกับ เยอรมนีเพื่อแก้ไข ปัญหาเศรษฐกิจของ ยุโรปหลัง สงครามโลก รัฐมนตรีต่างประเทศ โรแบร์ชูมอง ของฝรั่งเศส แผนการ ชูมอง องค์การทางเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศที่มีอา นาจ ควบคุมเหนือรัฐซึ่งได้รับ การยอมรับจากเยอรมนี ตะวันตก อิตาลี และ กลุ่มประเทศเบเนลักซ์ เบลเลียม เนเธอร์แลนด์ ลักเซมเบิร์ก
  • 14. ประวัติความเป็นมา ประชาคมถ่านหินและ เหล็กกล้ายุโรป (ECSC) สหภาพยุโรป (EU) ประขาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC) ประชาคมปรมาณูยุโรป (EU RATOM) ประชาคมยุโรป (EC) เริ่มเปิดรับสมาชิกเพิ่มขึ้น เรื่อยๆ แต่การเปิดรับ สมาชิกนั้นก็สร้างปัญหา แก่องค์การพอสมควร ทา ให้กลุ่มประชาคมยุโรป ปรับปรุงโครงสร้างให้เกิด ความมั่นคงมากขึ้น จัดประชุมขึ้นที่เมือง มาสตริกต์ ทา ให้เกิด สหภาพยุโรปขึ้น โดย สนธิสัญญามาสตริกต์
  • 15. สหภาพยุโรป (European Union) โครงสร้าง องค์กรหลัก • ประชาคมยุโรป (EC) • นโยบายร่วมด้านการ ต่างประเทศและความ มั่นคง(CFSP) • ความร่วมมือด้านกิจกรรม ยุติธรรมและกิจการภายใน (JHA) • สถาบันการเงินแห่งยุโรป (European Monetary Institute) • คณะรัฐมนตรีแห่งสหภาพยุโรป (The Council of the European Union) • ธนาคารกลางยุโรป (The European Central Bank)
  • 16. ผลกระทบจากการรวมยุโรป • ก่อให้เกิดดุลอา นาจทางการเมืองและเศรษฐกิจในโลกระหว่างอเมริกา เอเชีย และยุโรป โดยเฉพาะการแข่งขันเจราจาต่อรองทางด้านการค้าระหว่างกลุ่ม ประเทศทางเศรษฐกิจ • ประเทศต่างๆที่เคยติดต่อสัมพันธ์กับประเทศยุโรปต้องปรับนโยบายรับมือกับ มาตรการของสหภาพยุโรป โดยเฉพาะมาตรการกีดกันทางการค้า • การรับกลุ่มประเทศตะวันออกเป็นสมาชิกทา ให้สหภาพยุโรปต้องมีอาณาเขต ติดกับบางประเทศในกลุ่มสหภาพโซเวียตเดิม อันอาจนา มาซึ่งปัญหาด้าน ความมั่นคงและปัญหาทางสังคม เช่น ปัญหาคนหลบหนีเข้าเมือง ปัญหา อาชญากรรม
  • 17.
  • 18. สมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรปหรือเอฟตา (European Free Trade Association-EFTA) เป็นการรวมตัวทางเศรษฐกิจของประเทศในยุโรปตะวันตกที่ไม่พอใจการ ดา เนินงานของสหภาพยุโรปและมีจุดประสงค์ คือ การปฏิรูประบบการค้าสินค้า อุตสาหกรรมในกลุ่มประเทศภาคีสมาชิก โดยการกา หนดวิธีการและแนวทาง ปฏิบัติทางด้านรายการสินค้าและภาษีศุลกากร เอฟตาก่อตั้งขึ้น เมื่อปีค.ศ.1960 ปัจจุบันมีสมาชิก 4 ประเทศ คือ นอร์เวย์ สวิตเซอร์แลนด์ ลิกเตนสไตน์ และ ไอซ์แลนด์
  • 19. สมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรปหรือเอฟตา (European Free Trade Association-EFTA) ในทวีปยุโรป ไทยค้าขายกับเอฟตาเป็นอันดับ 2 รองจากลุ่มสหภาพยุโรป สินค้าที่ไทยส่งออกไปยังเอฟตา ได้แก่ เครื่องประดับและโลหะมีค่า นาฬิกา และส่วนประกอบ เสื้อผ้าสา เร็จรูป และอาหารทะเลกระป๋อง โดยเฉพาะประเทศ สวิตเซอร์แลนด์ที่มีทรัพยากรทางธรรมชาติน้อย ทา ให้วัตถุดิบในการผลิตอาหาร ไม่เพียงพอ จึงต้องนาเข้าจากไทยเป็นส่วนใหญ่ สินค้าที่ไทยนาเข้าจากเอฟตา ได้แก่ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ อุปกรณ์ การแพทย์ อุปกรณ์ถ่ายรูป อุปกรณ์ภาพยนตร์ ปุ๋ย และยานพาหนะทางบก
  • 20.
