SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
สภาวะสมดุลเคมี


               จัดทำำโดย
       นำงสำวพักตร์นภำ       รุ่งโรจน์




                  เสนอ
          คุณครูวีรพงษ์ บรรจง




รำยงำนนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชำเคมี(ว٤٠٢٢٢)
              ภำคเรียนที่١
  สำำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมุกดำหำร
           กระทรวงศึกษำธิกำร
คำำนำำ
ในปัจจุบันนี้กำรเรียนรู้เรื่องเคมีมีควำมสำำคัญมำก
ในชีวิตประจำำวัน มีเนื้อหำสำระสำำคัญ เช่นกำรผัน
กลับได้ ภำวะสมดุล เป็นต้น




พักตร์นภา   รุงโรจน์
              ่
สำรบัญ
เรื่อง                                     หน้ำ
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้
    1-2
ภาวะสมดุล                                       3-4
ความสำาพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของสารต่างๆ ณ ภาวะสมดุล
          5-6
การเปลี่ยนแปลงภาวะสมดุล
    7
หลักของเลอชาเตอลิเอ                                 ٨
٩-
เรื่อง สมดุลเคมี (Equilibrium)
เนื้อหำ(Content)
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้
ภาวะสมดุล
ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของสารต่างๆ ณ ภาวะสมดุล
การเปลี่ยนภาวะสมดุล
หลักของเลอชาเตอลิเอ
จุดประสงค์กำรเรียนรู้(Objective)
1.เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปฏิกิริยาที่ผันกลับได้ ภาวะสมดุล
และสมบัติของระบบ ณภาวะสมดุล
2.เพื่อให้นักเรียนมีทักษะสามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้น
ของ สารตั้งต้นกับสารผลิตภัณฑ์ ณ ภาวะสมดุล ตลอดจนคำานวณค่าคงที่สมดุล
และความเข้มข้นของสารต่างๆ ณ ภาวะสมดุล
3.เพื่อให้นักเรียนสามารถทราบถึงปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลและมีความเข้าใจ
ในการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเมื่อภาวะสมดุลของระบบถูกรบกวน
4.เพื่อให้นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับหลักของเลอชาเตอลิเอและมีความเข้าใจใน
การปรับตัวของระบบเมื่อมีการรบกวนสมดุลของระบบ
สมดุลเคมี (Eguilibrium)

นักเคมีมักพบปัญหาจากปฏิกิริยาเคมีใดๆว่า ผลิตภัณฑ์ที่ได้มักได้ไม่ถึง 100%
โดยอาจมีสาเหตุมาจากเทคนิคของการทดลอง หรือปฏิกิริยาเกิดไม่สมบูรณ์
จากหลักปริมาณสารสัมพันธ์จะพิจารณาว่า ในการเกิดปฏิกิริยาใดๆ ปฏิกิริยาต้อง
ดำาเนินไปจนสมบูรณ์กล่าวคือ เมื่อสารทำาปฏิกิริยากัน ปฏิกิริยาจะเกิดขึ้นจนกว่า
สารตั้งต้นสารใดสารหนึ่งหมดไป ปฏิกิริยาจึงจะหยุด
Ex 1.CaCO3(s)— CaO(s) + CO2(g)………………..(1)
CaO(s) + CO2(g)— CaCO3(s)…………………(2)
เมื่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า(Rate of forward Reaction) ปฏิกิริยา (1)เท่ากับ
อัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ(Rate of backward Reaction)ปฏิกิริยา(2) แล้วในขณะ
นั้นระบบมีสมบัติคงที่ เรียกว่า เกิดภาวะสมดุล(Equilibrium State)
กำรเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้
1. การเปลี่ยนแปลงที่เข้าสู่ภาวะสมดุล โดยระบบมิได้หยุดนิ่ง แต่จะมีการ
เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เรียกว่าสมดุลไดนามิก(Dynamic Equilibrium) ซึ่งเป็น
สมดุลที่โมเลกุลของสารในระบบยังคงมีการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้และเกิด
ขึ้นอยู่ตลอดเวลาในระบบปิด(Closed system)
2. ระบบจะดำาเนินเข้าสู้ภาวะสมดุลได้เอง โดยอัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า
เท่ากับอัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ
3. การดำาเนินเข้าสู่ภาวะสมดุลของระบบอาจเริ่มจากทางซ้ายหรือทางขวาก็ได้
Ex 2.PCl5(g) =PCl3(g) + Cl2(g)
ค่ำคงที่สมดุล
ในปฏิกิริยาเคมีใดๆ จะมีค่าคงที่ค่าหนึ่งซึ่งบอกให้ทราบถึงความสัมพันธ์ระหว่าง
ความเข้มข้น
ของสารต่างๆที่ภาวะสมดุล เรียกว่า ค่าคงที่สมดุล(Equilibrium Constant)
Ex 3.H2(g) + I2(g) =2HI(g) ที่ 4250C

  การทดลองที่         [N2]        [I2]    [HI]        K = [HI]2 / [H2][I2]
        1            4.565       0.738   13.54              54.79
        2            3.560       1.250   15.59              54.67
        3            2.253       2.336   16.85              54.14
        4            1.831       3.130   17.67              54.79
        5            0.479       0.479   3.531              54.35
        6            1.141       1.141   8.410              54.35


หมายเหตุ lab 1-4 ได้จากการรวมตัวชอง H2 และ I2
lab 5-6 ได้จากการสลายตัวของ HI

จากตารางสรุปได้ว่าไม่ว่าจะเริ่มต้นด้วยปริมาณสารเท่าใดก็ตาม อัตราส่วน
ระหว่างผลคูณของความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์แต่ละชนิดยกกำาลังด้วย
สัมประสิทธิ์บอกจำานวนโมลของผลิตภัณฑ์นั้นๆกับผลคูณของความเข้มข้นของ
สารตั้งต้นที่เหลือแต่ละชนิดยกกำาลังด้วยสัมประสิทธิ์บอกจำานวนโมลของสารที่
เหลือที่สภาวะสมดุลจะมีค่าคงที่เสมอเมื่ออุณหภูมิคงที่ เรียกว่า ค่ำคงที่สมดุล(k
)




