SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
อีดตรงกับวันศุกร์
อิบ นุ ตัยมี ย ะฮฺ ถู ก ถาม ว่า ช าย สอ งค น ได้ขัด แ ย้งกัน ใน ป ระเด็ น ว่า
เมื่อวันอีดตรงกับวันศุกร์ คนหนึ่งกล่าวว่า จาต้องละหมาดอีดและไม่ต้องละหมาดญุมุอะฮฺ
อีกคนหนึ่งกล่าวว่า ต้องละหมาดญุมุอะฮฺเช่นเดียวกัน ทัศนะใดที่ถูกต้อง?
อิบนุตัยมียะฮฺตอบว่า เมื่อวันศุกร์ตรงกับวันอีดในวันเดียวกัน บรรดาอุละมาอฺมีอยู่ 3
ทัศนะ
ทั ศ น ะ ที่ 1 -
การละหมาดญุมุอะฮฺเป็ นวาญิบ(จาเป็ นต้องทา)สาหรับคนที่ได้ละหมาดอีดด้วย ดังเช่นทุก
วันศุกร์ เนื่องด้วยหลักฐานต่างๆที่บ่งถึงความจาเป็นในการปฏิบัติละหมาดญุมุอะฮฺ
(หมายถึงไม่มีข้อเว้น)
ทั ศ น ะ ที่ 2 -
การละหมาดญุมุอะฮฺไม่ต้องปฏิบัติสาหรับชาวชนบทและคนเร่ร่อนเพราะท่านอุษมาน
อิ บ นุ อั ฟ ฟ า น ร่ อ ฎิ ยั ล ล อ ฮุ อั น ฮุ
อนุโลมให้คนกลุ่มนี้ละทิ้งการละหมาดญุมุอะฮฺเมื่อท่านได้ละหมาดอีดกับพวกเขา(หมายรวมว่า
อนุญาตไม่ให้ละหมาดยุมุอะฮฺที่มัสญิด แต่ให้ละหมาดดุฮฺริที่บ้านของตนก็ได้)
ทั ศ น ะ ที่ 3 -
ซึ่งเป็ นทัศนะที่ถูกต้องคือ ใครที่ละหมาดอีดแล้วการละหมาดญุมุอะฮฺก็ถูกเว้นไป แต่สาหรั
บอิหม่ามจาต้องดารงการละหมาดญุมุอะฮฺเพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ที่ประสงค์จะละหมาดญุมุอะฮฺได้
มีที่ละหมาดและสาหรับคนที่ไม่ ได้ละหมาดอีด(จะได้มี ที่ละหมาดญุมุอะฮฺด้วย)
และนั่นคือการปฏิบัติที่มีรายงานจากท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม และสาวกของท่าน
อาทิเช่น ท่านอุมัร, อุษมาน, อิบนุ มัสอู๊ด, อิบนุ อับบาส, อิบนุ ซุบัยรฺ, และอื่นๆ
โด ย ไ ม่ มี ทั ศ น ะ อื่ น จ า ก เศ า ะ ฮ า บ ะ ฮฺ ดั งก ล่ า ว ที่ แ ย้ งกั บ ทั ศ น ะ นี้
และสาหรับสองทัศนะแรกเขาก็ไม่ได้รับรู้หลักฐานจากซุนนะฮฺของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุ
อ ะ ลั ย ฮิ ว ะ ซั ล ลั ม เ กี่ ย ว กั บ ก ร ณี วั น ศุ ก ร์ ต ร ง กั บ วั น อี ด
ซึ่ งท่ าน น บี ล ะห ม า ด อี ด แ ละ อ นุ โลม ( ใ ห้ เว้ น ) ก า ร ละ ห ม าด ญุ มุ อ ะ ฮฺ
และมีอีกสานวนหนึ่งท่านนบีกล่าวว่า
"โอ้ผู้คนทั้ งหลาย แท้จริงพวกท่านได้ประสบความดีแล้ว(คือละหมาดอีด)
ดั ง นั้ น ใ ค ร ป ร ะส ง ค์ ที่ จ ะล ะห ม า ด ญุ มุ อ ะฮฺ ( ด้ วย ) ก็ จ ง ป ร า ก ฏ ตั ว
เพราะเราจะละหมาดญุมุอะฮฺ(ด้วย)"
อนึ่ง ผู้ที่ละหมาดอีดแล้วจะถือว่าประสบวัตถุประสงค์ของการชุมนุม(ในวันศุกร์)
และจาเป็ นต้องละหมาดดุฮฺริถ้าไม่ได้ละหมาดญุมุอะฮฺ โดยละหมาดดุฮฺริตามเวลา
เพ ราะก ารละห ม าด อีด นั้ น ได้ บ รรลุ เป้ าห ม ายข องละ ห ม าดญุ มุ อะฮฺ แ ล้ ว
และการบังคับให้ ผู้คน(ละหมาดญุมุ อะฮฺด้ วย) เป็ นความลาบากสาหรับพวกเขา
และอาจขัดกับเป้ าหมายของวันอีดที่ส่งเสริมให้สนุกสนานและประพฤติตัว(ตามอัธยาศัย)
ซึ่งหากพวกเขาถูกบังคับให้ ละหมาดญุมุอะฮฺก็เป็ นการทาลายเป้ าหมายของวันอีด
ซึ่งวันญุมุอะฮฺเป็นอีดและวันอัลฟิฏรฺ(อีดเล็ก)กับวันอันนะหรฺ(อีดใหญ่)เป็นวันอีดเช่นเดียวกัน
ซึ่งเป็นนโยบายของพระผู้บัญญัติเมื่อมีอิบาดะฮฺสองชนิดได้ปรากฏพร้อมกันก็จะประสมประสา
นกันเช่นเดียวกับการอาบน้าละหมาดที่เข้าอยู่ในการอาบน้าญะนาบะฮฺ วัลลอฮุอะอฺลัม1
1
มัจญฺมูอฺอัลฟะตาวา,อิบนุตัยมียะฮฺ เล่ม 24 หน้า 210-211
เมื่อวันอีดตรงกับวันศุกร์
ทัศนะของอุละมาอ์
หากวันอีดและวันศุกร์ตรงกันและบรรดามหาชนได้มาร่วมละหมาดวันอีดก็อนุญาตให้พ
วกเขาแยกย้ายกันไป และทิ้งการละหมาดวันศุกร์ได้ เพราะมีรายงานจากท่านอุษมาน (ร.ฎ.)
ว่าท่านได้กล่าวในคุฏบะฮฺของท่านว่า “โอ้ผองชน แน่แท้ สองอีดได้รวมกันในวันของพวกท่าน
ผู้ใดจากชาวอัล - อาลียะฮฺประสงค์จะละหมาดวันศุกร์พร้อมกับเรา เขาผู้นั้นก็จงละหมาด
และผู้ใดประสงค์จะแยกย้ายไป ก็ให้ผู้นั้นแยกย้ายไป” ไม่มีผู้ใดคัดค้านคาพูดของท่านอุษมาน
(ร.ฎ.)
อิหม่ามอันนะวาวียฺ อธิบายว่า : อะษัรที่รายงานจากท่านอุษมาน (ร.ฎ.) นี้
อั ลบุ ค อ รี ยฺได้ ราย งาน เอ า ไว้ ใ น เศา ะฮี หฺ ข อ งเข า ค าว่า อั ล – อ าลิ ย ะ ฮฺ
หมายถึงตาบลหนึ่งที่นครมะดีนะฮฺจากทางทิศตะวันออก และคาว่า “มหาชน” (‫اد‬‫و‬‫الس‬ ‫)اهل‬
ห ม า ย ถึ ง ช า ว ต า บ ล
ซึ่งตรงนี้หมายถึงชาวตาบลหรือชุมชนที่เสียงอะซานไปถึงพวกเขาก็จาเป็นที่พวกเขาต้องมาร่วม
ละหมาดวันศุกร์ในเมืองในวันอื่นจากวันอีด
ดังนั้น ตามมัซฮับ อัช-ชาฟี อียฺ จึงถือว่าการละหมาดวันศุกร์จาเป็นเหนือชาวเมือง
และการละหมาดวันศุกร์นั้ นตกไป (ไม่จาเป็น) จากบรรดาชาวชุมชนตามหมู่บ้าน
(ที่ไกลออกไปจากตัวเมืองที่เป็นที่ตั้งของมัสญิด)ซึ่งตามนี้ ท่านอุษมาน(ร.ฎ.) ท่านอุมัร อิบนุ
อับดิลอะซีซ และปวงปราชญ์ได้กล่าวเอาไว้
ส่วนท่านอะฏออฺ อิบนุ อบีเราะบาหฺ กล่าวว่า : เมื่อพวกเขาได้ละหมาดอีดแล้ว
การละหมาดวันศุกร์ในวันนี้ ก็ไม่จาเป็น และละหมาดซุฮฺริด้วย ตลอดจนอื่นจากทั้งสอง
(วันศุกร์- ซุฮฺริ) ยกเว้นละหมาดอัศริไม่ว่าผู้นั้นจะเป็นชาวเมืองหรือชาวชุมชนก็ตาม อิบนุ อัล
- มุนซิรกล่าวว่า เราได้รายงานไว้ในทานองนี้ จากท่านอะลี อิบนุ อบีฏอลิบ (ร.ฎ.)
และอั บ ดุ ลลอ ฮฺ อิ บ นุ อั ซซุ บั ยรฺ (ร .ฎ .) ท่ าน อิห ม่ าม อะหฺ ห มั ด (ร.ฮ .)
กล่าวว่าการละหมาดวันศุกร์จะตกไปจากชาวชุมชนและชาวเมืองแต่จาเป็นต้องละหมาดซุฮฺริ
อิ ห ม่ า ม อ บู ห ะ นี ฟ ะ ฮฺ ( ร . ฮ . ) ก ล่ า ว ว่ า :
การละหมาดวันศุกร์จะไม่ตกไปไม่ว่าจะเป็นชาวเมืองหรือชาวชุมชน (กิตาบ อัล มัจญมูอฺ
ชัรหุลมุฮัซซับ ; อันนะวาวียฺ เล่มที่ 4 หน้า 358-359 )
จึ ง พ อ ส รุ ป ไ ด้ ว่ า
เมื่อวันอีดไปตรงกับวันศุกร์ก็มีข้ออนุโลมสาหรับผู้ที่ละหมาดอีดในเช้าวันศุกร์นั้นไม่ต้องละหมา
ดวัน ศุก ร์อีก แ ต่ถ้ าผู้ นั้ น จะละหม าดวัน ศุก ร์อีก ก็ไม่ มี ข้ อห้ ามแ ต่อ ย่างใด
โ ด ย เ ฉ พ า ะ ผู้ ที่ อ ยู่ ใ ก ล้ มั ส ญิ ด ที่ ท า ล ะ ห ม า ด วั น ศุ ก ร์
ตลอดจนผู้เป็นอิหม่ามหรือคอเต็บก็ควรจะต้องทาละหมาดวันศุกร์ตามปกติ
เ รื่ อ ง นี้ เ ป็ น ข้ อ อ นุ โ ล ม ที่ ศ า ส น า เ ปิ ด ช่ อ ง เ อ า ไ ว้
ไม่ ค ว ร น าเอ า ม า เป็ น ป ร ะ เด็ น ใ น ก าร ส ร้ างค ว า ม ขั ด แ ย้ งร ะ ห ว่ างกั น
เฉพาะอย่างยิ่งในปัจจุบันการเดินทางไปละหมาดวันศุกร์ที่มีมัสญิดเป็ นสิ่งที่สะดวก
ไม่ได้ลาบากเหมือนแต่ก่อน
ดังนั้นผู้ที่จะมาละหมาดวันศุกร์อีกครั้งในวันอีดภายหลังการละหมาดอีดในตอนเช้าแล้ว
ก็สาม ารถกระท าได้ เพ ราะมี หลักฐานแ ละทั ศน ะขอ งนั ก วิชาการสนั บ สนุ น
และผู้ที่ละหมาดอีดแล้วขัดข้องไม่สะดวกมาละหมาดวันศุกร์อีกก็มีข้ออนุโลมว่าไม่ต้องละหมาด
วั น ศุ ก ร์ ไ ด้
เพราะมีหลักฐานและทัศนะของนักวิชาการสนับสนุนจึงควรปล่อยให้เรื่องนี้เป็นไปตามความสะ
ดวกและความประสงค์ของแต่ละบุคคล ไม่สมควรนามาตั้งแง่และโต้เถียงกันแต่อย่างใดเลย
สรุป
บรรดาอุละมาอฺ –เราะฮิมะฮุมุลลอฮฺ-
มีทัศนะที่แตกต่างกันเกี่ยวประเด็นปัญหาการละหมาดวันศุกร์ เมื่อวันอีดตรงกับวันศุกร์
ออกเป็น 4 ทัศนะดังนี้
1.
