SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
วิชา การบัญชีตนทุน (Cost Accounting)
บทที่ 1 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีตนทุน
-วัตถุประสงคของการบัญชีตนทุน
1.เพื่อใหทราบถึงตนทุนการผลิตสินคาหรือบริการ
2.เพื่อใชในการคํานวณมูลคาสินคาคงเหลือ
3.เพื่อใชในการวางแผนและควบคุม
4.เพื่อใชเปนเครื่องมือในการตัดสินใจ
5.การกําหนดราคาขายสินคา
ความสัมพันธของการบัญชีตนทุนกับการบัญชีการเงิน และบัญชีบริหาร
เปาหมายของการบันทึกบัญชีคือการเก็บรวบรวมขอมูลทางการเงินเพื่อใชในการตัดสินใจตามภาวะ
เศรษฐกิจที่เปลี่ยนไป ซึ่งขอบเขตของหลักการบัญชีจะแบงเปน 3 สวนหลักคือ บัญชีการเงิน บัญชี
บริหาร และบัญชีตนทุน
บัญชีการเงิน เปนการจัดทําบัญชีเกี่ยวกับ สินทรัพย หนี้สิน สวนของเจาของ รายได และคาใชจาย
เพื่อใหทราบถึงฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงานของกิจการ ไดแก งบดุล งบกําไรขาดทุน งบ
กําไรสะสม และงบกระแสเงินสด
บัญชีบริหาร เนนขอมูลที่เปนอดีต ปจจจุบัน และคาดการณในอนาคตแลวนํามาวิเคราะหเพื่อการ
วางแผน ควบคุม ประเมินผล การวัดผลการดําเนินงาน และการตัดสินใจทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
บัญชีตนทุน เปนสวนหนึ่งของทั้งบัญชีการเงินและบัญชีบริหารเพราะเปนการเก็บรวบรวม วิเคราะห
และรายงานขอมูลเกี่ยวกับตนทุนในอดีต ปจจุบันและอนาคต
ความหมายของตนทุน คาใชจาย และขาดทุน
ตนทุน หมายถึง มูลคาของทรัพยากรที่วัดออกมาเปนหนวยเงินตราที่ไดสูญเสียไปเพื่อใหไดสินคา
สินทรัพย หรือบริการตางๆ
คาใชจาย หมายถึง ตนทุนที่ถูกใชประโยชนไปบางสวนหรือทั้งหมดในงวดบัญชีนั้นและกิจการไดใช
ประโยชนทั้งหมดแลวในขณะนั้นทําใหสภาพการเปนตนทุนไดจบลง
ขาดทุน หมายถึง ตนทุนที่ถูกใชไปโดยไมกอใหเกิดประโยชนกับกิจการ เชน สินคาชํารุดเสียหายที่เกิด
จากการผลิตหรือจัดเก็บ ทําใหไมสามารถขายไดในราคาปกติหรือขายไมไดเลยทําใหเกิดผลขาดทุน
การจําแนกตนทุนตามวัตถุประสงคของการใชตนทุน
เมื่อเขาใจถึงความหมายของตนทุน คาใชจาย และขาดทุนแลว ตอไปจะอธิบายถึงการจําแนกตนทุนตาม
ลักษณะตางๆและตามวัตถุประสงคของการใชตนทุน ซึ่งสามารถแบงไดเปน 8 ประเภท ดังนี้
1.การจําแนกตนทุนตามสวนประกอบของผลิตภัณฑ
2.การจําแนกตนทุนตามปริมาณกิจกรรม
3.การจําแนกตนทุนตามระยะเวลา
4.การจําแนกตนทุนตามลักษณะการดําเนินงาน
5.การจําแนกตนทุนตามความสัมพันธกับหนวยตนทุน
6.การจําแนกตนทุนเพื่อการควบคุมและวัดผลการปฏิบัติงาน
7.การจําแนกตนทุนโดยพิจารณาจากชวงเวลาในการคํานวณกําไร
8.การจําแนกตนทุนเพื่อการตัดสินใจ
สถาบันและหนวยงานทางวิชาชีพที่มีบทบาทตอการพัฒนาบัญชีตนทุน
สถาบันและหนวยงานทางวิชาชีพบัญชีที่มีบทบาทตอการพัฒนาขอมูลทางบัญชีตนทุนใหเปนขอมูลที่มี
ความทันสมัยทันตอเหตุการณ และมีความนาเชื่อถือ เพื่อใชในการตัดสินใจของผูบริหารนั้นมีทั้ง
สถาบันและหนวยงานทางวิชาชีพทั้งในประเทศและตางประเทศที่ควรรูจัก คือ
1.สภาวิชาชีพบัญชี
2.คณะกรรมการควบคุมการประกอบวิชาชีพสอบบัญชี
3.สมาคมนักบัญชีบริหาร
4.สถาบันผูสอบบัญชีรับอนุญาตแหงประเทศสหรัฐอเมริกา
5.คณะกรรมการมาตรฐานการบัญชีการเงิน
6.สมาพันธการบัญชีอเมริกัน
7.สภานักบัญชีนานาชาติ
8.สถาบันนักบัญชีบริหารรับอนุญาต
บทที่ 2 ระบบบัญชีตนทุนและการจัดทํางบการเงิน
การดําเนินธุรกิจในปจจุบันไมวาจะเปนธุรกิจผลิตสินคา ธุรกิจซื้อขายสินคา และธุรกิจบริการ มีวิธีการ
จัดหาสินคาและบริการแตกตางกัน ทําใหตองทําความเขาใจในการคํานวณตนทุนการผลิตสินคาและ
บริการใหถูกตอง
การคํานวณตนทุนของธุรกิจผลิตสินคา
งบตนทุนการผลิต
งบกําไรขาดทุน
งบดุล
ระบบการบัญชีตนทุน
ในกระบวนการผลิตสินคาของธุรกิจอุตสาหกรรมเพื่อที่จะตอบสนองความตองการของลูกคา สามารถ
แยกไดเปน 2 ประเภท คือ
1.ระบบบัญชีตนทุนงานสั่งทํา
2.ระบบตนทุนชวงหรือตนทุนกระบวนการ
บทที่ 3 การบัญชีตนทุนวัตถุดิบ
ความหมายและประเภทของวัตถุดิบ
วัตถุดิบ คือ สวนประกอบสําคัญในการผลิตที่จะถูกเปลี่ยนสภาพกลายมาเปนสินคาสําเร็จรูป โดยทั่วไป
ตนทุนของวัตถุดิบในการผลิตสินคาแบงออกเปน 2 ลักษณะ คือ
1.วัตถุดิบทางตรง
2.วัตถุดิบทางออม
การวางแผนและควบคุมวัตถุดิบ
การรักษาระดับวัตถุดิบคงเหลือใหอยูในระดับที่เหมาะสมนับวาเปนวัตถุประสงคหนึ่งที่สําคัญที่สุดใน
การควบคุมวัตถุดิบ
ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด (EOQ) เปนแนวความคิดในการสั่งซื้อวัตถุดิบวาการซื้อ
วัตถุดิบแตละครั้งควรมีจํานวนเทาใดจึงจะทําใหมีตนทุนรวมต่ําที่สุด โดยเปรียบเทียบระหวางคาใชจาย
ในการสั่งซื้อและคาใชจายในการเก็บรักษา ซึ่งคาใชจายทั้งสองประเภทนี้มีความสัมพันธในทิศทาง
ตรงกันขาม
จุดสั่งซื้อวัตถุดิบ เมื่อฝายบริหารทราบถึงปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุดแลวจะตองพิจารณา
ตอไปวาจะทําการสั่งซื้อเมื่อวัตถุดิบนั้นเหลืออยูในปริมาณเทาใด ซึ่งการหาจุดสั่งซื้อนั้นกิจการตอง
ทราบ
1.ระยะเวลาในการจัดหาวัตถุดิบ
2.อัตราการใชวัตถุดิบ
3.สินคาที่ตองมีไวเพื่อความปลอดภัย
ปริมาณการสั่งซื้อในกรณีที่มีสวนลด การที่ผูขายตองการขายสินคาในแตละครั้งเปนจํานวน
มากนั้น วิธีหนึ่งที่นิยมใชในปจจุบันคือการใหสวนลด ซึ่งมีการกําหนดเงื่อนไขเพิ่มขึ้นซึ่งอาจจะสงผลตอ
ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด
การจัดซื้อและการบันทึกบัญชีวัตถุดิบ กิจการจะตองทําการสั่งซื้อวัตถุดิบใหเพียงพอที่จะใชใน
การผลิต สวนใหญผูควบคุมวัตถุดิบหรือพนักงานผูลงบัญชีพัสดุจะมีหนาที่รับผิดชอบการรับจายวัตถุดิบ
และดูแลปริมาณวัตถุดิบที่มีอยู
การเบิกใชและบันทึกบัญชีวัตถุดิบ เมื่อผูมีอํานาจในการเบิกใชวัตถุดิบหรือแผนกผลิตตองการ
เบิกวัตถุดิบไปใชในการผลิตสินคาจะตองออกใบเบิกวัตถุดิบ ซึ่งใบเบิกวัตถุดิบที่จัดทําขึ้นนั้นมี 4 ฉบับ
การคํานวณตนทุนวัตถุดิบใชไปและการตีราคาวัตถุดิบคงเหลือ ในการดําเนินงานของกิจการ
ผลิตสินคาขายตองมีการสั่งซื้อวัตถุดิบเขามาผลิตซึ่งในทางปฏิบัติวัตถุดิบที่ซื้อเขามามีมากมายหลายชนิด
และแตละชนิดราคาที่ซื้อเขามาแตละครั้งไมเทากัน
การตีราคาวัตถุดิบคงเหลือราคาทุน วิธีการคํานวณราคาวัตถุดิบคงเหลือตามราคาทุนตาม
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 เรื่องสินคาคงเหลือ กําหนดวิธีการคํานวณ 3 วิธี ดังนี้
1.วิธีตามราคาที่แทจริง
2.วิธีซื้อกอนใชกอน
3.วิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก
การตีราคาวัตถุดิบคงเหลือตามราคาตลาดหรือราคาทุน ที่ต่ํากวา
บทที่ 4 การบัญชีคาแรงงาน
ความหมายและประเภทคาแรงงาน
คาแรงงาน หมายถึง คาจาง และเงินเดือน ที่จายใหแกพนักงานหรือลูกจางของกิจการ สําหรับคาจางนั้น
กิจการจะจายเปนรายชั่วโมง รายวัน หรือรายชิ้นที่ผลิตได นอกจากนี้กิจการที่ผลิตสินคาตองทําการแบง
ตนทุนแรงงานออกเปน 2 ประเภท คือ คาแรงงานทางตรง และคาแรงงานทางออม
การจัดเก็บเวลาทํางาน สําหรับกิจการที่มีขนาดใหญ ในการบริหารงานเกี่ยวกับจัดหา วางแผน
และควบคุมแรงงาน จะมีแผนกตางๆที่รับผิดชอบ ไดแก แผนกบุคคลากร ทําหนาที่ในการจัดหาและจัดจาง
แรงงานรวมถึงการฝกอบรมฝมือแรงงานและการจัดสวัสดิการตางๆใหกับพนักงาน
สําหรับกิจการที่มีขนาดใหญ ในการบริหารงานเกี่ยวกับจัดหา วางแผน และควบคุมแรงงาน