K = [HI]2 / [H2][I2]

จลนศำสตร์เคมีและค่ำคงที่สมดุล
ค.ศ. 1866 C.M. Guldberg นักคณิตศาสตร์ประยุกต์ และ P .Waage นักเคมีได้เสนอ
“Law of mass action” กล่าวคือ “ อัตรำกำรเกิดปฏิกิริยำจะต้องเป็นปฏิภำค
กับควำมเข้มข้นของสำรตั้งต้นยกกำำลังด้วยสัมประสิทธิ์บอกจำำนวนโมล
ของสำรนั้นๆ”
Ex aA + bB —cC + dD
อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า
Ratef = kf[A]a[B]b………………..(1)
อัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ
Rater = kr [C]c[D]d………………..(2)
เมื่อระบบเข้าสู่สภาวะสมดุลจะได้
(1)=(2) kf[A]a[B]b = kr [C]c[D]d
เมื่อ kf/ kr = K
จะได้ K = [C]c[D]d/[A]a[B]b
หลักกำรใช้ค่ำคงที่สมดุล
1.เมื่ออุณหภูมิคงที่ ค่าคงที่สมดุล k จะมีค่าคงที่ และจะต้องอ้างถึงสมการหนึ่ง
สมการใดด้วยเสมอ เพราะถ้าเขียนสมการโดยใช้สัมประสิทธิ์ต่างกันไป ค่า k จะ
แตกต่างกันด้วย
Ex4. H2(g) + I2(g) =2HI(g)…………………………..(1)
K1 = [HI]2/[H2][I2]
2 x(1) 2H2(g) + 2 I2(g)= 4HI(g)
K2 = [HI]4/[H2]2[I2]2
K2 = K12
ดังนั้น ถ้าคูณสมการเดิมด้วย n ค่า K ใหม่เท่ากับ Kn เดิม
2.ถ้าเขียนสมการกลับกัน ค่า k ก็จะกลับกันด้วย
Ex 5. 2NO(g) + O2(g) =2NO2(g)……………………(2)
K1 =[NO2]2/[NO]2[O2]
ถ้าเขียนสมการกลับกัน
2NO2(g) =2NO(g) + O2(g)
K2 = [NO]2[O2] /[NO2]2
K2 = 1/K1
ดังนั้นถ้าเขียนสมการกลับกัน K ใหม่ = 1/K เดิม
2.ในกรณีที่ปฏิกิริยาเกิดขึ้นหลายๆขั้นตอน ค่า K ของปฏิกิริยารวม จะเท่ากับผล
คูณของค่า K ของปฏิกิริยาย่อยๆนั้น
Ex 6. 2NO(g) + O2(g) =2NO2(g)………………..(1)
2NO2(g) N2O4(g)…………………(2)
(1)+(2) ได้ 2NO(g) + O2(g) =N2O4(g)
K3 =K1.K2=[N2O4]/[NO2]2[O2]
การใช้ค่า K ในสมดุลเอกพันธ์ ซึ่งสารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์อยู่ในวัฏภาค
เดียวกัน เช่น
Ex 7. จากปฏิกิริยา aA + bB= cC +dD
Kc = [C]c [D]d /[A] a[B] b


Kp = PCc PDd / PAa PBb ; P = n/v RT

จาก Kp = Kc(RT) n ; n = (c+d)-(a+b)
ถ้า n = 0 จะได้ Kp = Kc(RT)0 ; Kp = Kc
Ex 8. N2(g) + 3H2(g) =2NH3(g)
Kc = [ NH3]2 /[ N2][ H2 ]3
หรือ Kp = ( P NH3)2/ (PN2)(PH2)3
การใช้ค่า K ในสมดุลวิวิธภัณฑ์ สารที่เป็นของแข็งกำาหนดให้มีค่าคงที่เท่ากับ 1
Ex 9. CaCO3(s) =CaO(s) + CO2(g)
Kc = [CO2] ; Kp = PCO2
กำรคำำนวณเกี่ยวกับค่ำคงที่สมดุล
Ex 10. จากปฏิกิริยา 2SO2(g) + O2(g)= 2SO3(g) ที่ 250 c
จงคำานวณหา Kc ที่สภาวะสมดุล (กำาหนด Kp = 2.5 x 1024 atm-1)
วิธีทำา จาก Kp = Kc(RT) n
Kc = Kp(RT)- n
Kc = (2.5 x 1024)(0.0821)(298)-(1)
= 6.2 x 1025 dm3 mol-1
Ex 11. เมื่อเติม ก๊าซ H2 และ I2 อย่างละ 0.5 mol ลงในภาชนะขนาด 2 dm3 ที่
อุณหภูมิ 520Oc เมื่อระบบเข้าสุ่ภาวะสมดุลจากการวิเคราะห์พบว่าภายในภาชนะ
ประกอบด้วยก๊าซ HI 0.06 mol จงคำานวณหาค่าคงที่สมดุล
วิธีทำา H2 (g) + I2(g) =2HI (g)
เริ่มต้น 0.25 0.25 -
เปลี่ยนแปลง 0.015 0.015 0.03
ที่สมดุล 0.235 0.235 0.03
K = [HI]2/[H2][I2]
= (0.03)2/(0.235)2
= 2 x 10-2
Ex 12. ที่อุณหภูมิหนึ่งก๊าซ HX 1.0 mol/dm3 สลายตัวได้ 20 % ดังสมการ
2HX =H2 + X2 จงคำานวณหาค่าคงที่สมดุล
วิธีทำา HX 1.0 mol/dm3 สลายตัวได้ 20 %
ดังนั้น HX สลายตัว= 20/100 X 1= 0.2 mol/dm3
2HX= H2 + X2
เริ่มต้น 1 - -
เปลี่ยนแปลง 0.2 0.1 0.1
ที่สมดุล 0.8 0.1 0.1
K =[H2][X2]/[HX]2
=(0.1)2/(0.8)2
=1.56 X 10-2
Ex 13. ก๊าซ N2 ทำาปฏิกิริยากับก๊าซ H2 ดังสมการ
3H2(g) + N2(g)= 2NH3(g) ที่อุณหภูมิ 400oC
ที่ภาวะสมดุลพบว่ามี N2 0.6mol/dm3 , H2 0.4 mol/dm3
และ NH3 0.14mol/dm3 จงคำานวณหาค่าคงที่สมดุล
K = [NH3]2/[H2]3[N2]
= (0.14)2/(0.6)(0.4)3
= 0.51