เป็นข้อผ่อนปรนไม่ต้องละหมาดวันศุกร์แต่ให้ละหมาดซุฮฺรีแทนสาหรับผู้ที่อยู่ห่างไกลจากสถา
นที่ละหมาดวันศุกร์2
นี้ คื อทั ศน ะของอิ มาม อัช-ชาฟิ อี ย์และรายงาน หนึ่ งจากอิ มามม าลิ ก
และยังเป็นทัศนะของบรรดานักฟิกฮฺส่วนใหญ่
2. วาญิบต้องละหมาดวันศุกร์สาหรับมุสลิมทุกคน
นี้คือทัศนะของอิมามอบูหะนีฟะฮฺ
2
ใ น ห นั ง สื อ ฟิ ก ฮฺ ใ ช้ ค า ว่ า " อ ะ ฮฺ ลุ ล บ ะ ว า ดี ย์ " แ ป ล ว่ า ช า ว ช น บ ท
เพราะในสมัยนบีจะไม่มีการละหมาดวันศุกร์นอกจากที่มัสญิดของท่าน ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิวะสัลลัม ฉะนั้นอะฮฺลุล
บะวาดีย์จึงถือว่าเป็นบุคคลที่อยู่ห่างไกลจากสถานที่ละหมาด
3. ไม่ จ าเป็ น ต้ อ งละห ม าด วั น ศุ ก ร์สาห รั บ ผู้ ที่ ได้ ละห ม าด อี ด แ ล้ ว
แต่สาหรับอิหม่ามมัสญิดจาเป็นต้องทาละหมาดวันศุกร์เผื่อคนที่จะมาร่วมละหมาด
นี้ คื อ ทั ศ น ะ ข อ ง อิ ม า ม อ ะ หฺ มั ด
และเป็นทัศนะที่เลือกเฟ้ นโดยอิบนุตัยมิยะฮฺและอิบนุลก็อยยิม
4. ไม่ต้องละหมาดวันศุกร์และละหมาดซุฮฺรี
นี้คือทัศนะของอะฏออฺ
หลักฐานและวิเคราะห์หลักฐาน
หลักฐานของทัศนะที่หนึ่ง
ทัศนะที่เห็นว่าเป็นข้อผ่อนปรนไม่ต้องละหมาดวันศุกร์แต่ให้ละหมาดซุฮฺรีแทนสาหรับผู้
ที่อยู่ห่างไกลจากสถานที่ละหมาดวันศุกร์นั้น ได้อ้างหลักฐานดังนี้
1. จากท่านอบูอุบัยดฺคนใช้ของท่านอิบนุอัซฮัรฺได้กล่าวว่า: ฉันได้ละหมาด (อีด)
พร้อมกับท่านอุษมาน อิบนุ อัฟฟาน ซึ่งวันนั้นเป็นวันศุกร์ แล้วท่านได้ละหมาดก่อนคุฏบะฮฺ
หลังจากนั้นท่านก็ได้คุฏบะฮฺ และกล่าวว่า:
ْ‫ن‬ِ‫م‬ َ‫ة‬َ‫ع‬ُ‫م‬ُْ‫ْل‬‫ا‬ َ‫ر‬ِ‫ظ‬َ‫ت‬ْ‫ن‬َ‫ي‬ ْ‫ن‬َ‫أ‬ َّ‫ب‬َ‫ح‬َ‫أ‬ ْ‫ن‬َ‫م‬َ‫ف‬ ،ِ‫ان‬َ‫د‬‫ي‬ِ‫ع‬ ِ‫يه‬ِ‫ف‬ ْ‫م‬ُ‫ك‬َ‫ل‬ َ‫ع‬َ‫م‬َ‫ت‬ْ‫اج‬ ْ‫د‬َ‫ق‬ ٌ‫م‬ْ‫و‬َ‫ي‬ ‫ا‬َ‫ذ‬َ‫ه‬ َّ‫ن‬ِ‫إ‬ ُ‫َّاس‬‫الن‬ ‫ا‬َ‫ه‬ُّ‫ي‬َ‫أ‬ ‫ا‬َ‫ي‬
ْ‫ه‬َ‫أ‬.ُ‫َه‬‫ل‬ ُ‫ت‬ْ‫ن‬ِ‫ذ‬َ‫أ‬ ْ‫د‬َ‫ق‬َ‫ف‬ َ‫ع‬ِ‫ج‬ْ‫ر‬َ‫ي‬ ْ‫ن‬َ‫أ‬ َّ‫ب‬َ‫ح‬َ‫أ‬ ْ‫ن‬َ‫م‬َ‫و‬ ،ْ‫ر‬ِ‫ظ‬َ‫ت‬ْ‫ن‬َ‫ي‬ْ‫ل‬َ‫ف‬ ِ‫اِل‬َ‫و‬َ‫ْع‬‫ل‬‫ا‬ ِ‫ل‬
“โอ้ผู้คนทั้งหลายแท้จริงวันนี้ สองอีด (วันศุกร์กับวันอีดอัลอัฎหา) ได้มาบรรจบกัน
ดั งนั้ น ห า ก ผู้ ใด จ าก ช าว อ ะ ว า ลี ย์ รั ก ที่ จ ะ ร อ ละ ห ม า ด อี ด เข า ก็ จ งร อ
และผู้ใดที่ประสงค์จะกลับแท้จริงฉันอนุญาตให้เขา (กลับ)”3
วิเคราะห์หลักฐาน
3
หะดีษบันทึกโดยอัลบุคอรีย์ เลขที่5572, และอัลบัยฮะกีย์ เลขที่6517
อ ะ ษั รฺ บ ท นี้ เ ป็ น อ ะ ษั รฺ ที่ เ ศ า ะ หี้ หฺ
และข้อบ่งชี้ของอะษัรฺก็ชัดเจนว่าที่อนุญาตให้ไม่ต้องละหมาดวันศุกร์คือชาวอะวาลีย์
ซึ่งเป็ นเป็ นตาลบที่อยู่ทางทิศตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต้ของสุสานบะกีอฺ
และอยู่ห่างไกลจากมัสญิดนบีพอสมควร
ฉ ะ นั้ น บุ ค ค ล ใ ด ที่ มี ส ภ า พ เ ห มื อ น กั บ ช า ว อ ะ ว า ลี ย์
คือบ้านเรือนอยู่ไกลจากสถานที่ละหมาดวันศุกร์ก็เป็นที่ผ่อนปรนที่จะไม่ต้องมาละหมาดวันศุก
ร์แต่ให้ละหมาดซุฮฺรีแทน
2. มีรายงานจากท่านอุมัรฺ อิบนุ อับดุลอะซีซ เราะฮิมะฮุลลอฮฺว่า ท่านได้กล่าวว่า:
ِ‫ان‬َ‫د‬ْ‫ي‬ِ‫ع‬ َ‫ع‬َ‫م‬َ‫ت‬ْ‫ج‬ِ‫ا‬ْ‫ن‬ِ‫م‬ َ‫س‬ِ‫ل‬َْ‫َي‬ ْ‫ن‬َ‫أ‬ َّ‫ب‬َ‫ح‬َ‫أ‬ ْ‫ن‬َ‫"م‬ : َ‫ال‬َ‫ق‬َ‫ف‬ ‫وسلم‬ ‫عليه‬ ‫هللا‬ ‫صلى‬ ِِِّ‫َّب‬‫الن‬ ِ‫د‬ْ‫ه‬َ‫ع‬ ‫ى‬َ‫ل‬َ‫ع‬
" ٍ‫ج‬َ‫ر‬َ‫ح‬ ِْ‫ْي‬َ‫غ‬ ْ ِ‫ِف‬ ْ‫س‬ِ‫ل‬ْ‫ج‬َ‫ي‬ْ‫ل‬َ‫ف‬ ِ‫ة‬َ‫ي‬ِ‫ال‬َ‫الع‬ ِ‫ل‬ْ‫ه‬َ‫أ‬
“สองวันอีดได้มาบรรจบกันได้สมัยของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิวะสัลลัม
แล้วท่านก็กล่าวว่า: "ใครรักที่จะนั่ง (รอละหมาดอีด) จากชาวอาลิยะฮฺ ดังนั้นเขาก็จงนั่ง (รอ)
โดยไม่มีอุปสรรคอะไร”
วิเคราะห์หลักฐาน
หะดีษบทนี้บันทึกโดยอิมามอัช-ชาฟิอีย์ในหนังสือ"อัล-อุม" 1/398 และในหนังสือ
"อัล-มุสนัด" เลขที่: 343, อัล-บัยฮะกีย์ในหนังสือ "อัส-สุนัน" เลขที่: 6515, อัล-
ฟิรฺยาบีย์ในหนังสือ "อะหฺกาม อัล-อีดัยนฺ" เลขที่: 141
หะดีษบทนี้ เป็นหะดีษที่มุรสัล เพราะเป็นสายรายงานที่ขาดตอนระหว่างท่านอุมัรฺ อิบนุ
อั บ ดุ ล อ ะ ซี ซ กั บ ท่ า น น บี ศ็ อ ล ลั ล ล อ ฮฺ อ ะ ลั ย ฮิ ว ะ สั ล ลั ม
และในสายรายงานที่บันทึกโดยอิมามอัช-ชาฟิ อีย์มีนักรายงานที่ชื่ออิบรอฮีมอิบนุ มะหฺมูด
ซึ่งเป็ น ร ายงาน ที่ "มั ต รู ก "4
ฉ ะนั้ น สายร ายงาน ที่ บั น ทึ ก โด ยอิ ม าม อั ช -
ชาฟิอีย์จึงเป็นสายรายงานที่อ่อนมาก
แ ต่ ส า ย ร า ย ง า น ที่ บั น ทึ ก โ ด ย อั ล -
ฟิรฺยาบีย์เป็นสายรายงานที่ถูกต้องและไม่มีนักรายงานคนใดที่ถูกติเตียนในเรื่องความน่าเชื่อถือ
4
ตักรีบ อัต-ตะฮฺซีบ,1/93
กล่าวคือท่านได้รายงานจากอับดุลอะอฺลา อิบนุ หัมมาด จากวุฮัยบฺ อิบนุ คอลิด จากอิบรอฮีม
อิบนุ อุกบะฮฺ จากท่านอุมัรฺ อิบนุ อับดุลอะซีซ
สรุปคือ อะษัรฺบทนี้เป็นอะษัรฺที่มุรสัล แต่มีสายรายงานถูกต้องถึงท่านอุมัรฺ อิบนุ อับดุล
อะซีซ
หลักฐานของทัศนะที่สอง