การคํานวณและจําแนกประเภทคาแรงงาน สําหรับกิจการที่มีขนาดใหญนั้นเปนหนาที่ของ
แผนกคิดคาแรงงาน สวนกิจการที่มีขนาดเล็กนั้นจะมอบหมายใหเจาหนาที่คนใดคนหนึ่งมารับผิดชอบงาน
ดังกลาว การคํานวณคาแรงงานโดยทั่วไปจะประกอบดวยสวนสําคัญ 2 สวน คือ การคํานวณคาแรงงาน
ขั้นตน และการคํานวณคาแรงงานสุทธิ
การบัญชีเกี่ยวกับคาแรงงาน โดยทั่วไปการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับคาแรงงานประเภทตางๆ ประกอบดวย 3
ขั้นตอน คือ
1.บันทึกคาแรงงานขั้นตน รายการหักตางๆและเงินไดสุทธิ
2.การบันทึกการจําแนกประเภทคาแรงงาน
บทที่ 5 การบัญชีคาใชจายในการผลิต
ลักษณะของพฤติกรรมตนทุนคาใชจายการผลิต
ตนทุนตางๆที่เกิดขึ้นจากการผลิตในโรงงานที่ไมสามารถคิดเขาเปนตนทุนการผลิตของผลิตภัณฑใด
ผลิตภัณฑหนึ่งไดโดยตรงเรียกวา คาใชจายในการผลิต
การวิเคราะหคาใชจายการผลิตที่มีลักษณะเปนตนทุนกึ่งผันแปร
กิจการตองทําการแยกตนทุนทุกรายการออกเปนตนทุนคงที่และตนทุนผันแปรเพื่อที่จะใชใน
การวางแผนควบคุมรวมถึงการนําตนทุนไปใชในการตัดสินใจ ซึ่งกิจการหาวิธีหรือเทคนิคตางๆ ในการแยก
ตนทุนคาใชจายการผลิตที่มีลักษณะเปนตนทุนกึ่งผันแปรออกเปนตนทุนคงที่และตนทุนผันแปร ซึ่งวิธีที่
นิยมใชโดยทั่วไปมีดังนี้
1.วิธีการสังเกต
2.วิธีทางวิศวกรรม
3.วิธีแตมสูงต่ํา
4.วิธีการประมาณดวยตาหรือวิธีประมาณจากกราฟ
5.วิธีกําลังสองนอยที่สุด
คาใชจายการผลิตในวิธีตนทุนจริงและวิธีตนทุนปกติ การคิดคาใชจายการผลิตดวยวิธีตนทุน
จริง เปนการคํานวณตนทุนการผลิตจากตนทุนการผลิตที่เกิดขึ้นจริง
การเลือกหนวยตัวหารในการหาอัตราคาใชจายการผลิต การจะใชหนวยใดเปนตัวหารในการ
หาอัตราคาใชจายการผลิตคิดเขางานนั้นตองมีความสัมพันธกับคาใชจายการผลิตมากที่สุด และการคํานวณ
อัตราคาใชจายการผลิตตองทําไดโดยงายและสะดวกรวมถึงตัวหารที่นํามาใชนั้นสามารถวัดไดโดยงายดวย
เชนกันซึ่งหนวยตัวหารที่นิยมนํามาใชในการคํานวณหาอัตราคาใชจายการผลิตไดแก จํานวนหนวยสินคาที่
ผลิต ตนทุนวัตถุดิบทางตรง ตนทุนคาแรงงานทางตรง ชั่วโมงแรงงานทางตรง และชั่วโมงการทํางานของ
เครื่องจักร
การประมาณระดับการผลิต มีหลักการที่สามารถทําไดดังนี้
1.การประมาณตามระดับการผลิตตามทฤษฎีหรือระดับการผลิตตามอุดมคติ
2.การประมาณตามระดับการผลิตที่ปฏิบัติได
3.การประมาณตามระดับการผลิตปกติ
4.การประมาณตามระดับการผลิตที่คาดวาจะผลิตจริง
การจัดสรรคาใชจายการผลิตเปนตนทุนผลิตภัณฑ เมื่อกิจการไดกําหนดแลว กิจการตองหา
หนวยหรือฐานเปนตัวหารในการหาอัตราคาใชจายการผลิตที่เหมาะสมโดยพิจารณาวาคาใชจายการผลิต
เหลานั้นมีความสัมพันธกับเกณฑใดมากที่สุดแลวเลือกเกณฑนั้นมาคํานวณหาอัตราคาใชจายการผลิต
จากนั้นทําการจัดสรรคาใชจายการผลิตเหลานั้นเขาเปนตนทุนของผลิตภัณฑ วิธีจัดสรรที่นิยมใชกันอยูใน
ปจจุบันมี 3 วิธี ไดแก การจัดสรรคาใชจายการผลิตอัตราเดียว การจัดสรรคาใชจายการผลิตตามแผนก และ
การจัดสรรคาใชจายการผลิตดวยระบบตนทุนฐานกิจกรรม
การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับคาใชจายการผลิต การบันทึกบัญชีคาใชจายการผลิต กิจการจะบันทึกทั้ง
คาใชจายการผลิตจัดสรรและคาใชจายการผลิตที่เกิดขึ้นจริง ซึ่งคาใชจายการผลิตจัดสรรคํานวณจากอัตรา
คาใชจายการผลิตจัดสรรคูณกับจํานวนกิจกรรมหรือฐานที่ใชในการจัดสรร
บทที่ 6 การบัญชีตนทุนงานสั่งทํา
การบันทึกบัญชีในระบบตนทุนงานสั่งทํา
ในวงจรของการบัญชีตนทุนเกี่ยวกับการผลิตนั้น สวนใหญประกอบดวย 4 ขั้นตอน ดังนี้
1.การจัดซื้อและเบิกใชวัตถุดิบ
2.การรวบรวมและบันทึกคาแรงงาน
3.การสะสมคาใชจายการผลิตและการบันทึกบัญชี
4.การคิดตนทุนที่ผลิตเสร็จและการขายสินคาสําเร็จรูป
ความหมายเศษซากวัตถุดิบ สินคาเสีย และสินคามีตําหนิ
ปญหาที่กิจการพบบอยครั้งในการผลิตสินคา คือ การมีเศษซากวัตถุดิบ สินคาเสีย และสินคามี
ตําหนิ ซึ่งเปนผลมาจากสภาพการผลิตที่ปกติหรือสภาพการผลิตที่ผิดปกติ
การบัญชีเศษซากวัตถุดิบ เศษซากวัตถุดิบเปนวัตถุดิบที่เหลือจากการผลิตสินคาซึ่งมีมูลคา
เล็กนอย แมวาเศษซากวัตถุดิบจะมีมูลคาต่ําแตควรมีการควบคุมมิใหเกิดการสูญหายโดยทําการตรวจนับหรือ
ชางน้ําหนักเอาไวทุกครั้งและใสรายละเอียดตางๆ ลงในบัตรเศษซากวัตถุดิบ และสรุปเปนรายงานรวมถึง
การกําหนดมาตรฐานและสาเหตุที่เกิดเศษซากวัตถุดิบเพื่อใชในการปรับปรุงและแสดงถึงความมี
ประสิทธิภาพในการผลิต
การบัญชีเกี่ยวกับสินคาเสีย สิ่งที่หลีกเลี่ยงไมไดในการผลิตสินคาคือ สินคาเสีย ซึ่งสาเหตุที่ทํา
ใหเกิดสินคาเสียอาจจะเกิดจากการผลิตที่ไมมีประสิทธิภาพ แรงงานขาดความชํานาญ เครื่องจักรชํารุด เปน
ตน เมื่อมีสินคาเสียเกิดขึ้นตองมีการรายงานโดยระบุรายละเอียดตางๆ
การบัญชีเกี่ยวกับสินคามีตําหนิ สินคามีตําหนิเปนสินคาที่ทําการผลิตแลวไมไดมาตรฐานหรือ
คุณภาพตามที่ตองการแตสามารถที่จะปรับปรุงหรือซอมแซมใหอยูในสภาพดีได เมื่อกิจการทํา
การผลิตสินคาแลวมีสินคามีตําหนิเกิดขึ้น ถากิจการเลือกขายสินคามีตําหนินั้นในราคาที่ต่ํากวา
ปกติการบันทึกบัญชีคลายกับการบันทึกบัญชีสินคาเสีย แตถากิจการเลือกปรับปรุงซอมแซม
สินคาใหอยูในสภาพปกติก็สามารถที่จะขายสินคานี้ไดในราคาปกติ การบัญชีเกี่ยวกับสินคามี
ตําหนินั้นแบงสินคามีตําหนิเปน 2 ลักษณะ เชนเดียวกับสินคาเสีย คือ สินคามีตําหนิตามปกติ
และสินคามีตําหนิผิดปกติ
บทที่ 7 การบัญชีตนทุนชวงการผลิต
ลักษณะของการบัญชีตนทุน
1.มีการจัดเก็บและรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับการผลิตและจัดทํารายงานตนทุนการผลิตเปนแผนก
หรือเปนศูนยตนทุน(Cost Center) ชวงการผลิต
2.ตนทุนวัตถุดิบ คาแรงงาน และคาใชจายในการผลิตที่เกิดขึ้นจริงในแตละแผนกหรือแตละ
ศูนยตนทุนจะถูกสะสมไวในบัญชีงานระหวางทํา
3.รวบรวมขอมูลเกี่ยวกับหนวยผลิตเสร็จจากแผนกนั้นๆในกรณีที่มีงานระหวางทําคงเหลือใน
ตอนตนงวดและปลายงวดจะตองทําการปรับงานระหวางทําใหอยูในรูปของหนวยเทียบสําเร็จรูป
(Equivalent Unit)
4.คํานวณตนทุนตอหนวยของแตละแผนกหรือศูนยตนทุนในแตละงวด
5.ตนทุนของหนวยที่ผลิตเสร็จจะโอนออกจากบัญชีงานระหวางทําของแผนกที่ผลิตเสร็จไปยัง
บัญชีงานระหวางทําของแผนกตอไปหรือบัญชีสินคาสําเร็จรูป ตนทุนการผลิตจากแผนกตางๆ จะถูกสะสม
ตั้งแตแผนกแรกจนถึงแผนกสุดทายที่ทําการผลิตสินคานั้นเสร็จเปนสินคาสําเร็จรูป ซึ่งตนทุนทั้งหมดที่
สะสมนั้นคือตนทุนของสินคาสําเร็จรูป
6.การสะสมตนทุนรวมและตนทุนตอหนวยในแผนกหนึ่งๆ หรือหลายๆแผนกจะถูกแสดงไว
ในงบตนทุนการผลิตหรือรายงานตนทุนการผลิต ซึ่งงบตนทุนการผลิตอาจจะจัดทําแยกตามแผนกผลิตใน
กรณีที่มีหลายแผนก ถากิจการมีแผนกผลิตเพียง 2-3 แผนก อาจจัดทํารายงานตนทุนทุกแผนกรวมไวในงบ
ตนทุนการผลิตเดียวกัน
ระบบชวงการผลิตมีรูปแบบการผลิตที่นิยมนํามาใชในกิจการมีอยู 3 รูปแบบ ดังนี้
1. กระบวนการผลิตแบบเรียงลําดับ (Sequential Processing)
2. การผลิตแบบขนาน (Parallel Processing)
3. การผลิตแบบจําแนก (Selective Processing)
การบันทึกตนทุนของระบบตนทุนชวงการผลิต
1.การบันทึกวัตถุดิบ
มีการรวบรวมวัตถุดิบที่ใชเปนแผนกโดยระบุรายละเอียดวาเบิกวัตถุดิบชนิดใด จํานวนเทาใด แตไมตอง
จําแนกวาวัตถุดิบที่เบิกใชนั้นเปนวัตถุดิบทางตรงหรือทางออม ซึ่งการบันทึกบัญชีจะเปดบัญชีงานระหวาง
ทําแยกเปนแผนกเทากับจํานวนแผนกผลิต
2.การบันทึกคาแรงงาน