กำรเปลี่ยนภำวะสมดุล
ที่ภาวะสมดุลของปฏิกิริยาใดๆสมบัติต่างๆเช่น ความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์ที่เกิด
ขึ้นและความเข้มข้นของสารตั้งต้นที่เหลือจะมีค่าคงที่ ถ้ามีการเปลี่ยนแปลง
ปัจจัยบางอย่างขึ้น เช่น การเปลี่ยนความเข้มข้น อุณหภูมิ หรือความดัน อัตรา
การเกิดปฏิกิริยาจะเปลี่ยนแปลงไป โดยการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจะมีผลต่อ
ภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลได้แก่
1.การเปลี่ยนความเข้มข้น
2.การเปลี่ยนความดัน
3.การเปลี่ยนอุณหภูมิ



กำรเปลี่ยนควำมเข้มข้นของสำรกับภำวะสมดุล
Ex 14. ปฏิกิริยาระหว่าง Fe(NO3)3 กับ NH4 SCN
Fe3+(aq) + SCN-(aq)= [FeSCN]2+(aq)
นำ้าตาล ไม่มีสี สีแดงเลือดนก
ทำาการทดลองโดยแบ่งสารละลายออกเป็น 4 ส่วนดังนี้
1.เก็บไว้เปรียบเทียบ (blank)
2.เติม Fe(NO3)3 ลงไป ปรากฏว่าสีแดงเพิ่มขึ้น
3.เติม NH4 SCN ลงไปปรากฏว่าสีแดงเพิ่มขึ้น(มากกว่าส่วนที่ 1 แต่น้อยกว่าส่วนที่
2)
4.เติม Na2HPO4 ลงไป ปรากฏว่าสีแดงจางลงและมีตะกอนสีขาวเกิดขึ้น
จากการทดลองอธิบายได้ดังนี้
2.การเติม Fe(NO3)3 ลงไปเท่ากับเป็นการเพิ่ม Fe3+ซึ่งจะทำาปฏิกิริยากับ SCN- ที่
เหลืออยู่เกิดเป็น [FeSCN]2+ทำาให้สแดงเข้มขึ้น และ Fe3+ ที่เติมลงไปถูกใช้ไม่
                                  ี
หมด
3.การเติม NH4 SCN เท่ากับเป็นการเพิ่ม SCN-ซึ่งจะทำาปฏิกิริยากับ Fe3+ ที่เหลือ
อยู่เกิดเป็น [FeSCN]2+ ทำาให้สแดงเข้มขึ้นแต่สีจะน้อยกว่าส่วนที่ 2 เนื่องจาก
                              ี
SCN-ไม่มีสี
4.การเติม Na2HPO4 ลงไปเท่ากับเป็นการเพิ่ม HPO42- ที่จะไปดึง Fe3+เกิดเป็น
ตะกอนขาวของ FePO4 ทำาให้สแดงของสารลายจางลงกว่าเดิม
                                ี
Fe3+(aq) + 2 HPO42-(aq) =FePO4(s) + H2 PO4-(s)
จากตัวอย่างสรุปได้ว่า การเพิ่มหรือลดความเข้มข้นของสารจะมีผลทำาให้ภาวะ
สมดุลเปลี่ยนไปซึ่งที่สมดุลใหม่สมบัติของระบบจะแตกต่างไปจากสมดุลเดิม
กำรเปลี่ยนควำมดันของสำรกับภำวะสมดุล
Ex 15. ปฏิกิริยาการเตรียมก๊าซ NO2 ดังสมการ
Cu(s) + 4HNO3(aq)— Cu(NO3)2(aq) +2NO2(g) + 2H2O(l)
2NO2(g) =N2O4(g)
สีนำ้าตาลแดง ไม่มีสี

จากปฏิกิริยาถ้าเพิ่มความดันจะพบว่าสีของก๊าซในกระบอกฉีดยาเข้มขึ้นและ
ค่อยๆจางลงจนคงที่แต่ถ้าลดความดันจะพบว่าสีของสารละลายในกระบอกฉีดยา
จะจางลงและเข้มขึนจนคงที่จากตัวอย่างสรุปได้ว่าการเพิ่มหรือ
                    ้
ลดความดันของก๊าซจะมีผลทำาให้ภาวะสมดุลเปลี่ยนไปท่าสมดุลใหม่ สมบัติของ
ระบบจะแตกต่างไปจากสมดุลเดิม
กำรเปลี่ยนอุณหภูมิกับภำวะสมดุล
Ex 16 จากปฏิกิริยา 2NO2(g) =N2O4(g) +DH
สีนำ้าตาลแดง ไม่มีสี
จากปฏิกิริยา ถ้าเพิ่มอุณหภูมิโดยการให้ความร้อน จะพบว่าสีของก๊าซใน
กระบอกฉีดยาเข้มขึ้นแล้วคงที่ แต่ถ้าลดอุณหภูมิจะพบว่าสีของก๊าซในกระบอก
ฉีดยาจางลงแล้วคงที่
จึงสรุปได้ว่าการเพิ่มหรือลดอุณหภูมิของสาร จะมีผลทำาให้ภาวะสมดุลของระบบ
เปลี่ยนไป และทีสมดุลใหม่สมบัติของระบบจะแตกต่างไปจากสมดุลเดิม