ทั ศ น ะ ที่ ว่ าว าญิ บ ต้ อ งล ะ ห ม า ด วั น ศุ ก ร์ ส า ห รั บ มุ ส ลิ ม ทุ ก ค น
ได้อ้างหลักฐานจากคาตรัสของอัลลอฮฺ สุบหาะฮุวะตะอาลา :
َِّ‫اّلل‬ ِ‫ر‬ْ‫ك‬ِ‫ذ‬ َ‫َل‬ِ‫إ‬ ‫ا‬ْ‫و‬َ‫ع‬ْ‫اس‬َ‫ف‬ ِ‫ة‬َ‫ع‬ُ‫م‬ُْ‫ْل‬‫ا‬ ِ‫م‬ْ‫و‬َ‫ي‬ ْ‫ن‬ِ‫م‬ ِ‫ة‬ َ‫َل‬َّ‫لص‬ِ‫ل‬ َ‫ي‬ِ‫ود‬ُ‫ن‬ ‫ا‬َ‫ذ‬ِ‫إ‬ ‫وا‬ُ‫ن‬َ‫آم‬ َ‫ين‬ِ‫ذ‬َّ‫ل‬‫ا‬ ‫ا‬َ‫ه‬ُّ‫ي‬َ‫أ‬ ‫ا‬َ‫ي‬
“ โ อ้ บ ร ร ด า ผู้ ศ รั ท ธ า เอ๋ ย เมื่ อ มี เสี ย งร้ อ ง เรี ย ก ( อ ะ ซ า น )
เพื่อทาอะซานในวันศุกร์ก็จงรีบเร่งไปสู่การราลึกถึงอัลลอฮฺ.” [อัล-ญุมุอะฮฺ: 9]
ข้อบ่งชี้ของหลักฐาน
อัลลอฮฺ สุบหาะฮุวะตะอาลา ได้กาหนดละหมาดวันศุกร์เหนือมุสลิมทุกคน
โดยไม่ ได้ ยกเว้น วันอีด ฉะนั้ นเมื่ อวันอีด ตรงกับวันศุกร์ ก็จาเป็ น (วาญิบ )
ที่จะต้องละหมาดวันศุกร์
วิเคราะห์หลักฐาน
มีหลักฐานที่ถูกต้องจากท่านอุษมาน อิบนุ อัฟฟาน ว่าท่านอนุญาตให้ชาวอะวาลีย์
ไม่ต้องออกมาละหมาดวันศุกร์
หลักฐานของทัศนะที่สาม
ทัศนะที่ว่าไม่ จาเป็ นต้องละหมาดวันศุกร์สาหรับผู้ที่ได้ ละหมาดอีดแล้ ว
ได้อ้างอิงหลักฐานดังนี้
1. จ าก ท่ า น อ บู ฮุ ร็อ ย เร าะ ฮฺ เร าะ ฎิ ยั ลล อ ฮฺ อั น ฮุ จ า ก ท่ าน น บี
ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิวะสัลลัม ได้กล่าวว่า:
َ‫ع‬ُ‫م‬ُ‫اْل‬ َ‫ن‬ِ‫م‬ ُ‫ه‬َ‫أ‬َ‫ز‬ْ‫ج‬َ‫أ‬ َ‫اء‬َ‫ش‬ ْ‫ن‬َ‫م‬َ‫ف‬ ِ‫ان‬َ‫د‬ْ‫ي‬ِ‫ع‬ ‫ا‬َ‫ذ‬َ‫ه‬ ْ‫م‬ُ‫ك‬ِ‫م‬ْ‫و‬َ‫ي‬ ْ ِ‫ِف‬ َ‫ع‬َ‫م‬َ‫ت‬ْ‫اج‬ ْ‫د‬َ‫ق‬َ‫ن‬ْ‫و‬ُ‫ع‬ِّ
ِ‫م‬َُُ ‫ا‬َّ‫ن‬ِ‫إ‬َ‫و‬ ِ‫ة‬
“แท้จริงสองวันอีดได้มาบรรจบกันในวันนี้ (วันศุกร์) ดังนั้นหากผู้ใดประสงค์
( ไ ม่ ล ะ ห ม า ด วั น ศุ ก ร์ ) มั น ( ล ะ ห ม า ด อี ด )
ก็ เ ป็ น ที่ ท ด แ ท น แ ล้ ว ส า ห รั บ เ ข า ใ น ก า ร ล ะ ห ม า ด วั น ศุ ก ร์
และแท้จริงพวกเราจะละหมาดวันศุกร์กัน”
ข้อบ่งชี้ของหะดีษ
หะดีษบทนี้บ่งชี้อย่างชัดเจนว่าการละหมาดอีดสามารถทดแทนการละหมาดวันศุกร์
ฉะนั้นจึงไม่จาเป็นที่จะต้องละหมาดวันศุกร์ แต่ถ้าผู้ใดประสงค์จะละหมาดก็ถือว่าอนุญาต
วิเคราะห์หลักฐาน
หะดีษบทนี้ บันทึกโดยอบูดาวูด ในหนังสือ "อัส-สุนัน" เลขที่: 1073, อัล-ญารูด
ในหนังสือ "อัล-มุนตะกอ" เลขที่: 302, อัล-หากิม ในหนังสือ "อัล-มุสตัดร็อก" เลขที่:
1064, และอัล-บัยฮะกีย์ ในหนังสือ "อัส-สุนัน" เลขที่: 6082
ซึ่งที่ถูกต้องแล้วหะดีษบทนี้ เป็นหะดีษมุรฺสัลดั่งที่ท่านอัดดาเราะกุฏนีย์5 และอิมาม
อะหฺมั ด6 ได้ กล่าวไว้7 ก ล่าวคือ เป็ น การรายงาน จาก อบู ศอลิหฺ จากท่ าน น บี
ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิวะสัลลัม โดยไม่ได้ระบุเศาะหาบะฮฺ ดั่งการบันทึกของอับดุรฺร็อซซาก
ในหนังสือ "อัล-มุศ็อนนัฟ" เลขที่: 5729, อัล-บัยฮะกีย์ ในหนังสือ"อัส-สุนัน" เลขที่: 6514
แ ล ะ ห า ก ว่ า ห ะ ดี ษ บ ท นี้ เ ป็ น ห ะ ดี ษ มั รฺ ฟู อฺ แ ล้ ว
ก็ไม่สามารถนามาเป็นหลักฐานสนับสนุนทัศนะนี้ ได้ เพราะช่วงท้ายของหะดีษท่านนบี
ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิวะสัลลัม ได้กล่าวว่า:
َ‫ن‬ْ‫و‬ُ‫ع‬ِّ
ِ‫م‬َُُ ‫ا‬َّ‫ن‬ِ‫إ‬َ‫و‬
"และแท้จริงพวกเราจะละหมาดวันศุกร์กัน"
ซึ่งบ่งชี้ให้เห็นว่า การอนุญาตให้ไม่ต้องละหมาดวันศุกร์นั้นเฉพาะบุคคลบางกลุ่ม
แต่ว่าท่านนบีเองและบรรดาเศาะหาบะฮฺบางส่วนจะรวมตัวกันละหมาดวันศุกร์
ฉะนั้นจึงสามารถชี้แจงประโยคของหะดีษบทนี้ได้ดังนี้
5
อัดดาเราะกุฏนียฺ, อัลอิลัล อัลวาริดะฮฺ ฟี อัลอะหาดีษ อันนะบะวียะฮฺ, ดาร อัฏฏ็อยยิบะฮฺ, ริยาด, 1985. เล่ม
10, หน้า 217.
6
อิบนุลเญาซียฺ, อัลอิลัล อัลมุตะนาฮิยะฮฺฯ, อิดาเราะฮฺ อัลอุลูม อัลอะษะรียะฮฺ, ฟัยซอล อาบาด, 1981. เล่ม 1,
หน้า 473.
7
ดู อัต-ตัลคีศ อัล-หะบีรฺ2/88
"ดังนั้ น หากผู้ ใดป ระสงค์ (ไม่ ละหม าด วัน ศุก ร์) มั น (ละห มาดอีด )
ก็ เ ป็ น ที่ ท ด แ ท น แ ล้ ว ส า ห รั บ เข า ใ น ก า ร ล ะ ห ม า ด วั น ศุ ก ร์ "
ห ม ายถึ งช าว อ ะวาลีย์ ห รือ ช าว ชน บ ท ที่ บ้ าน เรือ น อ ยู่ ไกลจ าก มั สญิ ด น บี
ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิวะสัลลัม
"แ ล ะ แ ท้ จ ริ ง พ ว ก เ ร า จ ะ ล ะ ห ม า ด วั น ศุ ก ร์ กั น "
หมายถึงตัวท่านนบีเองและบรรดาเศาะหาบะฮฺที่มีบ้านอยู่ใกล้กับมัสญิดนบี
2. ท่านมุอาวิยะฮฺ อิบนุ อบีสุฟยาน ได้ถามท่านซัยดฺ อิบนุ อัล-อัรฺก็อม ว่า
ท่านเคยอยู่พร้อมกับท่านนบี ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิวะสัลลัม ในขณะที่สองวันอีด
(วันอีดและวันศุกร์) ได้รวมกันไหม? ท่านซัยดฺตอบว่า เคย แล้วท่านมุอาวิยะฮฺก็ถามต่ออีกว่า
แล้วท่านนบี ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิวะสัลลัม ปฏิบัติเช่นไร? ท่านซัยดฺตอบว่า:
َّ‫خ‬َ‫ر‬ َُّ‫ُث‬ َ‫د‬ْ‫ي‬ِ‫الع‬ ‫ى‬َّ‫ل‬َ‫ص‬ِِّ‫ل‬َ‫ص‬ُ‫ْي‬‫ل‬َ‫ف‬ َ‫ي‬ِِّ‫ل‬َ‫ص‬ُ‫ي‬ ْ‫ن‬َ‫أ‬ َ‫اء‬َ‫ش‬ ْ‫ن‬َ‫م‬ :َ‫ال‬َ‫ق‬َ‫ف‬ ِ‫ة‬َ‫ع‬ُ‫م‬ُ‫اْل‬ ِْ‫ِف‬ َ‫ص‬.