จะทําเชนเดียวกับการบันทึกวัตถุดิบ แตการบันทึกคาแรงงานจะไมยุงยากเหมือนกับระบบตนทุนงานสั่งทําที่
ตองแยกคนงานวาทํางานใด รุนใด จํานวนกี่ชั่วโมง เพราะในระบบตนทุนชวงการผลิตมีการแบงแยกคนงาน
เปนแผนกอยูแลวจึงสามารถบันทึกชั่วโมงการทํางานจากบัตรบันทึเวลาทํางาน (Time Tickets) และบัตรลง
เวลา (Clock Cards) ไดเลย แตถาพบวามีคาแรงงานที่ไมสามารถเขาแผนกใดแผนกหนึ่งได เขน เงินเดือน
ของผูจัดการโรงงาน ใหบันทึกในบัญชีคาใชจายการผลิต
3.การบันทึกคาใชจายการผลิต คาใชจายการผลิตที่เกิดขึ้นในระบบตนทุนชวงจะแตกตางจาก
ระบบตนทุนงานสั่งทํา กลาวคือระบบตนทุนงานสั่งทําคิดคาใชจายการผลิตจัดสรรลวงหนา สวนระบบ
ตนทุนชวงอาจจะบันทึกคาใชจายการผลิตที่เกิดขึ้นจริงเพราะการรวบรวมตนทุนมักจะทําตอนสิ้นงวดหรือ
สิ้นรอบระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง นอกจากนี้การรวบรวมคาใชจายการผลิตแยกตามแผนกผลิต ถามีคาใชจายใด
ที่ไมสามารถระบุวาเปนของแผนกใดแผนกหนึ่งโดยเฉพาะ เชน เงินเดือนผูจัดการโรงาน คาเชา คาน้ํา คาไฟ
เปนตน ใหปนสวนคาใชจายเหลานี้แกแผนกผลิตตามหลักเกณฑ
หนวยเทียบเทาสําเร็จรูป
การผลิตสินคาในแตละครั้งของระบบตนทุนชวงการผลิตมักจะตองผานแผนกผลิตหลายแผนก ซึ่งในแตละ
แผนกรวบรวมตนทุนทั้งหมดที่เกิดขึ้นแลวคํานวณหาตนทุนตอหนวยแลวทําการโอนตนทุนเหลานี้ไปยัง
แผนกถัดไปทําเชนนี้ไปเรื่อยๆ จนถึงแผนกสุดทายจนเปนตนทุนสินคาสําเร็จรูป
บทที่ 8 ระบบตนทุนชวงการผลิต
กรณีที่มีงานระหวางทําตนงวด
ในกรณีที่ไมมีงานระหวางทําตนงวด การคํานวณหาตนทุนในระบบตนทุนชวงสามารถทําได
โดยงาย เพราะตนทุนทั้งหมดเกิดขึ้นในงวดบัญชีเดียวกันสงผลใหตนทุนตอหนวยมีราคาเดียว แตถามีงาน
ระหวางทําตนงวด ตนทุนตอหนวยในงวดบัญชีกอนอาจจะไมเทากับตนทุนตอหนวยที่ผลิตในงวดปจจุบัน
เปนผลมาจากตนทุนวัตถุดิบทางตรง คาแรงงานทางตรง และคาใชจายการผลิตในแตละงวดไมเทากัน ทําให
เกิดปญหาที่ตองพิจารณา
การคํานวณดวยวิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก
วิธีนี้จะนําเอาตนทุนของงานระหวางทําตนงวดรวมกับตนทุนที่เกิดขึ้นในงวดบัญชีปจจุบันจะ
ไดตนทุนการผลิตทั้งหมดแลวหารดวยหนวยเทียบเทาสําเร็จรูปของแผนกผลิตจะไดตนทุนการผลิตตอหนวย
ตามวิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก ซึ่งวิธีนี้ใชหลักการที่วางานระหวางทําตนงวดถือเปนสวนหนึ่งของตนทุนการ
ผลิตในงวดบัญชีปจจุบันโดยไมสนใจวาจะผลิตจากงวดบัญชีกอนมาแลวเปนสัดสวนเทาใด วิธีนี้สงผลให
ตนทุนการผลิตตอหนวยจะไมมีความแตกตางกันระหวางงานที่ยกมาจากงวดบัญชีกอนกับงานที่ผลิตในงวด
ปจจุบัน
การคํานวณดวยวิธีเขากอนออกกอน
วิธีนี้จะคิดตนทุนงานระหวางทําตนงวดแยกออกจากตนทุนการผลิตที่ผลิตในงวดปจจุบันโดย
มีหลักการ คือ จะใหงานระหวางทําตนงวดเปนงานที่ผลิตเสร็จไปกอนเปนอันดับแรกแลวจึงคิดตนทุนของ
หนวยที่ผลิตเสร็จในงวดปจจุบัน จึงทําใหเกิดหนวยผลิตและตนทุนเปน 2 สวน คือ สวนของงานที่คงเหลือ
มาจากงวดบัญชีกอนกับงานที่เริ่มผลิตในงวดปจจุบัน ซึ่งจะแตกตางจากการคํานวณตนทุนดวยวิธีแบบถัว
เฉลี่ยถวงน้ําหนักที่มีตนทุนการผลิตเพียงชุดเดียว
บทที่ 9 ผลิตภัณฑรวมและผลิตภัณฑพลอยได
ผลิตภัณฑรวม
หมายถึง ผลิตภัณฑตั้งแต 2 ชนิดที่เกิดขึ้นพรอมกันโดยใชวัตถุดิบทางตรง คาแรงงานทางตรง
คาใชจายการผลิตรวมกันและปริมาณที่ไดรวมถึงมูลคาของผลิตภัณฑแตละชนิดใกลเคียงกัน ขอสังเกตที่จะ
สรุปวา ผลผลิตเหลานั้นเปนผลิตภัณฑรวมโดยพิจารณาจากเงื่อนไขดังนี้
การจัดสรรตนทุนใหผลิตภัณฑรวม
สําหรับวิธีการจัดสรรตนทุนรวมใหกับผลิตภัณฑรวมตางๆสามารถทําไดหลายวิธีซึ่งแตละ
กิจการจะใชวิธีใดขึ้นอยูกับลักษณะของผลิตภัณฑ ขอมูลที่ไดรับ นโยบายของกิจการ เปนตน วิธีที่ใชมี 4
วิธีการดวยกัน คือ
1.การจัดสรรตนทุนรวมตามราคาตลาดหรือมูลคาขายของผลิตภัณฑรวม(Sales Value)
2.การจัดสรรตนทุนรวมตามปริมาณหนวยของผลผลิต(Physical Measures)
3.การจัดสรรตนทุนรวมตามตนทุนถัวเฉลี่ยตอหนวย(Average Unit Cost)
4.การจัดสรรตนทุนรวมโดยการถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก(Weighted Average Cost)
การบัญชีสําหรับผลิตภัณฑพลอยได
การบัญชีสําหรับผลิตภัณฑพลอยได มีแนวความคิดเปนที่ยอมรับอยู 2 แนวความคิด คือ
1.ใหบันทึกบัญชีผลิตภัณฑพลอยไดโดยไมมีการจัดสรรตนทุนรวมที่เกิดขึ้นจึงไมมีการบันทึก
ตนทุนและสินคาคงเหลือของผลิตภัณฑพลอยไดแตใหบันทึกไวที่บัตรตรวจนับแทน
2.ใหมีการจัดสรรตนทุนรวมเปนตนทุนผลิตภัณฑพลอยไดและใหนําตนทุนของผลิตภัณฑพลอยได
ไปลดยอดตนทุนการผลิตสินคาในบัญชีงานระหวางทํา
บทที่ 10 การบัญชีตนทุนมาตรฐาน
ประโยชนของตนทุนมาตรฐาน
1.ใชเปนขอมูลในการจัดทํางบประมาณ เมื่อกิจการไดกําหนดตนทุนมาตรฐานเอาไวลวงหนาทําให
สามารถนํามาปรับเปนงบประมาณในแตละงวดได
2.ใชตนทุนมาตรฐานเปนเครื่องมือในการควบคุมตนทุนที่เกิดขึ้นจริงวามีผลแตกตางในทิศทางใด
ถาเปนผลแตกตางที่ไมนาพอใจจะไดปรับปรุงใหทันเวลากอนที่ความเสียหายจะทวีความรุนแรง
มากขึ้น
3.สามารถนํามาใชในการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงาน การกําหนดมาตรฐานที่ใชในการ
ประเมินผลนั้นควรมีความเปนไปไดในทางปฏิบัติกลาวคือไมตึงหรือหยอนจนเกินไป เพราะจะเปน
แรงจูงใจใหพนักงานปฏิบัติตามมาตรฐานที่กําหนดไว
4.การใชตนทุนมาตรฐานทําใหประหยัดเวลาและคาใชจายในการบันทึกบัญชี รวมถึงสามารถ
นําไปใชในการตัดสินใจไดทันที เนื่องจากการใชระบบบัญชีตนทุนมาตรฐานทําใหกิจการสามารถตี
ราคาสินคาคงเหลือ การคํานวณตนทุนเบิกใชวัตถุดิบ การคํานวณตนทุนสินคาสําเร็จรูปไดทันทีโดย
ไมตองรอรวบรวมจากตนทุนที่เกิดขึ้นจริง ทําใหกิจการสามารถนําตัดสินใจไดทันทีในการกําหนด
ราคาขายของสินคา การรับเหมาะ การประมูลงาน เปนตน
การบัญชีตนทุนมาตรฐาน
1.ตนทุนมาตรฐานวัตถุดิบทางตรง
2.ตนทุนมาตรฐานคาแรงงานทางตรง
3.ตนทุนมาตรฐานคาใชจายในการผลิต
การวิเคราะหผลตางตนทุนมาตรฐาน
การจัดทําตนทุนมาตรฐานนั้นเพื่อแสดงถึงความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดําเนินงาน
ของแตละแผนกวามีมากนอยเพียงใด โดยนํามาเปรียบเทียบกับตนทุนการผลิตที่เกิดขึ้นจริง ผลตาง
ระหวางตนทุนมาตรฐานกับตนทุนที่เกิดขึ้นจริงมีทั้งผลตางที่นาพอใจ (Favorable Variance) และ
ผลตางไมนาพอใจ (Unfavorable Variance) ซึ่งผลตางที่นาพอใจกิจการดํารงการปฏิบัติงานรูปแบบ
นั้นไว สวนผลตางไมนาพอใจรีบหาสาเหตุ สถานที่เกิด และผูรับผิดชอบแลวหาทางปรับปรุงแกไข
ทันทีกอนที่จะสรางความเสียหาย
การวิเคราะหผลตางวัตถุดิบทางตรง (Direct Material Variance Analysisจะทําการประเมิน 2
ลักษณะ คือ การวิเคราะหผลตางดานราคา (Price Variance) และการวิเคราะหผลตางดานปริมาณการใช
(Efficiency or Usage Variance)
การวิเคราะหผลตางคาแรงทางตรง (Direct Labor Variance Analysis) การวิเคราะหผลตาง
คาแรงงานทางตรงจะทําการประเมินเชนเดียวกับการวิเคราะหผลตางวัตถุดิบทางตรง โดยประเมินใน 2
ลักษณะ คือ การวิเคราะหผลตางดานอัตราคาแรงงาน และการวิเคราะหผลตางดานประสิทธิภาพคาแรง
การวิเคราะหผลตางคาใชจายการผลิต (Manufacturing Overhead Variance Analysis) เปนการ
เปรียบเทียบระหวางตนทุนคาใชจายการผลิตตามมาตรฐานกับตนทุนคาใชจายการผลิตที่เกิดขึ้นจริง
สามารถทําได 4 วิธี คือ การวิเคราะหผลตางคาใชจายการผลิตแบบผลตางเดียว แบบ 2 ผลตาง แบบ 3
ผบตาง แบบ 4 ผลตาง