ปี ค.ศ. 1884 เลอ ชาเตอลิเอ นักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศสได้ศึกษาค้นคว้าเกี่ยว
กับการ
เปลี่ยนแปลงภาวะสมดุลของปฏิกิริยาต่างๆและได้ข้อสรุปว่า ‘เมือระบบที่อยู่ใน
                                                           ่
ภำวะสมดุล
ถูกรบกวนโดยกำรเปลี่ยนแปลงปัจจัยที่มีผลต่อภำวะสมดุลของระบบ
ระบบจะเกิดกำรเปลี่ยนแปลงไปในทิศทำงที่จะลดผลของกำรรบกวนนั้น
เพื่อให้ระบบเข้ำสู่ภำวะสมดุลใหม่อีกครั้ง’

กรณีที่ควำมเข้มข้นเปลี่ยน
Ex 17 A + B= C + D
1.ถ้าเพิ่มความเข้มข้นของสาร A ระบบจะปรับตัวโดยการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า
ผลที่ได้คือ
สาร C และ D มากขึ้น สาร B ลดลง
2.ถ้าลดความเข้มข้นของสาร A ระบบจะปรับตัวโดยการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับผล
ที่ได้คือ
สาร B เพิ่มขึ้น สาร C และ D ลดลง
หมายเหตุ กรณีการเพิ่มหรือลดสารผลิตภัณฑ์ก็ให้ใช้หลักในการพิจารณาเช่น
เดียวกับสารตั้งต้น
กรณีที่ความดันเปลี่ยน
Ex 18 3A + B= C + 4D
1.ถ้าเพิ่มความดัน ระบบจะเกิดการปรับตัวในทิศทางที่จะลดความดันโดยการเกิด
ปฏิกิริยาย้อน
กลับ ผลที่เกิดขึ้นคือ สาร A และ B มากขึ้น สาร C และ D จะลดลง
2.ถ้าลดความดันระบบจะเกิดการปรับตัวในทิศทางเพิ่มความดันโดยการเกิด
ปฏิกิริยาไปข้างหน้าผลที่เกิดขึ้นคือสาร C และ D
มากขึ้น สาร A และ B ลดลง
หมายเหตุ การเพิ่มหรือลดความดันจะไม่มีผลต่อภาวะสมดุลของปฏิกิริยาถ้า
จำานวนโมลของสารที่เป็นก๊าซทั้งสองข้างเท่ากัน
กรณีที่อุณหภูมิเปลี่ยนแปลง
Ex 19 X + Y =Z + D+H
1.ถ้าเพิ่มอุณหภูมิ ระบบจะปรับตัวในทิศทางลดอุณหภูมิโดยเกิดปฏิกิริยาย้อน
กลับ ผลที่เกิดขึ้นคือสาร X และ Y มากขึ้น สาร Z ลดลง และค่าคงท่าสมดุล(K)
ลดลงด้วย
2.ถ้าลดอุณหภูมิ ระบบจะปรับตัวในทิศทางเพิ่มอุณหภูมิโดยเกิดปฏิกิริยาไปข้าง
หน้า ผลที่เกิดขึ้นคือสาร X และ Y ลดลง สาร Z เพิ่มขึ้นและค่าคงท่าสมดุล(K)
เพิ่มขึ้นด้วย
Ex 20 A + B + D+H=C + D
1.ถ้าเพิ่มอุณหภูมิ ระบบจะปรับตัวในทิศทางลดอุณหภูมิโดยเกิดปฏิกิริยาไปข้าง
หน้า ผลที่เกิดขึ้นคือสาร A และ B ลดลง สาร C และ D เพิ่มขึ้น และค่าคงท่า
สมดุล(K) เพิ่มขึ้นด้วย
2.ถ้าลดอุณหภูมิ ระบบจะปรับตัวในทิศทางเพิ่มอุณหภูมิโดยเกิดปฏิกิริยาย้อน
กลับผลที่เกิดขึ้นคือสาร A และ B เพิ่มขึ้น สาร C และ D ลดลงและค่าคงท่า
สมดุล(K)ลดลงด้วย กรณีตัวเร่งปฏิกิริยากับภาวะสมดุล
การใส่ตัวเร่งปฏิกิริยาเป็นการทำาให้ปฏิกิริยาเกิดขึ้นเร็วขึ้นโดยไม่มีผลต่อภาวะ
สมดุลแต่อย่างใด เพียงแต่ระบบเข้าสู่ภาวะสมดุลเร็วเท่านั้น
ภำค
ผนวก
เอกสำรอ้ำงอิง
http://elearning.spu.ac.th/content/chm100/chm/100
                      _11.html

More Related Content

What's hot

ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์Pipat Chooto
 
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์Gawewat Dechaapinun
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Arocha Chaichana
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์Pipat Chooto
 
3.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี573.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี57Pipat Chooto
 
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - StoichiometryDr.Woravith Chansuvarn
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์oraneehussem
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Nanmoer Tunteng
 
รายงานเรียน
รายงานเรียนรายงานเรียน
รายงานเรียนtippawan61
 

What's hot (20)

ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์
 
เนื้อหาปริมาณสารสัมพันธ์
เนื้อหาปริมาณสารสัมพันธ์เนื้อหาปริมาณสารสัมพันธ์
เนื้อหาปริมาณสารสัมพันธ์
 
Chemographics : Stoichiometry
Chemographics : StoichiometryChemographics : Stoichiometry
Chemographics : Stoichiometry
 
5 chem formular
5 chem formular5 chem formular
5 chem formular
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์
 
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์
 
Chap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometryChap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometry
 
Chap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometryChap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometry
 
3.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี573.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี57
 