“ท่านได้ละหมาดอีด หลังจากนั้นท่านก็ได้ผ่อนปรนในการละหมาดวันศุกร์
และท่านก็ได้กล่าวว่า ผู้ใดประสงค์จะละหมาดก็จงละหมาด”
ข้อบ่งชี้ของหะดีษ
ห ะ ดี ษ บ ท นี้ บ่ ง ชี้ ว่ า ท่ า น น บี ศ็ อ ล ลั ล ล อ ฮฺ อ ะ ลั ย ฮิ ว ะ สั ล ลั ม
ได้ผ่อนปรนการละหมาดวันศุกร์เมื่อตรงกับวันอีด ใครประสงค์จะละหมาดก็ละหมาด
และใครที่ไม่ประสงค์จะหมาดก็เป็นที่อนุญาต
วิเคราะห์หลักฐาน
หะดีษบทนี้ บันทึกโดยอบูดาวูด ในหนังสือ "อัส-สุนัน" เลขที่: 1072, อิบนุคุซัยมะฮฺ
ในหนังสือ “อัศ-เศาะหี้ หฺ” เลขที่: 1464, อัล-หากิม ในหนังสือ "อัล-มุสตัดร็อก" เลขที่:
1014, อัด-ดาริมีย์ ในหนังสือ "อัส-สุนัน" เลขที่: 1665, อัล-บัยฮะกีย์ ในหนังสือ "อัส-
สุนัน" เลขที่: 547
หะดีษบทน้เป็นหะดีษที่เฎาะอีฟไม่สามารถนามาเป็นหลักฐานได้ เพราะ
1. ใน สายรายงาน ที่ นั ก ห ะดีษ คน ห นึ่ งชื่อ อิย าส อิ บ นุ อ บี ร็อม ละฮฺ
ซึ่ งนั ก ห ะ ดี ษ ห ล า ย ท่ า น ที่ ร ะ บุ ว่ า เข า เป็ น บุ ค ค ล ที่ ไ ม่ เป็ น ที่ รู้ จั ก
(มัจญ์ฮูล) ฉะนั้นจึงมีนักหะดีษบางท่านหุก่มว่าหะดีษบทนี้เป็นหะดีษที่เฎาะอีฟ
ท่ า น อิ บ นุ อั ล -มุ น ซิ รฺ ก ล่ า ว ว่ า : " ห ะ ดี ษ นี้ ไ ม่ ถู ก ต้ อ ง
เพราะอิยาสเป็นนักรายงานที่ไม่เป็นที่รู้จัก"
2. มีนักรายงานชื่อ "อับดุรฺเราะหฺมาน"
ท่านอิมามอะหฺมั ดกล่าวว่า: "บรรดาหะดีษของอับดุรฺเราะหฺมานนั้ นมุงกัรฺ
แ ละ ไม่ มี ห ะ ดี ษ ที่ เข าราย งาน เกี่ ยว กั บ สอ งละห ม าด วัน อี ด จ าก ท่ าน น บี
ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิวะสัลลัม ที่ถูกต้อง"
3. จากท่านอิบนุอุมัรฺเราะฎิยัลลอฮฺอันฮุมา ได้เล่าว่า:
ِ‫هللا‬ ِ‫ل‬ْ‫و‬ُ‫س‬َ‫ر‬ ِ‫د‬ْ‫ه‬َ‫ع‬ ‫ى‬َ‫ل‬َ‫ع‬ ِ‫ان‬َ‫د‬ْ‫ي‬ِ‫ع‬ َ‫ع‬َ‫م‬َ‫ت‬ْ‫ج‬ِ‫ا‬‫وسلم‬ ‫عليه‬ ‫هللا‬ ‫صلى‬ْ‫ن‬َ‫م‬ : َ‫ال‬َ‫ق‬ َُّ‫ُث‬ ِ‫َّاس‬‫الن‬ِ‫ب‬ ‫ى‬َّ‫ل‬َ‫ص‬َ‫ف‬
ْ‫ف‬َّ‫ل‬َ‫خ‬َ‫ت‬َ‫ي‬ْ‫ل‬َ‫ف‬ َ‫ف‬َّ‫ل‬َ‫خ‬َ‫ت‬َ‫ي‬ ْ‫ن‬َ‫أ‬ َ‫اء‬َ‫ش‬ ْ‫ن‬ْ‫م‬َ‫و‬ ‫ا‬َِ‫ِْت‬‫أ‬َ‫ي‬ْ‫ل‬َ‫ف‬ َ‫ة‬َ‫ع‬ْ‫م‬ُ‫اْل‬ َ ِ‫ِْت‬‫أ‬َ‫ي‬ ْ‫ن‬َ‫أ‬ َ‫اء‬َ‫ش‬.
สองวันอีดได้มาบรรจบกันในสมัยของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิวะสัลลัม
แล้ วท่ าน ก็ได้ ละห ม าด (อีด ) พ ร้อ ม กับ ผู้ คน ห ลังจาก นั้ น ท่ าน ก็กล่าวว่า
ใครที่ประสงค์จะมาละหมาดวันศุกร์ ดังนั้นเขาก็จงมาละหมาด และหากใครประสงค์จะละทิ้ง
ดังนั้นเขาก็จงละทิ้ง
ข้อบ่งชี้ของหะดีษ
ห ะ ดี ษ บ ท นี้ บ่ ง ชี้ ว่ า ท่ า น น บี ศ็ อ ล ลั ล ล อ ฮฺ อ ะ ลั ย ฮิ ว ะ สั ล ลั ม
ได้ ผ่ อ น ป ร น ก าร ละ ห ม าด วั น ศุ ก ร์ สา ห รั บ ผู้ ที่ ม าร่ วม ละ ห ม าด วั น อี ด
ดังนั้นหากใครไม่ประสงค์จะมาร่วมละหมาดวันศุกร์อีกก็ถือว่าอนุญาต
วิเคราะห์หลักฐาน
หะดีษนี้ บันทึกโดยอิบนุมาญะฮฺ ในหนังสือ"อัส-สุนัน" เลขที่: 1373, อิบนุลเญาซีย์
ในหนังสือ "อัล-อิลัล อัล-มุตะนาฮิยะฮฺ" เลขที่: 806, อิบนุอะดิยฺ ในหนังสือ "อัล-กามิล"
6/455
หะดีษบทนี้ เป็นหะดีษที่เฎาะอีฟ เนื่องจากในสายรายงานที่นักรายงาน 2 คนที่เฎาะอีฟ
นั่นคือญุบาเราะฮฺ อิบนุ อัล-มุฆ็อลลิส และมินดัล อิบนุ อะลีย์
ท่านอิบนุลเญาซีย์กล่าวว่า: "หะดีษนี้ ไม่ถูกต้อง มินดัล อิบนุ อะลีย์ เฎาะอีฟมาก
ส่วนญุบาเราะฮฺ เขานั้ นไม่มี อะไรเลย ท่านยะหฺยากล่าวว่า เขาเป็ นคนจอมโกหก
และท่านอิบนุนุมัยรฺกล่าวว่า ได้ได้กุหะดีษ"8
หลักฐานของทัศนะที่สี่
8
อัล-อิลัล อัล-มุตะนาฮิยะฮฺ เลขที่: 806
ผู้ที่มีทัศนะว่าไม่ต้องละหมาดวันศุกร์และละหมาดซุฮฺรีเพราะการละหมาดอีดถือว่าเป็น
ที่เพียงพอแล้ว ได้อ้างหลักฐานจากการปฏิบัติของอิบนุอัซ-ซุบัยรฺ9
9
ละหมาดอีดโดยไม่ต้องละหมาดวันศุกร์และไม่ต้องละหมาดบ่ายกระทาได้หรือ เพราะละหมาดอีดเป็นซุนนะห์
ส่วนละหมาดวันศุกร์กับละหมาดบ่ายเป็นฟัรดู จะแทนกันได้หรือ
นี่คือการตั้งข้อสังเกตโดยที่ยังไม่รู้หลักฐาน เป็ นการดีที่เราจะระวังรักษาฟัรดูของเราให้ ครบถ้วน
แต่เรื่องใดก็ตามที่มี ตัวบทหลักฐานและมีแนวการปฏิบัติจากศอฮาบะห์ เราก็ต้องรับฟังด้วยเช่นกัน
َ‫ال‬َ‫ق‬ٌ‫اء‬َ‫ط‬َ‫ع‬َ‫ع‬َ‫م‬َ‫ت‬ْ‫ج‬ِ‫ا‬ُ‫م‬ْ‫و‬َ‫ي‬ٍ‫ة‬َ‫ع‬ُْ‫ُج‬ُ‫م‬ْ‫و‬َ‫ي‬َ‫و‬ٍ‫ر‬ْ‫ط‬ِ‫ف‬َ‫لى‬َ‫ع‬ِ‫د‬ْ‫ه‬َ‫ع‬ِ‫ن‬ْ‫اب‬ِْ‫ْي‬َ‫ب‬ُ‫الز‬َ‫ال‬َ‫ق‬َ‫ف‬ِ‫ان‬َ‫د‬ْ‫ي‬ِ‫ع‬‫ا‬َ‫ع‬َ‫م‬َ‫ت‬ْ‫ج‬ِ‫ا‬ِ‫ف‬ٍ‫م‬ْ‫و‬َ‫ي‬ٍ‫د‬ ِ‫اح‬َ‫و‬‫ا‬َ‫م‬ُ‫ه‬َ‫ع‬َ‫م‬َ‫ج‬َ‫ف‬‫ا‬ً‫ع‬ْ‫ي‬َِ‫ُج‬
‫ا‬َُ‫ُه‬َّ‫َل‬َ‫ص‬َ‫ف‬ِْ‫ي‬َ‫ت‬َ‫ع‬ْ‫ك‬َ‫ر‬ً‫ة‬َ‫ر‬ْ‫ك‬ُ‫ب‬َْ‫ل‬ْ‫د‬ِ‫ز‬َ‫ي‬‫ا‬َ‫م‬ِ‫ه‬ْ‫لي‬َ‫ع‬َّ‫ّت‬َ‫ح‬‫ى‬َّ‫ل‬َ‫ص‬َ‫ر‬ْ‫ص‬َ‫الع‬
อะฏออ์รายงานว่า “วันศุกร์กับวันอีดฟิ ตริตรงกันในสมัยของท่านอิบนุซุบัยร์ ท่านกล่าวว่า