More Related Content

Similar to Ac01

แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไปแผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไปNoree Sapsopon
 
9789740336327
97897403363279789740336327
9789740336327CUPress
 
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจบทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจThamonwan Theerabunchorn
 
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชนหลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชนtelecentreacademy
 
Financial management for exceutive
Financial management for exceutiveFinancial management for exceutive
Financial management for exceutiveKASETSART UNIVERSITY
 
9789740330981
97897403309819789740330981
9789740330981CUPress
 
SU_AP_Overview_Training_vF_Final.pdf
SU_AP_Overview_Training_vF_Final.pdfSU_AP_Overview_Training_vF_Final.pdf
SU_AP_Overview_Training_vF_Final.pdfBigmong Mong
 
__________ 2
  __________ 2  __________ 2
__________ 2paka10011
 
คำอธิบายรายวิชา บัญชี
คำอธิบายรายวิชา บัญชีคำอธิบายรายวิชา บัญชี
คำอธิบายรายวิชา บัญชีSommard Choomsawad
 
บัญชีเบื้องต้น.pdf
บัญชีเบื้องต้น.pdfบัญชีเบื้องต้น.pdf
บัญชีเบื้องต้น.pdfWattanaNanok
 
บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1Orawonya Wbac
 
แบบทดสอบครั้งที่1
แบบทดสอบครั้งที่1แบบทดสอบครั้งที่1
แบบทดสอบครั้งที่1thai01
 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...Earn LikeStock
 

Similar to Ac01 (20)

แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไปแผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป
 
9789740336327
97897403363279789740336327
9789740336327
 
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจบทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
 
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชนหลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
 
Financial management for exceutive
Financial management for exceutiveFinancial management for exceutive
Financial management for exceutive
 
บทที่ 11 เนื้อหา
บทที่ 11 เนื้อหาบทที่ 11 เนื้อหา
บทที่ 11 เนื้อหา
 
FM-short.pptx
FM-short.pptxFM-short.pptx
FM-short.pptx
 
แผนภาพ
แผนภาพแผนภาพ
แผนภาพ
 
financial analysis.pptx
financial analysis.pptxfinancial analysis.pptx
financial analysis.pptx
 
แผนธุรกิจ
แผนธุรกิจแผนธุรกิจ
แผนธุรกิจ
 
Ch1
Ch1Ch1
Ch1
 
9789740330981
97897403309819789740330981
9789740330981
 
SU_AP_Overview_Training_vF_Final.pdf
SU_AP_Overview_Training_vF_Final.pdfSU_AP_Overview_Training_vF_Final.pdf
SU_AP_Overview_Training_vF_Final.pdf
 
__________ 2
  __________ 2  __________ 2
__________ 2
 
01 ma
01 ma01 ma
01 ma
 
คำอธิบายรายวิชา บัญชี
คำอธิบายรายวิชา บัญชีคำอธิบายรายวิชา บัญชี
คำอธิบายรายวิชา บัญชี
 
บัญชีเบื้องต้น.pdf
บัญชีเบื้องต้น.pdfบัญชีเบื้องต้น.pdf
บัญชีเบื้องต้น.pdf
 
บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1
 
แบบทดสอบครั้งที่1
แบบทดสอบครั้งที่1แบบทดสอบครั้งที่1
แบบทดสอบครั้งที่1
 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
 