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
 
2 the mole
2 the  mole2 the  mole
2 the mole
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
 
3 the mole 2018
3 the  mole 20183 the  mole 2018
3 the mole 2018
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
รายงานเรียน
รายงานเรียนรายงานเรียน
รายงานเรียน
 
Mole
MoleMole
Mole
 
Chem equation
Chem equation  Chem equation
Chem equation
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 

Similar to สมดุลเคมี

สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีpaknapa
 
สื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibriumสื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibriumพัน พัน
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)Manchai
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีPreeyapat Lengrabam
 
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก 06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก kruannchem
 
บทที่ 7 สมดุลเคมี
บทที่ 7 สมดุลเคมีบทที่ 7 สมดุลเคมี
บทที่ 7 สมดุลเคมีoraneehussem
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีkorng001
 
ของเหลวและสารละลายเพื่อการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
ของเหลวและสารละลายเพื่อการศึกษาในระดับอุดมศึกษาของเหลวและสารละลายเพื่อการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
ของเหลวและสารละลายเพื่อการศึกษาในระดับอุดมศึกษา661031554
 

Similar to สมดุลเคมี (20)

สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 
Alcohol
AlcoholAlcohol
Alcohol
 
สื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibriumสื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibrium
 
Metal
MetalMetal
Metal
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมี
 
Minboi
MinboiMinboi
Minboi
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก 06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
 
Rate012
Rate012Rate012
Rate012
 
บทที่ 7 สมดุลเคมี
บทที่ 7 สมดุลเคมีบทที่ 7 สมดุลเคมี
บทที่ 7 สมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
Punmanee study 3
Punmanee study 3Punmanee study 3
Punmanee study 3
 
ของเหลวและสารละลายเพื่อการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
ของเหลวและสารละลายเพื่อการศึกษาในระดับอุดมศึกษาของเหลวและสารละลายเพื่อการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
ของเหลวและสารละลายเพื่อการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
 