สองอีดมาบรรจบในวันเดียวกัน ฉะนั้นจึงได้รวมทั้งสองไว้ด้วยกัน โดยละหมาดอีดและละหมาดวันศุกร์ด้วยกัน 2
รอกอะห์ ในเช้าตรู่ จากนั้นก็ไม่ได้ละหมาดอื่นใดอีกจนกระทั่งละหมาดอัศร์” บันทึกโดยอบูดาวู๊ด ฮะดีษที่ 906
ْ‫ن‬َ‫ع‬ِ‫اء‬َ‫ط‬َ‫ع‬ِ‫ن‬ْ‫ب‬ِ‫ب‬َ‫أ‬ٍ‫اح‬َ‫ب‬َ‫ر‬َ‫ال‬َ‫ق‬َ‫لى‬َ‫ص‬‫ا‬َ‫ن‬ِ‫ب‬ُ‫ن‬ْ‫ب‬ِ‫ا‬ِْ‫ْي‬َ‫ب‬ُ‫الز‬ِ‫ف‬ِ‫م‬ْ‫و‬َ‫ي‬ٍ‫د‬ْ‫ي‬ِ‫ع‬ِ‫ف‬‫م‬ ْ‫و‬َ‫ي‬ٍ‫ة‬َ‫ع‬ُُ‫ُج‬َ‫ل‬َّ‫و‬َ‫أ‬ِ‫ر‬‫ا‬َ‫ه‬َ‫الن‬َُّ‫ُث‬‫ا‬َ‫ن‬ْ‫ح‬ُ‫ر‬َ‫َل‬ِ‫ا‬ِ‫ة‬َ‫ع‬ُ‫م‬ُ‫اْل‬ْ‫م‬َ‫ل‬َ‫ف‬ْ‫ج‬ُ‫ر‬َْ‫َي‬
‫ا‬َ‫ن‬ْ‫َي‬‫ل‬ِ‫ا‬‫ا‬َ‫ن‬ْ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ص‬َ‫ف‬‫ا‬ً‫ن‬‫ا‬َ‫د‬ْ‫ح‬ُ‫و‬َ‫ن‬َ‫ا‬‫ك‬َ‫و‬ُ‫ن‬ْ‫اب‬ٍ‫اس‬َّ‫ب‬َ‫ع‬ِ‫ف‬ِ‫ائ‬َ‫ط‬‫ال‬ِ‫ب‬‫ا‬َّ‫م‬َ‫ل‬َ‫ف‬َ‫م‬ِ‫د‬َ‫ق‬‫ا‬َ‫ن‬ْ‫ر‬َ‫ك‬َ‫ذ‬َ‫ك‬ِ‫ل‬َ‫ذ‬ُ‫َه‬‫ل‬َ‫ال‬َ‫ق‬َ‫ف‬َ‫اب‬َ‫ص‬َ‫أ‬َ‫ة‬َّ‫ن‬ُ‫الس‬
รายงานจากอะฏออ์ อิบนิอบีรอบาฮ์ว่า “ท่านอิบนุซุบัยร์ได้นาเราละหมาดอีดซึ่งตรงกับวันศุกร์ในตอนเช้า
และเมื่ อเราได้ไปละหมาดวันศุกร์ ท่านก็ไม่ได้ออกมานาเราละหมาด พวกเราจึงต่างคนต่างละหมาด
ขณะนั้นท่านอิบนุอับบาสอยู่ที่เมืองฏออิฟ เมื่อท่านกลับมาเราจึงเล่าเรื่องที่เกิดขึ้ นให้ฟัง ท่านกล่าวว่า
ถูกต้องตรงตามซุนนะห์แล้ว” บันทึกโดยอบูดาวู๊ด ฮะดีษที่ 905
ฮะดีษทั้งสองบทข้างต้นนี้อยู่ในฐานะศอเฮียะห์ เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในยุคของท่านอับดุลลอฮ์ อิบนุซุบัยร์
และท่านอับดุลลอฮ์ อิบนุอับบาส ทั้งสองท่านนี้เป็นศอฮาบะห์ของท่านรอซูล
บางท่านกล่าวว่า น้าหนักของหลักฐานนี้เบามากเป็นแค่ฮะดีษเมากูฟ คือเป็นการกระทาของศอฮาบะห์เท่านั้น
มิใช่ฮะดีษมัรฟัวอ์ หมายถึงฮะดีษที่อ้างถึงคาพูด,การกระทา,และการยอมรับของท่านนบี
ขอทาความเข้ าใจ ว่านี่ เป็ นคาพู ดที่ ไม่ ถูก ต้ อง เพราะถ้ าพิ จารณ าในตอ นท้ายข องฮ ะดี ษ
เราจะพบคาพูดของอิบนุอับบาสที่อ้างถึงท่านนบีด้วย โดยท่านกล่าวว่า ถูกต้องตรงตามซุนนะห์ อย่างนี้เขาเรียกว่า
อะลาฮุกมิ้ลมัรฟัวอ์ คือ ฮะดีษที่มีฐานะเดียวกับฮะดีษมัรฟัวอ์ หมายถึงอ้างถึงท่านนบีด้วยเช่นกัน
ประการต่อมาก็คือ ข้อสงสัยที่บอกว่า ละหมาดอีดเป็นซุนนะห์ ส่วนละหมาดวันศุกร์และละหมาดบ่ายเป็นฟัรดู
จะแทนกันได้หรือ หลักฐานที่บอกว่าได้ แสดงไว้แล้วข้างต้นแล้ว ส่วนการที่เข้าใจว่าละหมาดอีดเป็ นซุนนะห์นั้น
อันนี้ เป็ นความเข้ าใจในทัศนะของมัซฮับชาฟิ อี ส่วนในมัซฮับอื่ นๆ เขาเข้าใจว่าละหมาดอี ดเป็ นฟัรดูด้วย
ท่านอะฏออ์ได้เล่าว่าวันศุกร์กับวันอีดฟิ ฏรฺได้มาบรรจบกันในสมัยของท่านอิบนุอัซ-
ซุบัยรฺ แล้วเขาก็ได้กล่าวว่า:
َ‫ا‬‫م‬ِ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ع‬ ْ‫د‬ِ‫ز‬َ‫ي‬َْ‫ل‬ ً‫ة‬َ‫ْر‬‫ك‬ُ‫ب‬ ِْ‫ي‬َ‫ت‬َ‫ع‬ْ‫ك‬َ‫ر‬ ‫ا‬َُ‫ُه‬ َّ‫َل‬َ‫ص‬َ‫ف‬ ً‫ا‬‫ع‬ْ‫ي‬َِ‫ُج‬ ‫ا‬َ‫م‬ُ‫ه‬َ‫ع‬َ‫م‬َ‫ج‬َ‫ف‬ ٍ‫د‬ِ‫اح‬َ‫و‬ ٍ‫م‬ْ‫و‬َ‫ي‬ ِْ‫ِف‬ ‫ا‬َ‫ع‬َ‫م‬َ‫ت‬ْ‫اج‬ ِ‫ان‬َ‫د‬ْ‫ي‬ِ‫ع‬‫ى‬َّ‫ل‬َ‫ص‬ َّ‫ّت‬َ‫ح‬
َ‫ر‬ْ‫ص‬َ‫الع‬
“สองวัน อีดได้ มาบรรจบกันในวันเดียวกัน แล้ วเขา (อิบ นุ อัซซุบัยรฺ)
ก็ไ ด้ ร ว ม ละ ห ม า ด ทั้ งส อ งด้ ว ย ก า ร ละ ห ม าด ส อ งร็อ ก อั ต ใน ต อ น เช้ า
และท่านไม่ได้เพิ่มเกินสองร็อกอัตนั้นจนกระทั่งละหมาดอัศรี”
วิเคราะห์หลักฐาน
อะษัรฺนี้ บันทึกโดยอบูดาวูด ในหนังสือ "อัส-สุนัน" เลขที่: 1072, อับดุรฺร็อซซาก
ในหนังสือ "อัล-มุศ็อนนัฟ" เลขที่: 5725, และอิบนุอัล-มุนซิรฺ ในหนังสือ "อัล-เอาสัฏ"
เลขที่: 2142
ถึ งแ ม้ อ ะ ษั รฺ บ ท นี้ จ ะ เป็ น อ ะ ษั รฺ ที่ ถู ก ต้ อ งจ าก ท่ าน อิ บ นุ ซุ บั ย รฺ
แ ต่ ว่ามั น ค้ าน กั บ ก ารป ฏิ บั ติ ขอ งท่ าน น บี ศ็อ ลลัลลอ ฮฺ อ ะลัย ฮิ วะ สัลลั ม
ดังที่นี้หะดีษที่เศาะหี้หฺจากท่านอัน-นุอฺมาน อิบนุ บะชีรฺ ได้เล่าว่า:
ِ‫هللا‬ ُ‫ل‬ْ‫و‬ُ‫س‬َ‫ر‬ َ‫ن‬‫ا‬َ‫ك‬‫وسلم‬ ‫عليه‬ ‫هللا‬ ‫صلى‬َ‫و‬ )‫ى‬َ‫ل‬ْ‫ع‬َ‫أل‬‫ا‬ َ‫ك‬ِِّ‫ب‬َ‫ر‬ َ‫م‬ْ‫اس‬ ِ‫ح‬ِِّ‫ب‬َ‫(س‬ ِ‫ب‬ ِ‫ة‬َ‫ع‬ْ‫م‬ُ‫اْل‬ ِْ‫ِف‬َ‫و‬ ِ‫ن‬ْ‫ي‬َ‫د‬ْ‫ي‬ِ‫الع‬ ِْ‫ِف‬ ُ‫أ‬َ‫ر‬ْ‫ق‬َ‫ي‬
ً‫ا‬‫ض‬ْ‫َي‬‫أ‬ َ‫ا‬‫م‬ِِ‫ِب‬ ُ‫أ‬َ‫ر‬ْ‫ق‬َ‫ي‬ ٍ‫د‬ِ‫اح‬َ‫و‬ ٍ‫م‬ْ‫و‬َ‫ي‬ ِْ‫ِف‬ ُ‫ة‬َ‫ع‬ْ‫م‬ُ‫اْل‬َ‫و‬ ُ‫د‬ْ‫ي‬ِ‫الع‬ َ‫ع‬َ‫م‬َ‫ت‬ْ‫اج‬ ‫ا‬َ‫ذ‬ِ‫إ‬َ‫و‬ :َ‫ال‬َ‫ق‬ )‫ة‬َ‫ي‬ِ‫اش‬َ‫غ‬‫ال‬ ُ‫ث‬ْ‫ي‬ِ‫د‬َ‫ح‬ َ‫اك‬َ‫ت‬َ‫أ‬ ْ‫ل‬َ‫(ه‬ِْ‫ِف‬
ِْ‫ي‬َ‫ت‬َ‫َل‬َّ‫الص‬.
“ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิวะสัลลัม ได้อ่านสูเราะฮฺ "สับบิฮิส มะร็อบบิกัล
อะอฺลา" และ "ฮัล อะตากะ หะดีษุล ฆอชิยะฮฺ" ในละหมาดสองวันอีดและละหมาดวันศุกร์.