Ac01

  • 1. วิชา การบัญชีตนทุน (Cost Accounting) บทที่ 1 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีตนทุน -วัตถุประสงคของการบัญชีตนทุน 1.เพื่อใหทราบถึงตนทุนการผลิตสินคาหรือบริการ 2.เพื่อใชในการคํานวณมูลคาสินคาคงเหลือ 3.เพื่อใชในการวางแผนและควบคุม 4.เพื่อใชเปนเครื่องมือในการตัดสินใจ 5.การกําหนดราคาขายสินคา ความสัมพันธของการบัญชีตนทุนกับการบัญชีการเงิน และบัญชีบริหาร เปาหมายของการบันทึกบัญชีคือการเก็บรวบรวมขอมูลทางการเงินเพื่อใชในการตัดสินใจตามภาวะ เศรษฐกิจที่เปลี่ยนไป ซึ่งขอบเขตของหลักการบัญชีจะแบงเปน 3 สวนหลักคือ บัญชีการเงิน บัญชี บริหาร และบัญชีตนทุน บัญชีการเงิน เปนการจัดทําบัญชีเกี่ยวกับ สินทรัพย หนี้สิน สวนของเจาของ รายได และคาใชจาย เพื่อใหทราบถึงฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงานของกิจการ ไดแก งบดุล งบกําไรขาดทุน งบ กําไรสะสม และงบกระแสเงินสด บัญชีบริหาร เนนขอมูลที่เปนอดีต ปจจจุบัน และคาดการณในอนาคตแลวนํามาวิเคราะหเพื่อการ วางแผน ควบคุม ประเมินผล การวัดผลการดําเนินงาน และการตัดสินใจทั้งในระยะสั้นและระยะยาว บัญชีตนทุน เปนสวนหนึ่งของทั้งบัญชีการเงินและบัญชีบริหารเพราะเปนการเก็บรวบรวม วิเคราะห และรายงานขอมูลเกี่ยวกับตนทุนในอดีต ปจจุบันและอนาคต ความหมายของตนทุน คาใชจาย และขาดทุน ตนทุน หมายถึง มูลคาของทรัพยากรที่วัดออกมาเปนหนวยเงินตราที่ไดสูญเสียไปเพื่อใหไดสินคา สินทรัพย หรือบริการตางๆ คาใชจาย หมายถึง ตนทุนที่ถูกใชประโยชนไปบางสวนหรือทั้งหมดในงวดบัญชีนั้นและกิจการไดใช ประโยชนทั้งหมดแลวในขณะนั้นทําใหสภาพการเปนตนทุนไดจบลง
  • 2. ขาดทุน หมายถึง ตนทุนที่ถูกใชไปโดยไมกอใหเกิดประโยชนกับกิจการ เชน สินคาชํารุดเสียหายที่เกิด จากการผลิตหรือจัดเก็บ ทําใหไมสามารถขายไดในราคาปกติหรือขายไมไดเลยทําใหเกิดผลขาดทุน การจําแนกตนทุนตามวัตถุประสงคของการใชตนทุน เมื่อเขาใจถึงความหมายของตนทุน คาใชจาย และขาดทุนแลว ตอไปจะอธิบายถึงการจําแนกตนทุนตาม ลักษณะตางๆและตามวัตถุประสงคของการใชตนทุน ซึ่งสามารถแบงไดเปน 8 ประเภท ดังนี้ 1.การจําแนกตนทุนตามสวนประกอบของผลิตภัณฑ 2.การจําแนกตนทุนตามปริมาณกิจกรรม 3.การจําแนกตนทุนตามระยะเวลา 4.การจําแนกตนทุนตามลักษณะการดําเนินงาน 5.การจําแนกตนทุนตามความสัมพันธกับหนวยตนทุน 6.การจําแนกตนทุนเพื่อการควบคุมและวัดผลการปฏิบัติงาน 7.การจําแนกตนทุนโดยพิจารณาจากชวงเวลาในการคํานวณกําไร 8.การจําแนกตนทุนเพื่อการตัดสินใจ สถาบันและหนวยงานทางวิชาชีพที่มีบทบาทตอการพัฒนาบัญชีตนทุน สถาบันและหนวยงานทางวิชาชีพบัญชีที่มีบทบาทตอการพัฒนาขอมูลทางบัญชีตนทุนใหเปนขอมูลที่มี ความทันสมัยทันตอเหตุการณ และมีความนาเชื่อถือ เพื่อใชในการตัดสินใจของผูบริหารนั้นมีทั้ง สถาบันและหนวยงานทางวิชาชีพทั้งในประเทศและตางประเทศที่ควรรูจัก คือ 1.สภาวิชาชีพบัญชี 2.คณะกรรมการควบคุมการประกอบวิชาชีพสอบบัญชี 3.สมาคมนักบัญชีบริหาร 4.สถาบันผูสอบบัญชีรับอนุญาตแหงประเทศสหรัฐอเมริกา 5.คณะกรรมการมาตรฐานการบัญชีการเงิน 6.สมาพันธการบัญชีอเมริกัน
  • 3. 7.สภานักบัญชีนานาชาติ 8.สถาบันนักบัญชีบริหารรับอนุญาต บทที่ 2 ระบบบัญชีตนทุนและการจัดทํางบการเงิน การดําเนินธุรกิจในปจจุบันไมวาจะเปนธุรกิจผลิตสินคา ธุรกิจซื้อขายสินคา และธุรกิจบริการ มีวิธีการ จัดหาสินคาและบริการแตกตางกัน ทําใหตองทําความเขาใจในการคํานวณตนทุนการผลิตสินคาและ บริการใหถูกตอง การคํานวณตนทุนของธุรกิจผลิตสินคา งบตนทุนการผลิต งบกําไรขาดทุน งบดุล ระบบการบัญชีตนทุน ในกระบวนการผลิตสินคาของธุรกิจอุตสาหกรรมเพื่อที่จะตอบสนองความตองการของลูกคา สามารถ แยกไดเปน 2 ประเภท คือ 1.ระบบบัญชีตนทุนงานสั่งทํา 2.ระบบตนทุนชวงหรือตนทุนกระบวนการ บทที่ 3 การบัญชีตนทุนวัตถุดิบ ความหมายและประเภทของวัตถุดิบ วัตถุดิบ คือ สวนประกอบสําคัญในการผลิตที่จะถูกเปลี่ยนสภาพกลายมาเปนสินคาสําเร็จรูป โดยทั่วไป ตนทุนของวัตถุดิบในการผลิตสินคาแบงออกเปน 2 ลักษณะ คือ 1.วัตถุดิบทางตรง 2.วัตถุดิบทางออม
  • 4. การวางแผนและควบคุมวัตถุดิบ การรักษาระดับวัตถุดิบคงเหลือใหอยูในระดับที่เหมาะสมนับวาเปนวัตถุประสงคหนึ่งที่สําคัญที่สุดใน การควบคุมวัตถุดิบ ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด (EOQ) เปนแนวความคิดในการสั่งซื้อวัตถุดิบวาการซื้อ วัตถุดิบแตละครั้งควรมีจํานวนเทาใดจึงจะทําใหมีตนทุนรวมต่ําที่สุด โดยเปรียบเทียบระหวางคาใชจาย ในการสั่งซื้อและคาใชจายในการเก็บรักษา ซึ่งคาใชจายทั้งสองประเภทนี้มีความสัมพันธในทิศทาง ตรงกันขาม จุดสั่งซื้อวัตถุดิบ เมื่อฝายบริหารทราบถึงปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุดแลวจะตองพิจารณา ตอไปวาจะทําการสั่งซื้อเมื่อวัตถุดิบนั้นเหลืออยูในปริมาณเทาใด ซึ่งการหาจุดสั่งซื้อนั้นกิจการตอง ทราบ 1.ระยะเวลาในการจัดหาวัตถุดิบ 2.อัตราการใชวัตถุดิบ 3.สินคาที่ตองมีไวเพื่อความปลอดภัย ปริมาณการสั่งซื้อในกรณีที่มีสวนลด การที่ผูขายตองการขายสินคาในแตละครั้งเปนจํานวน มากนั้น วิธีหนึ่งที่นิยมใชในปจจุบันคือการใหสวนลด ซึ่งมีการกําหนดเงื่อนไขเพิ่มขึ้นซึ่งอาจจะสงผลตอ ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด การจัดซื้อและการบันทึกบัญชีวัตถุดิบ กิจการจะตองทําการสั่งซื้อวัตถุดิบใหเพียงพอที่จะใชใน การผลิต สวนใหญผูควบคุมวัตถุดิบหรือพนักงานผูลงบัญชีพัสดุจะมีหนาที่รับผิดชอบการรับจายวัตถุดิบ และดูแลปริมาณวัตถุดิบที่มีอยู การเบิกใชและบันทึกบัญชีวัตถุดิบ เมื่อผูมีอํานาจในการเบิกใชวัตถุดิบหรือแผนกผลิตตองการ เบิกวัตถุดิบไปใชในการผลิตสินคาจะตองออกใบเบิกวัตถุดิบ ซึ่งใบเบิกวัตถุดิบที่จัดทําขึ้นนั้นมี 4 ฉบับ การคํานวณตนทุนวัตถุดิบใชไปและการตีราคาวัตถุดิบคงเหลือ ในการดําเนินงานของกิจการ ผลิตสินคาขายตองมีการสั่งซื้อวัตถุดิบเขามาผลิตซึ่งในทางปฏิบัติวัตถุดิบที่ซื้อเขามามีมากมายหลายชนิด และแตละชนิดราคาที่ซื้อเขามาแตละครั้งไมเทากัน การตีราคาวัตถุดิบคงเหลือราคาทุน วิธีการคํานวณราคาวัตถุดิบคงเหลือตามราคาทุนตาม มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 เรื่องสินคาคงเหลือ กําหนดวิธีการคํานวณ 3 วิธี ดังนี้
  • 5. 1.วิธีตามราคาที่แทจริง 2.วิธีซื้อกอนใชกอน 3.วิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก การตีราคาวัตถุดิบคงเหลือตามราคาตลาดหรือราคาทุน ที่ต่ํากวา บทที่ 4 การบัญชีคาแรงงาน ความหมายและประเภทคาแรงงาน คาแรงงาน หมายถึง คาจาง และเงินเดือน ที่จายใหแกพนักงานหรือลูกจางของกิจการ สําหรับคาจางนั้น กิจการจะจายเปนรายชั่วโมง รายวัน หรือรายชิ้นที่ผลิตได นอกจากนี้กิจการที่ผลิตสินคาตองทําการแบง ตนทุนแรงงานออกเปน 2 ประเภท คือ คาแรงงานทางตรง และคาแรงงานทางออม การจัดเก็บเวลาทํางาน สําหรับกิจการที่มีขนาดใหญ ในการบริหารงานเกี่ยวกับจัดหา วางแผน และควบคุมแรงงาน จะมีแผนกตางๆที่รับผิดชอบ ไดแก แผนกบุคคลากร ทําหนาที่ในการจัดหาและจัดจาง แรงงานรวมถึงการฝกอบรมฝมือแรงงานและการจัดสวัสดิการตางๆใหกับพนักงาน สําหรับกิจการที่มีขนาดใหญ ในการบริหารงานเกี่ยวกับจัดหา วางแผน และควบคุมแรงงาน การคํานวณและจําแนกประเภทคาแรงงาน สําหรับกิจการที่มีขนาดใหญนั้นเปนหนาที่ของ แผนกคิดคาแรงงาน สวนกิจการที่มีขนาดเล็กนั้นจะมอบหมายใหเจาหนาที่คนใดคนหนึ่งมารับผิดชอบงาน ดังกลาว การคํานวณคาแรงงานโดยทั่วไปจะประกอบดวยสวนสําคัญ 2 สวน คือ การคํานวณคาแรงงาน ขั้นตน และการคํานวณคาแรงงานสุทธิ การบัญชีเกี่ยวกับคาแรงงาน โดยทั่วไปการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับคาแรงงานประเภทตางๆ ประกอบดวย 3 ขั้นตอน คือ 1.บันทึกคาแรงงานขั้นตน รายการหักตางๆและเงินไดสุทธิ 2.การบันทึกการจําแนกประเภทคาแรงงาน