สมดุลเคมี

  • 1. สภาวะสมดุลเคมี จัดทำำโดย นำงสำวพักตร์นภำ รุ่งโรจน์ เสนอ คุณครูวีรพงษ์ บรรจง รำยงำนนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชำเคมี(ว٤٠٢٢٢) ภำคเรียนที่١ สำำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมุกดำหำร กระทรวงศึกษำธิกำร
  • 3. สำรบัญ เรื่อง หน้ำ การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ 1-2 ภาวะสมดุล 3-4 ความสำาพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของสารต่างๆ ณ ภาวะสมดุล 5-6 การเปลี่ยนแปลงภาวะสมดุล 7 หลักของเลอชาเตอลิเอ ٨ ٩-
  • 4. เรื่อง สมดุลเคมี (Equilibrium) เนื้อหำ(Content) การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ ภาวะสมดุล ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของสารต่างๆ ณ ภาวะสมดุล การเปลี่ยนภาวะสมดุล หลักของเลอชาเตอลิเอ จุดประสงค์กำรเรียนรู้(Objective) 1.เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปฏิกิริยาที่ผันกลับได้ ภาวะสมดุล และสมบัติของระบบ ณภาวะสมดุล 2.เพื่อให้นักเรียนมีทักษะสามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้น ของ สารตั้งต้นกับสารผลิตภัณฑ์ ณ ภาวะสมดุล ตลอดจนคำานวณค่าคงที่สมดุล และความเข้มข้นของสารต่างๆ ณ ภาวะสมดุล 3.เพื่อให้นักเรียนสามารถทราบถึงปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลและมีความเข้าใจ ในการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเมื่อภาวะสมดุลของระบบถูกรบกวน 4.เพื่อให้นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับหลักของเลอชาเตอลิเอและมีความเข้าใจใน การปรับตัวของระบบเมื่อมีการรบกวนสมดุลของระบบ
  • 5. สมดุลเคมี (Eguilibrium) นักเคมีมักพบปัญหาจากปฏิกิริยาเคมีใดๆว่า ผลิตภัณฑ์ที่ได้มักได้ไม่ถึง 100% โดยอาจมีสาเหตุมาจากเทคนิคของการทดลอง หรือปฏิกิริยาเกิดไม่สมบูรณ์ จากหลักปริมาณสารสัมพันธ์จะพิจารณาว่า ในการเกิดปฏิกิริยาใดๆ ปฏิกิริยาต้อง ดำาเนินไปจนสมบูรณ์กล่าวคือ เมื่อสารทำาปฏิกิริยากัน ปฏิกิริยาจะเกิดขึ้นจนกว่า สารตั้งต้นสารใดสารหนึ่งหมดไป ปฏิกิริยาจึงจะหยุด Ex 1.CaCO3(s)— CaO(s) + CO2(g)………………..(1) CaO(s) + CO2(g)— CaCO3(s)…………………(2) เมื่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า(Rate of forward Reaction) ปฏิกิริยา (1)เท่ากับ อัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ(Rate of backward Reaction)ปฏิกิริยา(2) แล้วในขณะ นั้นระบบมีสมบัติคงที่ เรียกว่า เกิดภาวะสมดุล(Equilibrium State) กำรเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ 1. การเปลี่ยนแปลงที่เข้าสู่ภาวะสมดุล โดยระบบมิได้หยุดนิ่ง แต่จะมีการ เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เรียกว่าสมดุลไดนามิก(Dynamic Equilibrium) ซึ่งเป็น สมดุลที่โมเลกุลของสารในระบบยังคงมีการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้และเกิด ขึ้นอยู่ตลอดเวลาในระบบปิด(Closed system) 2. ระบบจะดำาเนินเข้าสู้ภาวะสมดุลได้เอง โดยอัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า เท่ากับอัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ 3. การดำาเนินเข้าสู่ภาวะสมดุลของระบบอาจเริ่มจากทางซ้ายหรือทางขวาก็ได้ Ex 2.PCl5(g) =PCl3(g) + Cl2(g) ค่ำคงที่สมดุล ในปฏิกิริยาเคมีใดๆ จะมีค่าคงที่ค่าหนึ่งซึ่งบอกให้ทราบถึงความสัมพันธ์ระหว่าง ความเข้มข้น ของสารต่างๆที่ภาวะสมดุล เรียกว่า ค่าคงที่สมดุล(Equilibrium Constant) Ex 3.H2(g) + I2(g) =2HI(g) ที่ 4250C การทดลองที่ [N2] [I2] [HI] K = [HI]2 / [H2][I2] 1 4.565 0.738 13.54 54.79 2 3.560 1.250 15.59 54.67 3 2.253 2.336 16.85 54.14 4 1.831 3.130 17.67 54.79 5 0.479 0.479 3.531 54.35 6 1.141 1.141 8.410 54.35 หมายเหตุ lab 1-4 ได้จากการรวมตัวชอง H2 และ I2 lab 5-6 ได้จากการสลายตัวของ HI จากตารางสรุปได้ว่าไม่ว่าจะเริ่มต้นด้วยปริมาณสารเท่าใดก็ตาม อัตราส่วน ระหว่างผลคูณของความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์แต่ละชนิดยกกำาลังด้วย