  • 21. เขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือ หรือ นาฟตา (North America Free Trade Area-NAFTA) สหรัฐอเมริกา และแคนาดา ซึ่งเป็นประเทศขนาดใหญ่ในทวีปอเมริกาเหนือ ได้ตกลงทา สนธิสัญญาทวิภาคี เกี่ยวกับการค้าเสรี (Canada – US Free Trada Agreement) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1989 ต่อมาในช่วงปี ค.ศ. 1990 เม็กซิโกได้เข้ามาเป็น สมาชิกอีกประเทศหนึ่ง ทา ให้กลุ่ม NAFTA นี้มีประชากรรวมทั้งสิ้นประมาณ 360 ล้านคน เป็นตลาดที่ค่อนข้างใหญ่กลุ่มหนึ่ง
  • 22. เขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือ หรือ นาฟตา (North America Free Trade Area-NAFTA) สมาชิกทั้ง 3ประเทศ คือ สหรัฐอเมริกา แคนาดา และเม็กซิโก ได้มีการทา ข้อตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ เมื่อค.ศ. 1992 โดยข้อตกลงมีผลใช้ บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1994
  • 23. เขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือ หรือ นาฟตา (North America Free Trade Area-NAFTA) การประกาศจัดตั้งนาฟตา ประเทศต่างๆมองว่าเป็นองค์กรที่กีดกันสินค้าจาก ทั่วโลก เพราะสินค้าอุตสาหกรรมที่สั่งเข้าจากประเทศสมาชิกเท่านั้นที่จะได้รับ สิทธิลดหย่อนภาษีศุลการกรและให้สิทธิพิเศษทางการค้า นอกจากนี้นาฟตายังมี นโยบายในการให้เงินอุดหนุนแก่สินค้าเกษตรกรรมที่ประเทศสมาชิกส่งออกไป จา หน่ายยังตลาดโลกด้วย
  • 24. เขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือ หรือ นาฟตา (North America Free Trade Area-NAFTA) นาฟตาเกรงว่าการลดหย่อนภาษีศุลกากรระหว่างประเทศสมาชิกอาจทา ให้ เม็กซิโกเป็นศูนย์กลางการระบายสินค้าอุตสาหกรรมเข้าสู่ตลาดสหรัฐอเมริกา และ แคนาดา แต่เพราะนาฟตาเป็นองค์การที่เพิ่งก่อตั้งขึ้นมา จึงอยู่ในระยะการเจรจา เพื่อทา ความตกลงกัน ผลกระทบต่อประเทศไทย • ผลดี คือ ไทยจะขายสินค้าอุตสาหกรรมขนาดย่อมและสินค้าการเกษตรบางชนิด ได้มากขึ้นโดยใช้เม็กซิโกเป็นฐานการส่งออก • ผลเสีย คือ ขณะนี้สหรัฐอเมริกาเป็นตลาดการส่งออกที่สา คัญของไทย เมื่อก่อตั้ง นาฟตาแล้ว เม็กซิโกจะเป็นตลาดการนาเข้าแทนไทย
  • 25.
  • 26. เขตการค้าเสรี ( Free Trade Area-FTA) หรือ ข้อตกลงการค้าเสรี ( Free Trade Agreement ) เป็นการทา ข้อตกลงระหว่างประเทศ 2 ประเทศขึ้นไป วัตถุประสงค์เพื่อที่จะ ลดอุปสรรคทางการค้าระหว่างกันให้เหลือน้อยที่สุด และเพื่อให้การค้าเป็นไปอย่าง เสรีและมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ยังถูกใช้เป็นโอกาสในการขยายตลาดสินค้าเพื่อประเทศคู่ค้าและ สร้างความได้เปรียบในการค้า เพราะสินค้าที่นาเข้าจากประเทศสมาชิกจะถูกเก็บ ภาษีในอัตราที่ต่า กว่า
  • 27. เขตการค้าเสรี ( Free Trade Area-FTA) หรือ ข้อตกลงการค้าเสรี ( Free Trade Agreement ) นโยบายการค้าเสรี (Free Trade Policy) มีรากฐานมาจากทฤษฎีการ ได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ (The Theory of Comparative Advantage) ที่เสนอว่า “แต่ละประเทศควรจะเลือกผลิตแต่เฉพาะสินค้าที่ตนมีต้นทุนการผลิตได้เปรียบ โดยเปรียบเทียบมากที่สุด แล้วนาสินค้าที่ผลิตได้นั้นไปแลกเปลี่ยนกับสินค้าที่ ประเทศอื่นมีต้นทุนการผลิตได้เปรียบ โดยแต่ละประเทศจะเลือกผลิตเฉพาะสินค้า ที่เมื่อเปรียบกับสินค้าอื่นแล้ว ประเทศตนสามารถผลิตได้ด้วยต้นทุนที่ต่า ที่สุด แล้ว นา มาแลกเปลี่ยนสินค้าที่ผลิตขึ้นกับอีกประเทศหนึ่ง”