และท่าน (อัน-นุอฺมาน) ได้เล่าอีกว่า: และเมื่อวันอีดกับวันศุกร์รวมกันในวันเดียวกัน
ท่านจะอ่านทั้งสองสูเราะฮฺในสองละหมาด (ละหมาดอีดกับละหมาดวันศุกร์) เช่นกัน10
และเหตุของความเข้าใจในฮุก่มที่ต่างกันนี้ขึ้นอยู่กับการพิจารณาในคาสั่งของท่านรอซูล ซึ่งเข้าสู่ประเด็นของฟิ กฮ์
ที่เขาถกเถียงกันยืดยาว
10
บันทึกโดยมุสลิม เลขที่: 2065
ห ะดี ษ นี้ ระบุ อ ย่ างชั ด เจ น ว่าเมื่ อ วัน อี ด ต รงกั บ วัน ศุ ก ร์ ท่ าน น บ นี
ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิวะสัลลัม จะละหมาดวันศุกร์ และไม่ได้ละทิ้งละหมาดวันศุกร์แต่ประการใด
ฉะนั้นการอ้างว่าการปฏิบัติของอิบนุอัซ-ซุบัยรฺเสมือนกับการปฏิบัติของท่านนบี (มัรฺฟูอฺ
หุ ก มั น ) ถื อ ว่าไม่ ถู ก ต้ อ ง เพ ร าะ ว่ามั น ค้ าน กั บ ก ารป ฏิ บั ติ ขอ งท่ าน น บี
ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิวะสัลลัม อีกทั้งยังค้านกับการปฏิบัติของท่านอุษมาน อิบนุ อัฟฟาน
ฉ ะ นั้ น จึ งบ ร ร ด า อุ ล ะ ม า อฺ จึ งป ฏิ เ ส ธ ทั ศ น ะ นี้ โ ด ย สิ้ น เชิ ง
เพราะไปทิ้งละหมาดวันศุกร์และละหมาดซุฮฺรีซึ่งเป็นฟัรฎูตามมติเอกฉันท์ของบรรดาอุละมาอฺ
ท่านอิบนุอับดิลบัรฺกล่าวว่า:
‫ار‬َ‫ص‬ْ‫م‬َ‫أل‬‫ا‬ ُ‫اء‬َ‫ه‬َ‫ق‬ُ‫ف‬ ُ‫ه‬َ‫ر‬َ‫ك‬ْ‫ن‬َ‫أ‬ ٌ‫ر‬َ‫ك‬ْ‫ن‬ُ‫م‬ ٌ‫ل‬ْ‫و‬َ‫ق‬ ‫اء‬َ‫ط‬َ‫ع‬ َ‫و‬ ْ‫ْي‬َ‫ب‬ُّ‫الز‬ ِ‫ن‬ْ‫اب‬ ْ‫ن‬َ‫ع‬ ِ‫اب‬َ‫الب‬ ‫ا‬َ‫ذ‬َ‫ه‬ ِْ‫ِف‬ َ‫ي‬ِ‫و‬ُ‫ر‬ َ‫و‬ٌ‫د‬َ‫َح‬‫أ‬ ِ‫ه‬ِ‫ب‬ ْ‫ل‬ُ‫ق‬َ‫ي‬ َْ‫ل‬ َ‫و‬
ْ‫م‬ُ‫ه‬ْ‫ن‬ِ‫م‬
"แ ละ มี ราย งาน ใน เรื่อ งนี้ (วัน อี ด ต ร งกั บ วัน ศุ ก ร์) จาก อิ บ นุ อั ซ -
ซุบัยรฺและอะฏออ์ซึ่งทัศนะที่ถูกปฏิเสธ บรรดานักฟิ กฮฺทั่วสารทิศต่างปฏิเสธทัศนะนี้
และไม่มีนักฟิกฮฺคนไหนเลยที่กล่าวเช่นนั้น"11
อ นึ่ ง อ า จ จ ะ เ ป็ น ไ ป ไ ด้ ว่ า ท่ า น อิ บ นุ อั ซ -
ซุ บั ย รฺ ไ ม่ ไ ด้ ล ะ ทิ้ ง ก า ร ล ะ ห ม า ด วั น ศุ ก ร์ แ ต่ ป ร ะ ก า ร ใ ด
เพียงแต่เป็นความเข้าใจของอุละมาอ์บางท่านเท่านั้นที่ว่าอิบนุอัซ-ซุบัยรฺไม่ได้ละหมาดวันศุกร์
เพราะในรายงานจากอิบนุอัซ-ซุบัยรฺอะฏออ์กล่าวว่า:
‫ا‬َُ‫ُه‬َّ‫َل‬َ‫ص‬َ‫ف‬ ً‫ا‬‫ع‬ْ‫ي‬َِ‫ُج‬ َ‫ا‬‫م‬ُ‫ه‬َ‫ع‬َ‫م‬َ‫ج‬َ‫ف‬
"แล้วท่านก็จะรวมทั้งสองเวลา แล้วละหมาดรวมทั้งสอง"
จากตัวบทจากเห็นได้ว่าท่านอิบนุอัซ-ซุบัยรฺไม่ได้ละทิ้ งการละหมาดวันศุกร์
เพียงแต่ท่านเอามารวมกับละหมาดวันอีด โดยการละหมาดวันศุกร์แทน
อ า จ จ ะ มี ค า ถ า ม ว่ า ล ะ ห ม า ด วั น ศุ ก ร์ ใ น ช่ ว งเช้ า ไ ด้ อ ย่ า งไ ร
เพราะละหมาดวันศุกร์เข้าเวลาเมื่อตะวันคล้อย ?
ค า ต อ บ คื อ ท่ า น อิ บ นุ อั ซ -
ซุบัย รฺอ าจจะมี ทั ศน ะว่าอนุ ญ าต ให้ ละห มาดวัน ศุก ร์ก่ อน ต ะวัน คล้ อยได้12
11
อัล-อิสติซการฺ2/385
12
ดั่งทัศนะของท่านอิมามอะหฺมัดและอิสหาก อิบนุ รอฮุวัยฮฺ
ดังนั้ น ท่ าน เลยเอ าละห ม าด อี ด กั บ ละห ม าด วัน ศุ ก ร์ม าละ ห ม าด ด้ วย กั น
โดยการละหมาดวันศุกร์แทน ซึ่งมีบางรายงานระบุว่าท่านคุฏบะฮฺก่อนแล้วละหมาดทีหลัง
ซึ่งเป็นรูปแบบของการละหมาดวันศุกร์ไม่ใช่รูปแบบการละหมาดอีดแต่ประการใด
เพ ราะละหม าดอี ดจ ะเริ่ม ด้ วยก ารละห ม าด ก่อ น แล้ วคุ ฏ บ ะฮฺ ห ลังจ าก นั้ น
ดังการรายงานของวะฮฺบฺ อิบนุ กัยสานได้เล่าว่า:
ُ‫ر‬ُ‫اخل‬ َ‫َّر‬‫َخ‬‫أ‬َ‫ف‬‫ا‬َ‫ط‬َ‫أ‬َ‫ف‬ َ‫ب‬َ‫ط‬َ‫خ‬َ‫ف‬ َ‫ج‬َ‫ر‬َ‫خ‬ َُّ‫ُث‬ ُ‫ار‬َ‫ه‬َ‫الن‬ َ‫اَل‬َ‫ع‬َ‫ت‬ َّ‫ّت‬َ‫ح‬ َ‫ج‬ْ‫و‬‫ى‬َّ‫ل‬َ‫ص‬َ‫ف‬ َ‫ل‬َ‫ز‬َ‫ن‬ َُّ‫ُث‬ َ‫ة‬َ‫ب‬ْ‫ط‬ُ‫اخل‬ َ‫ل‬
"แล้วท่านก็ออกมาช้าจนกระทั่งสายมากหลังจากนั้นท่านก็ออกมาคุฏบะฮฺ
แล้วท่านก็คุฏบะฮฺจนนานหลังจากนั้นท่านก็ลงมา (จากมินบัรฺ) แล้วละหมาด13
อัล-ค็อฏฏอบีย์กล่าวว่า:
َّ‫الص‬ َْ‫ْي‬ِ‫د‬ْ‫ق‬َ‫ت‬ ‫ى‬َ‫ر‬َ‫ي‬ ْ‫ن‬َ‫م‬ ِ‫ب‬َ‫ه‬ْ‫ذ‬َ‫م‬ ‫ى‬َ‫ل‬َ‫ع‬ َّ‫ال‬ِ‫إ‬ َ‫ل‬ِ‫م‬َْ‫َي‬ ْ‫ن‬َ‫أ‬ ْ‫ي‬ِ‫د‬ْ‫ن‬ِ‫ع‬ ُ‫ز‬ْ‫و‬َُ‫َي‬ َ‫ال‬ ُ‫ه‬َّ‫ن‬ِ‫إ‬َ‫ف‬ ْ‫ْي‬َ‫ب‬ُ‫الز‬ ِ‫ن‬ْ‫اب‬ ُ‫ع‬ْ‫ي‬ِ‫ن‬َ‫ص‬ ‫ا‬َّ‫َم‬‫أ‬َ‫ل‬ْ‫ب‬َ‫ق‬ ِ‫ة‬ َ‫َل‬
ِ‫ال‬َ‫و‬َ‫الز‬.
"ส่ ว น ก า ร ป ฏิ บั ติ ข อ ง อิ บ นุ อั ซ -ซุ บั ย รฺ นั้ น
แ ท้ จ ริ ง แ ล้ ว มั น เ ป็ น ที่ ไ ม่ อ นุ ญ า ต ต า ม ทั ศ น ะ ข อ ง ฉั น
นอกจากตามมัซฮับของผู้ที่เห็นว่าอนุญาตให้ทาการละหมาด (วันศุกร์) ก่อนตะวันคล้อย"14
[ ‫السَلم‬ ‫سبل‬ ‫ِف‬ ‫الصنعاين‬ ‫الشيخ‬ ‫قال‬2/113‫أخرب‬ ‫عطاء‬ ‫أن‬ ‫َيفى‬ ‫ال‬ : ‫قلت‬ : ]
‫ِف‬ ‫الظهر‬ ‫يصل‬ ‫ل‬ ‫أنه‬ ‫قاطع‬ ‫بنص‬ ‫ذلك‬ ‫ليس‬ ‫و‬ ،‫اْلمعة‬ ‫لصَلة‬ ‫الزبْي‬ ‫ابن‬ ‫َيرج‬ ‫ل‬ ‫أنه‬
‫ِف‬ ‫الظهر‬ ‫صلى‬ ‫أنه‬ ‫الحتمال‬ ‫صحيح‬ ‫غْي‬ ‫فاْلزم‬ ،‫منزله‬‫أهنم‬ ‫عطاء‬ ‫قول‬ ‫ِف‬ ‫بل‬ ،‫منزله‬
‫عطاء‬ ‫يذكر‬ ‫أن‬ ‫حاجة‬ ‫ال‬ ‫[إذ‬ ‫بسقوطه‬ ‫قائل‬ ‫ال‬ ‫بأنه‬ ‫يشعر‬ ‫ما‬ ‫الظهر‬ ‫أي‬ "‫وحدانا‬ ‫"صلوا‬
]‫وحدانا‬ ‫الظهر‬ ‫صلوا‬ ‫أهنم‬ ‫إال‬ ‫يبقى‬ ‫فَل‬ ‫وحدانا‬ ‫النافلة‬ ‫صلوا‬ ‫أهنم‬‫مراده‬ ‫أن‬ ‫يقال‬ ‫ال‬ ‫و‬
‫إُجاعا‬ ‫ُجاعة‬ ‫ِف‬ ‫إال‬ ‫تصح‬ ‫ال‬ ‫فإهنا‬ ‫وحدانا‬ ‫اْلمعة‬ ‫صلوا‬
เชคอัศศ็อนอานี ย์ กล่าวในหนั งสือสุบุ ลุสสลาม (เล่ม 2 หน้ า 113) ว่า :
" ข้ า พ เจ้ า ข อ ก ล่ า ว ว่ า : เ ป็ น ที่ ชั ด เจ น ว่ า ท่ า น อ ะ ฏ อ อ์ ร ะ บุ ว่ า
ท่านอิบนุซซุเบรไม่ได้ออกมาละหมาดวันศุกร์ ซึ่งเช่นนี้ มิได้เป็นหลักฐานชัดเจนเด็ดขาด
13
บันทึกโดยอัน-นะสาอีย์ เลขที่: 1592.