  • 6. สัมประสิทธิ์บอกจำานวนโมลของผลิตภัณฑ์นั้นๆกับผลคูณของความเข้มข้นของ สารตั้งต้นที่เหลือแต่ละชนิดยกกำาลังด้วยสัมประสิทธิ์บอกจำานวนโมลของสารที่ เหลือที่สภาวะสมดุลจะมีค่าคงที่เสมอเมื่ออุณหภูมิคงที่ เรียกว่า ค่ำคงที่สมดุล(k ) K = [HI]2 / [H2][I2] จลนศำสตร์เคมีและค่ำคงที่สมดุล ค.ศ. 1866 C.M. Guldberg นักคณิตศาสตร์ประยุกต์ และ P .Waage นักเคมีได้เสนอ “Law of mass action” กล่าวคือ “ อัตรำกำรเกิดปฏิกิริยำจะต้องเป็นปฏิภำค กับควำมเข้มข้นของสำรตั้งต้นยกกำำลังด้วยสัมประสิทธิ์บอกจำำนวนโมล ของสำรนั้นๆ” Ex aA + bB —cC + dD อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า Ratef = kf[A]a[B]b………………..(1) อัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ Rater = kr [C]c[D]d………………..(2) เมื่อระบบเข้าสู่สภาวะสมดุลจะได้ (1)=(2) kf[A]a[B]b = kr [C]c[D]d เมื่อ kf/ kr = K จะได้ K = [C]c[D]d/[A]a[B]b หลักกำรใช้ค่ำคงที่สมดุล 1.เมื่ออุณหภูมิคงที่ ค่าคงที่สมดุล k จะมีค่าคงที่ และจะต้องอ้างถึงสมการหนึ่ง สมการใดด้วยเสมอ เพราะถ้าเขียนสมการโดยใช้สัมประสิทธิ์ต่างกันไป ค่า k จะ แตกต่างกันด้วย Ex4. H2(g) + I2(g) =2HI(g)…………………………..(1) K1 = [HI]2/[H2][I2] 2 x(1) 2H2(g) + 2 I2(g)= 4HI(g) K2 = [HI]4/[H2]2[I2]2 K2 = K12 ดังนั้น ถ้าคูณสมการเดิมด้วย n ค่า K ใหม่เท่ากับ Kn เดิม 2.ถ้าเขียนสมการกลับกัน ค่า k ก็จะกลับกันด้วย Ex 5. 2NO(g) + O2(g) =2NO2(g)……………………(2) K1 =[NO2]2/[NO]2[O2] ถ้าเขียนสมการกลับกัน 2NO2(g) =2NO(g) + O2(g) K2 = [NO]2[O2] /[NO2]2 K2 = 1/K1 ดังนั้นถ้าเขียนสมการกลับกัน K ใหม่ = 1/K เดิม 2.ในกรณีที่ปฏิกิริยาเกิดขึ้นหลายๆขั้นตอน ค่า K ของปฏิกิริยารวม จะเท่ากับผล คูณของค่า K ของปฏิกิริยาย่อยๆนั้น Ex 6. 2NO(g) + O2(g) =2NO2(g)………………..(1) 2NO2(g) N2O4(g)…………………(2)
  • 7. (1)+(2) ได้ 2NO(g) + O2(g) =N2O4(g) K3 =K1.K2=[N2O4]/[NO2]2[O2] การใช้ค่า K ในสมดุลเอกพันธ์ ซึ่งสารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์อยู่ในวัฏภาค เดียวกัน เช่น Ex 7. จากปฏิกิริยา aA + bB= cC +dD Kc = [C]c [D]d /[A] a[B] b Kp = PCc PDd / PAa PBb ; P = n/v RT จาก Kp = Kc(RT) n ; n = (c+d)-(a+b) ถ้า n = 0 จะได้ Kp = Kc(RT)0 ; Kp = Kc Ex 8. N2(g) + 3H2(g) =2NH3(g) Kc = [ NH3]2 /[ N2][ H2 ]3 หรือ Kp = ( P NH3)2/ (PN2)(PH2)3 การใช้ค่า K ในสมดุลวิวิธภัณฑ์ สารที่เป็นของแข็งกำาหนดให้มีค่าคงที่เท่ากับ 1 Ex 9. CaCO3(s) =CaO(s) + CO2(g) Kc = [CO2] ; Kp = PCO2 กำรคำำนวณเกี่ยวกับค่ำคงที่สมดุล Ex 10. จากปฏิกิริยา 2SO2(g) + O2(g)= 2SO3(g) ที่ 250 c จงคำานวณหา Kc ที่สภาวะสมดุล (กำาหนด Kp = 2.5 x 1024 atm-1) วิธีทำา จาก Kp = Kc(RT) n Kc = Kp(RT)- n Kc = (2.5 x 1024)(0.0821)(298)-(1) = 6.2 x 1025 dm3 mol-1 Ex 11. เมื่อเติม ก๊าซ H2 และ I2 อย่างละ 0.5 mol ลงในภาชนะขนาด 2 dm3 ที่ อุณหภูมิ 520Oc เมื่อระบบเข้าสุ่ภาวะสมดุลจากการวิเคราะห์พบว่าภายในภาชนะ ประกอบด้วยก๊าซ HI 0.06 mol จงคำานวณหาค่าคงที่สมดุล วิธีทำา H2 (g) + I2(g) =2HI (g) เริ่มต้น 0.25 0.25 - เปลี่ยนแปลง 0.015 0.015 0.03 ที่สมดุล 0.235 0.235 0.03 K = [HI]2/[H2][I2] = (0.03)2/(0.235)2 = 2 x 10-2 Ex 12. ที่อุณหภูมิหนึ่งก๊าซ HX 1.0 mol/dm3 สลายตัวได้ 20 % ดังสมการ 2HX =H2 + X2 จงคำานวณหาค่าคงที่สมดุล วิธีทำา HX 1.0 mol/dm3 สลายตัวได้ 20 % ดังนั้น HX สลายตัว= 20/100 X 1= 0.2 mol/dm3 2HX= H2 + X2 เริ่มต้น 1 - - เปลี่ยนแปลง 0.2 0.1 0.1 ที่สมดุล 0.8 0.1 0.1 K =[H2][X2]/[HX]2 =(0.1)2/(0.8)2 =1.56 X 10-2
  • 8. Ex 13. ก๊าซ N2 ทำาปฏิกิริยากับก๊าซ H2 ดังสมการ 3H2(g) + N2(g)= 2NH3(g) ที่อุณหภูมิ 400oC ที่ภาวะสมดุลพบว่ามี N2 0.6mol/dm3 , H2 0.4 mol/dm3 และ NH3 0.14mol/dm3 จงคำานวณหาค่าคงที่สมดุล K = [NH3]2/[H2]3[N2] = (0.14)2/(0.6)(0.4)3 = 0.51 กำรเปลี่ยนภำวะสมดุล ที่ภาวะสมดุลของปฏิกิริยาใดๆสมบัติต่างๆเช่น ความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์ที่เกิด ขึ้นและความเข้มข้นของสารตั้งต้นที่เหลือจะมีค่าคงที่ ถ้ามีการเปลี่ยนแปลง ปัจจัยบางอย่างขึ้น เช่น การเปลี่ยนความเข้มข้น อุณหภูมิ หรือความดัน อัตรา การเกิดปฏิกิริยาจะเปลี่ยนแปลงไป โดยการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจะมีผลต่อ ภาวะสมดุล ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลได้แก่ 1.การเปลี่ยนความเข้มข้น 2.การเปลี่ยนความดัน 3.การเปลี่ยนอุณหภูมิ กำรเปลี่ยนควำมเข้มข้นของสำรกับภำวะสมดุล Ex 14. ปฏิกิริยาระหว่าง Fe(NO3)3 กับ NH4 SCN Fe3+(aq) + SCN-(aq)= [FeSCN]2+(aq) นำ้าตาล ไม่มีสี สีแดงเลือดนก ทำาการทดลองโดยแบ่งสารละลายออกเป็น 4 ส่วนดังนี้ 1.เก็บไว้เปรียบเทียบ (blank) 2.เติม Fe(NO3)3 ลงไป ปรากฏว่าสีแดงเพิ่มขึ้น 3.