  • 6. บทที่ 5 การบัญชีคาใชจายในการผลิต ลักษณะของพฤติกรรมตนทุนคาใชจายการผลิต ตนทุนตางๆที่เกิดขึ้นจากการผลิตในโรงงานที่ไมสามารถคิดเขาเปนตนทุนการผลิตของผลิตภัณฑใด ผลิตภัณฑหนึ่งไดโดยตรงเรียกวา คาใชจายในการผลิต การวิเคราะหคาใชจายการผลิตที่มีลักษณะเปนตนทุนกึ่งผันแปร กิจการตองทําการแยกตนทุนทุกรายการออกเปนตนทุนคงที่และตนทุนผันแปรเพื่อที่จะใชใน การวางแผนควบคุมรวมถึงการนําตนทุนไปใชในการตัดสินใจ ซึ่งกิจการหาวิธีหรือเทคนิคตางๆ ในการแยก ตนทุนคาใชจายการผลิตที่มีลักษณะเปนตนทุนกึ่งผันแปรออกเปนตนทุนคงที่และตนทุนผันแปร ซึ่งวิธีที่ นิยมใชโดยทั่วไปมีดังนี้ 1.วิธีการสังเกต 2.วิธีทางวิศวกรรม 3.วิธีแตมสูงต่ํา 4.วิธีการประมาณดวยตาหรือวิธีประมาณจากกราฟ 5.วิธีกําลังสองนอยที่สุด คาใชจายการผลิตในวิธีตนทุนจริงและวิธีตนทุนปกติ การคิดคาใชจายการผลิตดวยวิธีตนทุน จริง เปนการคํานวณตนทุนการผลิตจากตนทุนการผลิตที่เกิดขึ้นจริง การเลือกหนวยตัวหารในการหาอัตราคาใชจายการผลิต การจะใชหนวยใดเปนตัวหารในการ หาอัตราคาใชจายการผลิตคิดเขางานนั้นตองมีความสัมพันธกับคาใชจายการผลิตมากที่สุด และการคํานวณ อัตราคาใชจายการผลิตตองทําไดโดยงายและสะดวกรวมถึงตัวหารที่นํามาใชนั้นสามารถวัดไดโดยงายดวย เชนกันซึ่งหนวยตัวหารที่นิยมนํามาใชในการคํานวณหาอัตราคาใชจายการผลิตไดแก จํานวนหนวยสินคาที่ ผลิต ตนทุนวัตถุดิบทางตรง ตนทุนคาแรงงานทางตรง ชั่วโมงแรงงานทางตรง และชั่วโมงการทํางานของ เครื่องจักร การประมาณระดับการผลิต มีหลักการที่สามารถทําไดดังนี้ 1.การประมาณตามระดับการผลิตตามทฤษฎีหรือระดับการผลิตตามอุดมคติ 2.การประมาณตามระดับการผลิตที่ปฏิบัติได
  • 7. 3.การประมาณตามระดับการผลิตปกติ 4.การประมาณตามระดับการผลิตที่คาดวาจะผลิตจริง การจัดสรรคาใชจายการผลิตเปนตนทุนผลิตภัณฑ เมื่อกิจการไดกําหนดแลว กิจการตองหา หนวยหรือฐานเปนตัวหารในการหาอัตราคาใชจายการผลิตที่เหมาะสมโดยพิจารณาวาคาใชจายการผลิต เหลานั้นมีความสัมพันธกับเกณฑใดมากที่สุดแลวเลือกเกณฑนั้นมาคํานวณหาอัตราคาใชจายการผลิต จากนั้นทําการจัดสรรคาใชจายการผลิตเหลานั้นเขาเปนตนทุนของผลิตภัณฑ วิธีจัดสรรที่นิยมใชกันอยูใน ปจจุบันมี 3 วิธี ไดแก การจัดสรรคาใชจายการผลิตอัตราเดียว การจัดสรรคาใชจายการผลิตตามแผนก และ การจัดสรรคาใชจายการผลิตดวยระบบตนทุนฐานกิจกรรม การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับคาใชจายการผลิต การบันทึกบัญชีคาใชจายการผลิต กิจการจะบันทึกทั้ง คาใชจายการผลิตจัดสรรและคาใชจายการผลิตที่เกิดขึ้นจริง ซึ่งคาใชจายการผลิตจัดสรรคํานวณจากอัตรา คาใชจายการผลิตจัดสรรคูณกับจํานวนกิจกรรมหรือฐานที่ใชในการจัดสรร บทที่ 6 การบัญชีตนทุนงานสั่งทํา การบันทึกบัญชีในระบบตนทุนงานสั่งทํา ในวงจรของการบัญชีตนทุนเกี่ยวกับการผลิตนั้น สวนใหญประกอบดวย 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1.การจัดซื้อและเบิกใชวัตถุดิบ 2.การรวบรวมและบันทึกคาแรงงาน 3.การสะสมคาใชจายการผลิตและการบันทึกบัญชี 4.การคิดตนทุนที่ผลิตเสร็จและการขายสินคาสําเร็จรูป ความหมายเศษซากวัตถุดิบ สินคาเสีย และสินคามีตําหนิ ปญหาที่กิจการพบบอยครั้งในการผลิตสินคา คือ การมีเศษซากวัตถุดิบ สินคาเสีย และสินคามี ตําหนิ ซึ่งเปนผลมาจากสภาพการผลิตที่ปกติหรือสภาพการผลิตที่ผิดปกติ การบัญชีเศษซากวัตถุดิบ เศษซากวัตถุดิบเปนวัตถุดิบที่เหลือจากการผลิตสินคาซึ่งมีมูลคา เล็กนอย แมวาเศษซากวัตถุดิบจะมีมูลคาต่ําแตควรมีการควบคุมมิใหเกิดการสูญหายโดยทําการตรวจนับหรือ ชางน้ําหนักเอาไวทุกครั้งและใสรายละเอียดตางๆ ลงในบัตรเศษซากวัตถุดิบ และสรุปเปนรายงานรวมถึง การกําหนดมาตรฐานและสาเหตุที่เกิดเศษซากวัตถุดิบเพื่อใชในการปรับปรุงและแสดงถึงความมี ประสิทธิภาพในการผลิต
  • 8. การบัญชีเกี่ยวกับสินคาเสีย สิ่งที่หลีกเลี่ยงไมไดในการผลิตสินคาคือ สินคาเสีย ซึ่งสาเหตุที่ทํา ใหเกิดสินคาเสียอาจจะเกิดจากการผลิตที่ไมมีประสิทธิภาพ แรงงานขาดความชํานาญ เครื่องจักรชํารุด เปน ตน เมื่อมีสินคาเสียเกิดขึ้นตองมีการรายงานโดยระบุรายละเอียดตางๆ การบัญชีเกี่ยวกับสินคามีตําหนิ สินคามีตําหนิเปนสินคาที่ทําการผลิตแลวไมไดมาตรฐานหรือ คุณภาพตามที่ตองการแตสามารถที่จะปรับปรุงหรือซอมแซมใหอยูในสภาพดีได เมื่อกิจการทํา การผลิตสินคาแลวมีสินคามีตําหนิเกิดขึ้น ถากิจการเลือกขายสินคามีตําหนินั้นในราคาที่ต่ํากวา ปกติการบันทึกบัญชีคลายกับการบันทึกบัญชีสินคาเสีย แตถากิจการเลือกปรับปรุงซอมแซม สินคาใหอยูในสภาพปกติก็สามารถที่จะขายสินคานี้ไดในราคาปกติ การบัญชีเกี่ยวกับสินคามี ตําหนินั้นแบงสินคามีตําหนิเปน 2 ลักษณะ เชนเดียวกับสินคาเสีย คือ สินคามีตําหนิตามปกติ และสินคามีตําหนิผิดปกติ บทที่ 7 การบัญชีตนทุนชวงการผลิต ลักษณะของการบัญชีตนทุน 1.มีการจัดเก็บและรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับการผลิตและจัดทํารายงานตนทุนการผลิตเปนแผนก หรือเปนศูนยตนทุน(Cost Center) ชวงการผลิต 2.ตนทุนวัตถุดิบ คาแรงงาน และคาใชจายในการผลิตที่เกิดขึ้นจริงในแตละแผนกหรือแตละ ศูนยตนทุนจะถูกสะสมไวในบัญชีงานระหวางทํา 3.รวบรวมขอมูลเกี่ยวกับหนวยผลิตเสร็จจากแผนกนั้นๆในกรณีที่มีงานระหวางทําคงเหลือใน ตอนตนงวดและปลายงวดจะตองทําการปรับงานระหวางทําใหอยูในรูปของหนวยเทียบสําเร็จรูป (Equivalent Unit) 4.คํานวณตนทุนตอหนวยของแตละแผนกหรือศูนยตนทุนในแตละงวด 5.ตนทุนของหนวยที่ผลิตเสร็จจะโอนออกจากบัญชีงานระหวางทําของแผนกที่ผลิตเสร็จไปยัง บัญชีงานระหวางทําของแผนกตอไปหรือบัญชีสินคาสําเร็จรูป ตนทุนการผลิตจากแผนกตางๆ จะถูกสะสม ตั้งแตแผนกแรกจนถึงแผนกสุดทายที่ทําการผลิตสินคานั้นเสร็จเปนสินคาสําเร็จรูป ซึ่งตนทุนทั้งหมดที่ สะสมนั้นคือตนทุนของสินคาสําเร็จรูป 6.การสะสมตนทุนรวมและตนทุนตอหนวยในแผนกหนึ่งๆ หรือหลายๆแผนกจะถูกแสดงไว ในงบตนทุนการผลิตหรือรายงานตนทุนการผลิต ซึ่งงบตนทุนการผลิตอาจจะจัดทําแยกตามแผนกผลิตใน กรณีที่มีหลายแผนก ถากิจการมีแผนกผลิตเพียง 2-3 แผนก อาจจัดทํารายงานตนทุนทุกแผนกรวมไวในงบ ตนทุนการผลิตเดียวกัน