14
เอานุล มะอฺบูด 3/289.
ว่าท่านมิได้ละหมาดซุฮรีที่บ้านของท่าน ดังนั้น การชี้ชัดฟันธงลงไป(ว่าท่านมิได้ละหมาดซุฮรี)
จึงไม่ถูกต้อง เนื่องจากมีความเป็นไปได้ว่าท่านละหมาดซุฮรีที่บ้านของท่าน ยิ่งไปกว่านั้น
คาพูดของอะฏออ์ที่ระบุว่าพวกเขา 'ต่างคนต่างละหมาด' ซึ่งหมายถึงละหมาดซุฮรีนั้ น
ยังบ่งชี้ ว่าไม่มีผู้ใดเห็นว่าละหมาดซุฮรีได้ตกไป ทั้ งนี้ เพราะไม่มีประโยชน์ อันใด
ที่อะฏออ์จะบอกว่าพวกเขาต่างคนต่างละหมาดสุนัต ดังนั้ น จึงไม่มีข้อสรุปอื่นใด
น อ ก จ าก 'พ วก เข าต่ าง ค น ต่ าง ล ะห ม าด ซุ ฮ รี ' แ ละไม่ อ าจ ก ล่าว ได้ ว่ า
พ วก เข า 'ต่ างค น ต่ า งล ะห ม าด วัน ศุ ก ร์' เพ ร าะว่าละ ห ม าด วัน ศุ ก ร์ นั้ น
จะใช้ไม่ได้นอกจากต้องเป็นในรูปญะมาอะฮฺเท่านั้น ด้วยมติอย่างเป็นเอกฉันท์ของอุละมาอ์"15
ทัศนะที่มีน้าหนัก
15
อุละมาอ์พาดพิงทัศนะนี้ถึงอะฏออ์
1. อัศ-ศ็อนนอานีย์ ในหนังสือ"สุบุลุสสลาม"
‫وذهب‬‫عطاء‬‫إَل‬‫أنه‬‫يسقط‬‫فرضها‬‫عن‬‫اْلميع‬
2. เจ้าของหนังสือ "เอานุลมะอฺบูด"
‫وذهب‬‫عطاء‬‫إَل‬‫أنه‬‫يسقط‬‫فرضها‬‫عن‬‫اْلميع‬
3. อิบนุอาบิดีนใน "หาชิยะฮฺ"
‫احرتز‬‫به‬‫عن‬‫قول‬‫عطاء‬:‫جتزي‬‫صَلة‬‫العيد‬‫عن‬‫اْلمعة‬
ใน 3 เล่มนี้ ระบุว่า ทัศนะของอะฏออ์ คือ "เมื่ อละหมาดอีดแล้ว จะไม่ละหมาดญุมุอะฮฺอีกก็ได้ "
โดยไม่ได้ระบุถึงละหมาดซุฮรี
4. อัน-นะวะวีย์ในหนังสือ "มัจญ์มูอฺ"
‫وقال‬‫عطاء‬‫بن‬‫ايب‬‫رباح‬‫إذا‬‫صلوا‬‫العيد‬‫ل‬‫جتب‬‫بعده‬‫ِف‬‫هذا‬‫اليوم‬‫صَلة‬‫اْلمعة‬‫وال‬‫الظهر‬‫وال‬‫غْيُها‬‫اال‬‫العصر‬
เล่มนี้ เป็ นการระบุชัดเจนจากอิห ม่ามนะวะวีย์ ว่าอ ะฏออ์ มีทัศนะว่าเมื่ อ ละห มาดอี ดแล้ ว
ทั้งญุมุอะฮฺและซุฮรีของวันนั้นก็ตกไป จะไม่ละหมาดก็ได้
เรื่องวันอีดกับวันศุกร์ตรงกันนั้นมีทัศนะที่หลากหลายเพียงแต่บุคคลใดจะให้น้าหนักทั
ศนะไหนที่สอดคล้องกับตัวบทหลักฐานมากที่สุดเท่านั้นเอง
ซึ่งทั ศ นะที่ มี น้ าห นัก มากที่ สุด คือ ห ากวัน อีดตรงกั บวันศุ กร์ เช่น นี้
ส า ห รั บ บุ ค ค ล ที่ ล ะ ห ม า ด อี ด แ ล้ ว
ได้รับการอนุโลมไม่ ต้องละหมาดวันศุกร์หากเขาประสงค์จะไม่ ละหมาดวันศุกร์
แต่วาญิบสาหรับเขาจะต้องละหมาดซุฮฺริ ด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้
ประเด็นที่หนึ่ง
ท่ า น ร สู ลุ ล ล อ ฮฺ ‫صلي‬‫هللا‬‫عليه‬‫وسلم‬
ได้ระบุบุคคลที่ละหมาดอีดแล้วได้รับการผ่อนผันไม่ต้องละหมาดวันศุกร์ก็ได้
ท่านซัยด์ บุตรของอัรฺกอมเล่าว่า
‫ى‬َّ‫ل‬َ‫ص‬َ‫د‬‫ي‬ِ‫ع‬ْ‫ل‬‫ا‬َ‫ل‬َّ‫و‬َ‫أ‬ِ‫ر‬‫ا‬َ‫َّه‬‫الن‬َُّ‫ث‬َ‫ص‬َّ‫خ‬َ‫ر‬ِ‫ف‬ِ‫ة‬َ‫ع‬ُ‫م‬ُْ‫ْل‬‫ا‬َ‫ال‬َ‫ق‬َ‫ف‬«ْ‫ن‬َ‫م‬َ‫اء‬َ‫ش‬ْ‫ن‬َ‫أ‬َ‫ع‬ِ‫م‬َُ‫ُي‬ْ‫ع‬ِ‫م‬َ‫ج‬ُ‫ي‬ْ‫ل‬َ‫ف‬»
“ท่านนบีละหมาดอีดในช่วงเช้า จากนั้นท่านนบีผ่อนปรนในการละหมาดวันศุกร์,
ซึ่งท่านนบีกล่าวว่า บุคคลใดประสงค์จะรวมละหมาด (ละหมาดอีด และละหมาดวันศุกร์ด้วย)
เช่นนั้นเขาจงรวมเถิด” 16
ท่านอิบนุ อุมัรฺเล่าว่า
َ‫ع‬َ‫م‬َ‫ت‬ْ‫اج‬ِ‫ان‬َ‫د‬‫ي‬ِ‫ع‬‫ى‬َ‫ل‬َ‫ع‬ِ‫د‬ْ‫ه‬َ‫ع‬ِ‫ول‬ُ‫س‬َ‫ر‬َِّ‫اّلل‬-‫صلى‬‫هللا‬‫عليه‬‫وسلم‬-‫ى‬َّ‫ل‬َ‫ص‬َ‫ف‬ِ‫َّاس‬‫الن‬ِ‫ب‬َُّ‫ث‬َ‫ال‬َ‫ق‬
«ْ‫ن‬َ‫م‬َ‫اء‬َ‫ش‬ْ‫ن‬َ‫أ‬َ‫ى‬ِ‫ت‬ْ‫أ‬َ‫ي‬َ‫ة‬َ‫ع‬ُ‫م‬ُْ‫ْل‬‫ا‬‫ا‬َِ‫ِت‬ْ‫أ‬َ‫ي‬ْ‫ل‬َ‫ف‬ْ‫ن‬َ‫م‬َ‫و‬َ‫اء‬َ‫ش‬ْ‫ن‬َ‫أ‬َ‫ف‬َّ‫ل‬َ‫خ‬َ‫ت‬َ‫ي‬ْ‫ف‬َّ‫ل‬َ‫خ‬َ‫ت‬َ‫ي‬ْ‫ل‬َ‫ف‬»
“เมื่ออีดสองอีดรวมกัน(วันอีดและวันศุกร์) ในสมัยของท่านรสูลุลลอฮฺ ‫صلي‬‫هللا‬‫عليه‬‫وسلم‬ นั้น
ท่ าน ร สูล ละ ห ม าด เป็ น อิ ม าม เศา ะห าบ ะฮฺ จ าก นั้ น ท่ าน ร สูลก็ก ล่า วว่ า
16
หะดีษเศาะหี้หฺ,บันทึกโดยอะหฺมัดหะดีษที่ 19839
บุคคลใดประสงค์จะละหมาดวันศุกร์ เขาจงกระทาเถิด และบุคคลใดประสงค์จะกลับไป
(ที่พานักของตนโดยไม่ได้ละหมาดวันศุกร์) เขาจงกลับไปเถิด” 17
หะดีษ ทั้ งสองข้ างต้ น สรุป ให้ เห็ น ว่า เมื่ อ บุ ค คลหนึ่ งละหม าด อีดแ ล้ ว
หากเขาประสงค์จะละหมาดวันศุกร์ด้วยก็ให้ปฏิบัติ แต่ถ้าเขาไม่ประสงค์ หรือเขาไม่สะดวก
เช่ น เขาอาจเดิน ท างไป ยังภู มิ ลาเน าเดิ ม ขอ งต น ห รือ ติด ภ ารกิ จใดก็ช่าง
เช่นนี้ ศาสนาอนุโลมไม่ต้องละหมาดวันศุกร์ได้ เกี่ยวกับทัศนะนี้ ถือว่ามีน้าหนักมากที่สุด
เพราะท่านนบีเป็นผู้ที่พูดด้วยตัวของท่านรสูล ‫صلي‬‫هللا‬‫عليه‬‫وسلم‬ เอง
ประเด็นที่สอง
กรณีที่ระบุว่าอนุโลมไม่ต้องละหมาดวันศุกร์ หากบุคคลผู้นั้นละหมาดอีดนั้นเข้าใจ
ประเด็นต่อมาคือ เมื่อไม่ได้ละหมาดวันศุกร์ ต้องละหมาดซุฮฺริหรือไม่?