  • 28. เขตการค้าเสรี ( Free Trade Area-FTA) หรือ ข้อตกลงการค้าเสรี ( Free Trade Agreement ) รูปแบบเขตการค้าเสรีแบ่งได้ 2 ชนิดคือ 1. สหภาพศุลกากร (Custom Union) หมายถึง การรวมตัวกันทางเศรษฐกิจในระดับ ที่ลึกและกว้างกว่าเขตการค้าเสรี เพราะมีลักษณะที่เป็นตลาดร่วม (Single Market) ซึ่งเก็บภาษีศุลกากรอัตราเดียวกัน (Common Level) กับทุกประเทศนอกกลุ่ม จึง ทา ให้ประเทศในกลุ่มมีสภาพเป็นเสมือนประเทศเดียวกันหรือตลาดเดียวกัน สหภาพศุลกากรที่สาคัญ คือ สหภาพยุโรป (European Union) และ MERCOSUR (ตลาดร่วมอเมริกาใต้ตอนล่าง)
  • 29. เขตการค้าเสรี ( Free Trade Area-FTA) หรือ ข้อตกลงการค้าเสรี ( Free Trade Agreement ) 2. พันธมิตรทางเศรษฐกิจ (Closer Economic Partnership: CEP) หมายถึง ความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่มีการพัฒนารูปแบบไปจากที่เคยมีมา โดยมี กรอบความร่วมมือที่กว้างขวางกว่าเขตการค้าเสรี โดยทั่วไป CEP ครอบคลุม ความร่วมมือทางเศรษฐกิจทั้งในด้านการค้า สินค้า บริการและการลงทุน
  • 30. เขตการค้าเสรี ( Free Trade Area-FTA) หรือ ข้อตกลงการค้าเสรี ( Free Trade Agreement ) ปัจจุบันประเทศไทยทา ข้อตกลงเขตการค้าเสรีกับประเทศต่างๆ โดยมี วัตถุประสงค์ คือ การขยายตัวการค้าขายในตลาดสินค้าเดิม และเปิดตลาดสินค้า ใหม่ให้กับการส่งออก ยังทา ให้สินค้าที่เข้ามาในไทยมีราคาถูกลง ในขณะเดียวกัน สินค้าที่ผลิตในประเทศก็ต้องปรับลดราคา และปรับปรุงคุณภาพให้สามารถแข่งขัน กับสินค้าภายนอกได้ แต่อาจทา ให้ผู้ผลิตภายในประเทศบางรายที่ไม่สามารถปรับ แข่งขันกับสินค้าภายนอกได้ถูกทา ลาย รัฐบาลจึงต้องหานโยบายคุ้มครองผู้ผลิต เหล่านี้ด้วย
  • 31. เขตการค้าเสรี ( Free Trade Area-FTA) หรือ ข้อตกลงการค้าเสรี ( Free Trade Agreement ) ในปัจจุบันไทยได้ทา ข้อตกลงเขตการค้าเสรีกับประเทศต่างๆที่มีผลบังคับใช้แล้ว ดังนี้ • ในนามประเทศไทย – เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) - จัดตั้งปี 2535 – ไทย - อินเดีย (ITFTA) - มีผลเริ่มลดภาษีรายการสินค้าเร่งลดภาษีเบื้องต้น 82 รายการ (Early Harvest Scheme) 1 กันยายน 2547 - ลดภาษีเป็น 0 วันที่ 1 กันยายน 2549 – ไทย - ออสเตรเลีย (TAFTA) - มีผลใช้บังคับ 1 มกราคม 2548 – ไทย - นิวซีแลนด์ (TNZCEP) - มีผลใช้บังคับ 1 กรกฎาคม 2548 – ไทย - ญี่ปุ่น (JTEPT) - มีผลใช้บังคับ 1 พฤศจิกายน 2550 – ไทย - เปรู - มีผลเริ่มลดภาษีรายการสินค้าเร่งลดภาษีเบื้องต้น (Early Harvest Scheme) 19 พฤศจิกายน 2548 – ไทย - ชิลี - ลงนาม 4 ตุลาคม 2556
  • 32. เขตการค้าเสรี ( Free Trade Area-FTA) หรือ ข้อตกลงการค้าเสรี ( Free Trade Agreement ) • ในนามอาเซียน – อาเซียน - จีน (ACFTA) - ลงนาม 29 พฤศจิกายน 2547 – อาเซียน - ญี่ปุ่น (AJCEP) - ลงนาม 11 เมษายน 2551 – อาเซียน - เกาหลีใต้ (AKFTA) - ลงนาม 27 กุมภาพันธ์ 2552 – อาเซียน - ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ (AANZFTA) - ลงนาม 27 กุมภาพันธ์ 2552 – อาเซียน - อินเดีย (AIFTA) - ลงนาม 13 สิงหาคม 2552