  • 9. ระบบชวงการผลิตมีรูปแบบการผลิตที่นิยมนํามาใชในกิจการมีอยู 3 รูปแบบ ดังนี้ 1. กระบวนการผลิตแบบเรียงลําดับ (Sequential Processing) 2. การผลิตแบบขนาน (Parallel Processing) 3. การผลิตแบบจําแนก (Selective Processing) การบันทึกตนทุนของระบบตนทุนชวงการผลิต 1.การบันทึกวัตถุดิบ มีการรวบรวมวัตถุดิบที่ใชเปนแผนกโดยระบุรายละเอียดวาเบิกวัตถุดิบชนิดใด จํานวนเทาใด แตไมตอง จําแนกวาวัตถุดิบที่เบิกใชนั้นเปนวัตถุดิบทางตรงหรือทางออม ซึ่งการบันทึกบัญชีจะเปดบัญชีงานระหวาง ทําแยกเปนแผนกเทากับจํานวนแผนกผลิต 2.การบันทึกคาแรงงาน จะทําเชนเดียวกับการบันทึกวัตถุดิบ แตการบันทึกคาแรงงานจะไมยุงยากเหมือนกับระบบตนทุนงานสั่งทําที่ ตองแยกคนงานวาทํางานใด รุนใด จํานวนกี่ชั่วโมง เพราะในระบบตนทุนชวงการผลิตมีการแบงแยกคนงาน เปนแผนกอยูแลวจึงสามารถบันทึกชั่วโมงการทํางานจากบัตรบันทึเวลาทํางาน (Time Tickets) และบัตรลง เวลา (Clock Cards) ไดเลย แตถาพบวามีคาแรงงานที่ไมสามารถเขาแผนกใดแผนกหนึ่งได เขน เงินเดือน ของผูจัดการโรงงาน ใหบันทึกในบัญชีคาใชจายการผลิต 3.การบันทึกคาใชจายการผลิต คาใชจายการผลิตที่เกิดขึ้นในระบบตนทุนชวงจะแตกตางจาก ระบบตนทุนงานสั่งทํา กลาวคือระบบตนทุนงานสั่งทําคิดคาใชจายการผลิตจัดสรรลวงหนา สวนระบบ ตนทุนชวงอาจจะบันทึกคาใชจายการผลิตที่เกิดขึ้นจริงเพราะการรวบรวมตนทุนมักจะทําตอนสิ้นงวดหรือ สิ้นรอบระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง นอกจากนี้การรวบรวมคาใชจายการผลิตแยกตามแผนกผลิต ถามีคาใชจายใด ที่ไมสามารถระบุวาเปนของแผนกใดแผนกหนึ่งโดยเฉพาะ เชน เงินเดือนผูจัดการโรงาน คาเชา คาน้ํา คาไฟ เปนตน ใหปนสวนคาใชจายเหลานี้แกแผนกผลิตตามหลักเกณฑ
  • 10. หนวยเทียบเทาสําเร็จรูป การผลิตสินคาในแตละครั้งของระบบตนทุนชวงการผลิตมักจะตองผานแผนกผลิตหลายแผนก ซึ่งในแตละ แผนกรวบรวมตนทุนทั้งหมดที่เกิดขึ้นแลวคํานวณหาตนทุนตอหนวยแลวทําการโอนตนทุนเหลานี้ไปยัง แผนกถัดไปทําเชนนี้ไปเรื่อยๆ จนถึงแผนกสุดทายจนเปนตนทุนสินคาสําเร็จรูป บทที่ 8 ระบบตนทุนชวงการผลิต กรณีที่มีงานระหวางทําตนงวด ในกรณีที่ไมมีงานระหวางทําตนงวด การคํานวณหาตนทุนในระบบตนทุนชวงสามารถทําได โดยงาย เพราะตนทุนทั้งหมดเกิดขึ้นในงวดบัญชีเดียวกันสงผลใหตนทุนตอหนวยมีราคาเดียว แตถามีงาน ระหวางทําตนงวด ตนทุนตอหนวยในงวดบัญชีกอนอาจจะไมเทากับตนทุนตอหนวยที่ผลิตในงวดปจจุบัน เปนผลมาจากตนทุนวัตถุดิบทางตรง คาแรงงานทางตรง และคาใชจายการผลิตในแตละงวดไมเทากัน ทําให เกิดปญหาที่ตองพิจารณา การคํานวณดวยวิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก วิธีนี้จะนําเอาตนทุนของงานระหวางทําตนงวดรวมกับตนทุนที่เกิดขึ้นในงวดบัญชีปจจุบันจะ ไดตนทุนการผลิตทั้งหมดแลวหารดวยหนวยเทียบเทาสําเร็จรูปของแผนกผลิตจะไดตนทุนการผลิตตอหนวย ตามวิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก ซึ่งวิธีนี้ใชหลักการที่วางานระหวางทําตนงวดถือเปนสวนหนึ่งของตนทุนการ ผลิตในงวดบัญชีปจจุบันโดยไมสนใจวาจะผลิตจากงวดบัญชีกอนมาแลวเปนสัดสวนเทาใด วิธีนี้สงผลให ตนทุนการผลิตตอหนวยจะไมมีความแตกตางกันระหวางงานที่ยกมาจากงวดบัญชีกอนกับงานที่ผลิตในงวด ปจจุบัน การคํานวณดวยวิธีเขากอนออกกอน วิธีนี้จะคิดตนทุนงานระหวางทําตนงวดแยกออกจากตนทุนการผลิตที่ผลิตในงวดปจจุบันโดย มีหลักการ คือ จะใหงานระหวางทําตนงวดเปนงานที่ผลิตเสร็จไปกอนเปนอันดับแรกแลวจึงคิดตนทุนของ หนวยที่ผลิตเสร็จในงวดปจจุบัน จึงทําใหเกิดหนวยผลิตและตนทุนเปน 2 สวน คือ สวนของงานที่คงเหลือ มาจากงวดบัญชีกอนกับงานที่เริ่มผลิตในงวดปจจุบัน ซึ่งจะแตกตางจากการคํานวณตนทุนดวยวิธีแบบถัว เฉลี่ยถวงน้ําหนักที่มีตนทุนการผลิตเพียงชุดเดียว
  • 11. บทที่ 9 ผลิตภัณฑรวมและผลิตภัณฑพลอยได ผลิตภัณฑรวม หมายถึง ผลิตภัณฑตั้งแต 2 ชนิดที่เกิดขึ้นพรอมกันโดยใชวัตถุดิบทางตรง คาแรงงานทางตรง คาใชจายการผลิตรวมกันและปริมาณที่ไดรวมถึงมูลคาของผลิตภัณฑแตละชนิดใกลเคียงกัน ขอสังเกตที่จะ สรุปวา ผลผลิตเหลานั้นเปนผลิตภัณฑรวมโดยพิจารณาจากเงื่อนไขดังนี้ การจัดสรรตนทุนใหผลิตภัณฑรวม สําหรับวิธีการจัดสรรตนทุนรวมใหกับผลิตภัณฑรวมตางๆสามารถทําไดหลายวิธีซึ่งแตละ กิจการจะใชวิธีใดขึ้นอยูกับลักษณะของผลิตภัณฑ ขอมูลที่ไดรับ นโยบายของกิจการ เปนตน วิธีที่ใชมี 4 วิธีการดวยกัน คือ 1.การจัดสรรตนทุนรวมตามราคาตลาดหรือมูลคาขายของผลิตภัณฑรวม(Sales Value) 2.การจัดสรรตนทุนรวมตามปริมาณหนวยของผลผลิต(Physical Measures) 3.การจัดสรรตนทุนรวมตามตนทุนถัวเฉลี่ยตอหนวย(Average Unit Cost) 4.การจัดสรรตนทุนรวมโดยการถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก(Weighted Average Cost) การบัญชีสําหรับผลิตภัณฑพลอยได การบัญชีสําหรับผลิตภัณฑพลอยได มีแนวความคิดเปนที่ยอมรับอยู 2 แนวความคิด คือ 1.ใหบันทึกบัญชีผลิตภัณฑพลอยไดโดยไมมีการจัดสรรตนทุนรวมที่เกิดขึ้นจึงไมมีการบันทึก ตนทุนและสินคาคงเหลือของผลิตภัณฑพลอยไดแตใหบันทึกไวที่บัตรตรวจนับแทน 2.ใหมีการจัดสรรตนทุนรวมเปนตนทุนผลิตภัณฑพลอยไดและใหนําตนทุนของผลิตภัณฑพลอยได ไปลดยอดตนทุนการผลิตสินคาในบัญชีงานระหวางทํา บทที่ 10 การบัญชีตนทุนมาตรฐาน ประโยชนของตนทุนมาตรฐาน 1.ใชเปนขอมูลในการจัดทํางบประมาณ เมื่อกิจการไดกําหนดตนทุนมาตรฐานเอาไวลวงหนาทําให สามารถนํามาปรับเปนงบประมาณในแตละงวดได
  • 12. 2.ใชตนทุนมาตรฐานเปนเครื่องมือในการควบคุมตนทุนที่เกิดขึ้นจริงวามีผลแตกตางในทิศทางใด ถาเปนผลแตกตางที่ไมนาพอใจจะไดปรับปรุงใหทันเวลากอนที่ความเสียหายจะทวีความรุนแรง มากขึ้น 3.สามารถนํามาใชในการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงาน การกําหนดมาตรฐานที่ใชในการ ประเมินผลนั้นควรมีความเปนไปไดในทางปฏิบัติกลาวคือไมตึงหรือหยอนจนเกินไป เพราะจะเปน แรงจูงใจใหพนักงานปฏิบัติตามมาตรฐานที่กําหนดไว 4.การใชตนทุนมาตรฐานทําใหประหยัดเวลาและคาใชจายในการบันทึกบัญชี รวมถึงสามารถ นําไปใชในการตัดสินใจไดทันที เนื่องจากการใชระบบบัญชีตนทุนมาตรฐานทําใหกิจการสามารถตี ราคาสินคาคงเหลือ การคํานวณตนทุนเบิกใชวัตถุดิบ การคํานวณตนทุนสินคาสําเร็จรูปไดทันทีโดย ไมตองรอรวบรวมจากตนทุนที่เกิดขึ้นจริง ทําใหกิจการสามารถนําตัดสินใจไดทันทีในการกําหนด ราคาขายของสินคา การรับเหมาะ การประมูลงาน เปนตน การบัญชีตนทุนมาตรฐาน 1.ตนทุนมาตรฐานวัตถุดิบทางตรง 2.ตนทุนมาตรฐานคาแรงงานทางตรง 3.ตนทุนมาตรฐานคาใชจายในการผลิต การวิเคราะหผลตางตนทุนมาตรฐาน การจัดทําตนทุนมาตรฐานนั้นเพื่อแสดงถึงความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดําเนินงาน ของแตละแผนกวามีมากนอยเพียงใด โดยนํามาเปรียบเทียบกับตนทุนการผลิตที่เกิดขึ้นจริง ผลตาง ระหวางตนทุนมาตรฐานกับตนทุนที่เกิดขึ้นจริงมีทั้งผลตางที่นาพอใจ (Favorable Variance) และ ผลตางไมนาพอใจ (Unfavorable Variance) ซึ่งผลตางที่นาพอใจกิจการดํารงการปฏิบัติงานรูปแบบ นั้นไว สวนผลตางไมนาพอใจรีบหาสาเหตุ สถานที่เกิด และผูรับผิดชอบแลวหาทางปรับปรุงแกไข ทันทีกอนที่จะสรางความเสียหาย การวิเคราะหผลตางวัตถุดิบทางตรง (Direct Material Variance Analysisจะทําการประเมิน 2 ลักษณะ คือ การวิเคราะหผลตางดานราคา (Price Variance) และการวิเคราะหผลตางดานปริมาณการใช (Efficiency or Usage Variance)
  • 13. การวิเคราะหผลตางคาแรงทางตรง (Direct Labor Variance Analysis) การวิเคราะหผลตาง คาแรงงานทางตรงจะทําการประเมินเชนเดียวกับการวิเคราะหผลตางวัตถุดิบทางตรง โดยประเมินใน 2 ลักษณะ คือ การวิเคราะหผลตางดานอัตราคาแรงงาน และการวิเคราะหผลตางดานประสิทธิภาพคาแรง การวิเคราะหผลตางคาใชจายการผลิต (Manufacturing Overhead Variance Analysis) เปนการ เปรียบเทียบระหวางตนทุนคาใชจายการผลิตตามมาตรฐานกับตนทุนคาใชจายการผลิตที่เกิดขึ้นจริง สามารถทําได 4 วิธี คือ การวิเคราะหผลตางคาใชจายการผลิตแบบผลตางเดียว แบบ 2 ผลตาง แบบ 3 ผบตาง แบบ 4 ผลตาง