เติม NH4 SCN ลงไปปรากฏว่าสีแดงเพิ่มขึ้น(มากกว่าส่วนที่ 1 แต่น้อยกว่าส่วนที่ 2) 4.เติม Na2HPO4 ลงไป ปรากฏว่าสีแดงจางลงและมีตะกอนสีขาวเกิดขึ้น จากการทดลองอธิบายได้ดังนี้ 2.การเติม Fe(NO3)3 ลงไปเท่ากับเป็นการเพิ่ม Fe3+ซึ่งจะทำาปฏิกิริยากับ SCN- ที่ เหลืออยู่เกิดเป็น [FeSCN]2+ทำาให้สแดงเข้มขึ้น และ Fe3+ ที่เติมลงไปถูกใช้ไม่ ี หมด 3.การเติม NH4 SCN เท่ากับเป็นการเพิ่ม SCN-ซึ่งจะทำาปฏิกิริยากับ Fe3+ ที่เหลือ อยู่เกิดเป็น [FeSCN]2+ ทำาให้สแดงเข้มขึ้นแต่สีจะน้อยกว่าส่วนที่ 2 เนื่องจาก ี SCN-ไม่มีสี 4.การเติม Na2HPO4 ลงไปเท่ากับเป็นการเพิ่ม HPO42- ที่จะไปดึง Fe3+เกิดเป็น ตะกอนขาวของ FePO4 ทำาให้สแดงของสารลายจางลงกว่าเดิม ี Fe3+(aq) + 2 HPO42-(aq) =FePO4(s) + H2 PO4-(s) จากตัวอย่างสรุปได้ว่า การเพิ่มหรือลดความเข้มข้นของสารจะมีผลทำาให้ภาวะ สมดุลเปลี่ยนไปซึ่งที่สมดุลใหม่สมบัติของระบบจะแตกต่างไปจากสมดุลเดิม
  • 9. กำรเปลี่ยนควำมดันของสำรกับภำวะสมดุล Ex 15. ปฏิกิริยาการเตรียมก๊าซ NO2 ดังสมการ Cu(s) + 4HNO3(aq)— Cu(NO3)2(aq) +2NO2(g) + 2H2O(l) 2NO2(g) =N2O4(g) สีนำ้าตาลแดง ไม่มีสี จากปฏิกิริยาถ้าเพิ่มความดันจะพบว่าสีของก๊าซในกระบอกฉีดยาเข้มขึ้นและ ค่อยๆจางลงจนคงที่แต่ถ้าลดความดันจะพบว่าสีของสารละลายในกระบอกฉีดยา จะจางลงและเข้มขึนจนคงที่จากตัวอย่างสรุปได้ว่าการเพิ่มหรือ ้ ลดความดันของก๊าซจะมีผลทำาให้ภาวะสมดุลเปลี่ยนไปท่าสมดุลใหม่ สมบัติของ ระบบจะแตกต่างไปจากสมดุลเดิม กำรเปลี่ยนอุณหภูมิกับภำวะสมดุล Ex 16 จากปฏิกิริยา 2NO2(g) =N2O4(g) +DH สีนำ้าตาลแดง ไม่มีสี จากปฏิกิริยา ถ้าเพิ่มอุณหภูมิโดยการให้ความร้อน จะพบว่าสีของก๊าซใน กระบอกฉีดยาเข้มขึ้นแล้วคงที่ แต่ถ้าลดอุณหภูมิจะพบว่าสีของก๊าซในกระบอก ฉีดยาจางลงแล้วคงที่ จึงสรุปได้ว่าการเพิ่มหรือลดอุณหภูมิของสาร จะมีผลทำาให้ภาวะสมดุลของระบบ เปลี่ยนไป และทีสมดุลใหม่สมบัติของระบบจะแตกต่างไปจากสมดุลเดิม ปี ค.ศ. 1884 เลอ ชาเตอลิเอ นักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศสได้ศึกษาค้นคว้าเกี่ยว กับการ เปลี่ยนแปลงภาวะสมดุลของปฏิกิริยาต่างๆและได้ข้อสรุปว่า ‘เมือระบบที่อยู่ใน ่ ภำวะสมดุล ถูกรบกวนโดยกำรเปลี่ยนแปลงปัจจัยที่มีผลต่อภำวะสมดุลของระบบ ระบบจะเกิดกำรเปลี่ยนแปลงไปในทิศทำงที่จะลดผลของกำรรบกวนนั้น เพื่อให้ระบบเข้ำสู่ภำวะสมดุลใหม่อีกครั้ง’ กรณีที่ควำมเข้มข้นเปลี่ยน Ex 17 A + B= C + D 1.ถ้าเพิ่มความเข้มข้นของสาร A ระบบจะปรับตัวโดยการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า ผลที่ได้คือ สาร C และ D มากขึ้น สาร B ลดลง 2.ถ้าลดความเข้มข้นของสาร A ระบบจะปรับตัวโดยการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับผล ที่ได้คือ สาร B เพิ่มขึ้น สาร C และ D ลดลง หมายเหตุ กรณีการเพิ่มหรือลดสารผลิตภัณฑ์ก็ให้ใช้หลักในการพิจารณาเช่น เดียวกับสารตั้งต้น กรณีที่ความดันเปลี่ยน Ex 18 3A + B= C + 4D 1.ถ้าเพิ่มความดัน ระบบจะเกิดการปรับตัวในทิศทางที่จะลดความดันโดยการเกิด ปฏิกิริยาย้อน กลับ ผลที่เกิดขึ้นคือ สาร A และ B มากขึ้น สาร C และ D จะลดลง
  • 10. 2.ถ้าลดความดันระบบจะเกิดการปรับตัวในทิศทางเพิ่มความดันโดยการเกิด ปฏิกิริยาไปข้างหน้าผลที่เกิดขึ้นคือสาร C และ D มากขึ้น สาร A และ B ลดลง หมายเหตุ การเพิ่มหรือลดความดันจะไม่มีผลต่อภาวะสมดุลของปฏิกิริยาถ้า จำานวนโมลของสารที่เป็นก๊าซทั้งสองข้างเท่ากัน กรณีที่อุณหภูมิเปลี่ยนแปลง Ex 19 X + Y =Z + D+H 1.ถ้าเพิ่มอุณหภูมิ ระบบจะปรับตัวในทิศทางลดอุณหภูมิโดยเกิดปฏิกิริยาย้อน กลับ ผลที่เกิดขึ้นคือสาร X และ Y มากขึ้น สาร Z ลดลง และค่าคงท่าสมดุล(K) ลดลงด้วย 2.ถ้าลดอุณหภูมิ ระบบจะปรับตัวในทิศทางเพิ่มอุณหภูมิโดยเกิดปฏิกิริยาไปข้าง หน้า ผลที่เกิดขึ้นคือสาร X และ Y ลดลง สาร Z เพิ่มขึ้นและค่าคงท่าสมดุล(K) เพิ่มขึ้นด้วย Ex 20 A + B + D+H=C + D 1.ถ้าเพิ่มอุณหภูมิ ระบบจะปรับตัวในทิศทางลดอุณหภูมิโดยเกิดปฏิกิริยาไปข้าง หน้า ผลที่เกิดขึ้นคือสาร A และ B ลดลง สาร C และ D เพิ่มขึ้น และค่าคงท่า สมดุล(K) เพิ่มขึ้นด้วย 2.ถ้าลดอุณหภูมิ ระบบจะปรับตัวในทิศทางเพิ่มอุณหภูมิโดยเกิดปฏิกิริยาย้อน กลับผลที่เกิดขึ้นคือสาร A และ B เพิ่มขึ้น สาร C และ D ลดลงและค่าคงท่า สมดุล(K)ลดลงด้วย กรณีตัวเร่งปฏิกิริยากับภาวะสมดุล การใส่ตัวเร่งปฏิกิริยาเป็นการทำาให้ปฏิกิริยาเกิดขึ้นเร็วขึ้นโดยไม่มีผลต่อภาวะ สมดุลแต่อย่างใด เพียงแต่ระบบเข้าสู่ภาวะสมดุลเร็วเท่านั้น
  • 11.
  • 13.