คาตอบคือ วาญิบจะต้ องละหมาดซุฮฺริหากเขาไม่ ได้ ไป ละหมาดวันศุกร์
เพราะการละหมาดฟัรฺฎูวันหนึ่ งกับคืนหนึ่งห้ าเวลานั้ น ไม่มีหลักฐานใดมายกเว้น
หรือผ่อนผันไม่ต้องละหมาด ยกเว้นบุคคลที่ถูกศาสนากาหนดไว้ เช่น สตรีที่มีรอบเดือน
เป็นต้น ฉะนั้นในภาวะอื่นๆ เช่น ละหมาดอีดแล้ว ได้รับการอนุโลมไม่ต้องละหมาดวันศุกร์ได้
แต่ไม่ต้ องละหมาดซุฮฺริด้ วยนั้ น ไม่ มีหลักฐานใดมากล่าวยืนยันยกเว้นไว้นั่นเอง
อีกทั้งการละทิ้งละหมาดฟัรฺฎูแม้เพียงหนึ่งฟัรฺฎู ถือเป็นบาปใหญ่ด้วยซ้า
ท่านรสูลุลลอฮฺ ‫صلي‬‫هللا‬‫عليه‬‫وسلم‬ กล่าวว่า
«َّ‫ن‬ِ‫إ‬َْ‫ي‬َ‫ب‬ِ‫ل‬ُ‫ج‬َّ‫الر‬َْ‫ي‬َ‫ب‬َ‫و‬ِ‫ك‬ْ‫ر‬ِ‫الش‬ِ‫ر‬ْ‫ف‬ُ‫ك‬ْ‫ل‬‫ا‬َ‫و‬َ‫ك‬ْ‫ر‬َ‫ت‬ِ‫ة‬َ‫ال‬َّ‫الص‬»
“แท้จริงระหว่างบุคคลหนึ่งกับการตั้งภาคีและการเป็นกุฟรฺ (การปฏิเสธ) นั้นคือ
การละทิ้งละหมาด (ฟัรฺฎู)”18
อีกประการหนึ่ง การละหมาดซุฮฺริเป็ นละหมาดหนึ่งในห้ าของละหมาดฟัรฺฎู
ซึ่งพระองค์อัลลอฮฺทรงกาหนดเป็นฟัรฺฎูก่อนที่พระองค์จะกาหนดละหมาดวันศุกร์เสียอีก
17
หะดีษเศาะหี้หฺ,บันทึกโดยอิบนุ มาญะฮฺหะดีษที่ 1373
18
หะดีษเศาะหี้หฺ,บันทึกโดยมุสลิม หะดีษที่ 256
ซึ่งพิจารณาได้จาก บุคคลที่ศาสนาผ่อนผันไม่ต้องละหมาดวันศุกร์ซึ่งไม่เป็นฟัรฺฎูสาหรับเขา
อ า ทิ เ ช่ น ค น เ ดิ น ท า ง ห รื อ ค น ป่ ว ย
แต่บุคคลดังกล่าววาญิบจะต้องละหมาดซุฮฺริในวันนั้ นแทนการละหมาดวันศุกร์
โดยไม่มีข้อยกเว้นแต่ประการใดทั้งสิ้น
ประเด็นที่สาม
กรณีที่ได้รับการผ่อนผันไม่ต้ องละหมาดวันศุกร์ แต่ไม่ต้องละหมาดซุฮฺริ
ซึ่งเป็นการกระทาของท่านอิบนุซุบัยร์ ( ‫رضي‬‫هللا‬‫عنه‬ )
ท่านอะฏออ์เล่าว่า “อีดสองอีดมารวมในวันเดียวกัน, เขา (อิบนุ ซุบัยร์)
รวมวันทั้งสองเข้าด้วยกัน แล้วท่านได้ ละหมาดทั้งสองนั้ น 2 ร็อกอะฮฺในตอนเช้า
โดยไม่ได้ละหมาดอะไรเพิ่มไปจากทั้งสองนั้นอีก จนกระทั่งละหมาดอัศริ”19
จ ริ งอ ยู่ แ ม้ ว่ า ท่ า น อิ บ นุ ซุ บั ย ร์ ไม่ ไ ด้ อ อ ก ม า ล ะ ห ม า ด วั น ศุ ก ร์
จนกระทั่งเขาออกมาละหมาดอัศริ แต่ก็มิได้หมายรวมว่าท่านอิบนุ ซุบัยร์มิได้ละหมาดซุฮฺริ
ซึ่ ง ห ะ ดี ษ ข้ า ง ต้ น ก็ มิ ไ ด้ ก ล่ า ว ร ะ บุ ไ ว้ แ ต่ จั ก อ ย่ า ง ไ ร ก็ ช่ า ง
การยกเลิกละหมาดซุฮฺริหนึ่งเวลาซึ่งเป็ นฟัรฺฎูจะต้องมีหลักฐานอย่างชัดเจนมายืนยัน
เ พ ร า ะ เ ป็ น เ รื่ อ ง ใ ห ญ่
ซึ่งเรื่องใหญ่ที่ต้องละทิ้ งละหมาดฟัรฺฎูหนึ่งเวลาโดยไม่มีหลักฐานอันชัดเจนมาระบุ
ห รื อ ร ะ บุ แ บ บ ค ลุ ม เ ค รื อ ค ง เ ป็ น ไ ป ไ ม่ ไ ด้ อ ยู่ แ ล้ ว
อย่างน้ อยที่สุดท่านรสูลุลลอฮฺต้องระบุไว้อย่างแจ่มแจ้ง แต่กลับไม่มีหลักฐานใดๆ
มาระบุเจาะจงสิ่งดังกล่าว ทั้งๆ ที่เป็นเรื่องใหญ่ และสาคัญมากๆ (ดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น)
.‫أعلم‬ ‫تعاَل‬ ‫وهللا‬
19
หะดีษเศาะหี้หฺ,บันทึกโดยอบูดาวูดหะดีษที่ 1074
‫فتوى‬‫واإلفتاء‬ ‫العلمية‬ ‫للبحوث‬ ‫الدائمة‬ ‫اللجنة‬
‫رقم‬21160‫يخ‬‫ر‬‫وتا‬8/11/1420‫ه‬
1-‫ا‬ً‫ظهر‬ ‫ويصليها‬ ،‫اْلمعة‬ ‫صَلة‬ ‫حضور‬ ‫عدم‬ ‫ِف‬ ‫له‬ ‫فْيخص‬ ‫العيد‬ ‫صَلة‬ ‫حضر‬ ‫من‬
.‫أفضل‬ ‫فهو‬ ‫اْلمعة‬ ‫الناس‬ ‫مع‬ ‫فصلى‬ ‫مية‬‫ز‬‫بالع‬ ‫أخذ‬ ‫وإن‬ ،‫الظهر‬ ‫وقت‬ ‫ِف‬
2-‫َيضر‬ ‫ل‬ ‫من‬‫وجوب‬ ‫عنه‬ ‫يسقط‬ ‫فَل‬ ‫ولذا‬ ،‫الرخصة‬ ‫تشمله‬ ‫فَل‬ ‫العيد‬ ‫صَلة‬
‫به‬ ‫تنعقد‬ ‫عدد‬ ‫يوجد‬ ‫ل‬ ‫فإن‬ ،‫اْلمعة‬ ‫لصَلة‬ ‫املسجد‬ ‫إَل‬ ‫السعي‬ ‫عليه‬ ‫فيجب‬ ،‫اْلمعة‬
.‫ا‬ً‫ظهر‬ ‫صَلها‬ ‫اْلمعة‬ ‫صَلة‬
3-‫شاء‬ ‫من‬ ‫ليشهدها‬ ‫اليوم‬ ‫ذلك‬ ‫اْلمعة‬ ‫صَلة‬ ‫إقامة‬ ‫اْلمعة‬ ‫مسجد‬ ‫إمام‬ ‫على‬ ‫َيب‬
‫ال‬ ‫حضر‬ ‫إن‬ ‫العيد‬ ‫يشهد‬ ‫ل‬ ‫ومن‬ ‫شهودها‬‫وإال‬ ،‫اْلمعة‬ ‫صَلة‬ ‫به‬ ‫تنعقد‬ ‫الذي‬ ‫عدد‬
.‫ا‬ً‫ظهر‬ ‫فتصلى‬
4-‫بعد‬ ‫ا‬ً‫ظهر‬ ‫يصليها‬ ‫فإنه‬ ‫اْلمعة‬ ‫حضور‬ ‫بعدم‬ ‫وترخص‬ ‫العيد‬ ‫صَلة‬ ‫حضر‬ ‫من‬
.‫الظهر‬ ‫وقت‬ ‫دخول‬
5-‫فَل‬ ‫اْلمعة‬ ‫صَلة‬ ‫فيها‬ ‫تقام‬ ‫اليت‬ ‫املساجد‬ ‫ِف‬ ‫إال‬ ‫األذان‬ ‫الوقت‬ ‫هذا‬ ‫ِف‬ ‫يشرع‬ ‫ال‬
.‫اليوم‬ ‫ذلك‬ ‫الظهر‬ ‫لصَلة‬ ‫األذان‬ ‫يشرع‬
6-‫بأن‬ ‫القول‬‫ذلك‬ ‫الظهر‬ ‫وصَلة‬ ‫اْلمعة‬ ‫صَلة‬ ‫عنه‬ ‫تسقط‬ ‫العيد‬ ‫صَلة‬ ‫حضر‬ ‫من‬
‫السنة‬ ‫ملخالفته‬ ‫وغرابته؛‬ ‫خبطئه‬ ‫وحكموا‬ ‫العلماء‬ ‫هجره‬ ‫ولذا‬ ،‫صحيح‬ ‫غْي‬ ‫قول‬ ‫اليوم‬
‫السنن‬ ‫من‬ ‫املسألة‬ ‫ِف‬ ‫ما‬ ‫يبلغه‬ ‫ل‬ ‫قائله‬ ‫ولعل‬،‫دليل‬ ‫بَل‬ ‫هللا‬ ‫فرائض‬ ‫من‬ ‫فريضة‬ ‫وإسقاطه‬
‫حضو‬ ‫بعدم‬ ‫العيد‬ ‫صَلة‬ ‫حضر‬ ‫ملن‬ ‫رخصت‬ ‫اليت‬ ‫واآلثار‬‫َيب‬ ‫وأنه‬ ،‫اْلمعة‬ ‫صَلة‬ ‫ر‬
.‫أعلم‬ ‫تعاَل‬ ‫وهللا‬ ‫ا‬ً‫ظهر‬ ‫صَلِتا‬ ‫عليه‬
.‫وسلم‬ ‫وصحبه‬ ‫وآله‬ ‫حممد‬ ‫نبينا‬ ‫على‬ ‫هللا‬ ‫وصلى‬ ،‫التوفيق‬ ‫وباهلل‬
‫واإلفتاء‬ ‫العلمية‬ ‫للبحوث‬ ‫الدائمة‬ ‫اللجنة‬
•:‫ئيس‬‫ر‬‫ال‬‫الشيخ‬ ‫آل‬ ‫هللا‬ ‫عبد‬ ‫بن‬ ‫يز‬‫ز‬‫الع‬ ‫عبد‬.
•:‫عضو‬‫غديان‬ ‫بن‬ ‫هللا‬ ‫عبد‬.
•:‫عضو‬‫يد‬‫ز‬ ‫أبو‬ ‫بكر‬.
•:‫عضو‬‫ان‬‫ز‬‫الفو‬ ‫صاحل‬.
http://www.alifta.com/Fatawa/Fatwaprint.aspx?languagename=&id=12796&
BookID=3&sectionid=
ฟัตวาลัจญ์นะฮฺดาอิมะฮฺ หมายเลข 21160 วันที่ 8/11/1420 ฮ.ศ.
1. ผู้ ใดที่ไปละห มาดอีดแล้ว เปิ ดโอกาสให้ เขาขาดละหม าดญุม อัตได้
และให้เขาละหมาดซุฮฺริในเวลา แต่ถ้าหากว่าเขาจะยึดปฏิบัติตามคาสั่งที่เป็ นข้อบังคับ
( อ ะ ซี ม ะ ฮฺ ) ด้ ว ย ก า ร ล ะ ห ม า ด ญุ มุ อ ะ ฮ์ พ ร้ อ ม ๆ กั บ ผู้ ค น
ก็ถือว่าเป็ นการกระทาที่ประเสริฐกว่า
2. ผู้ ใ ด ที่ ไ ม่ ไ ป ล ะ ห ม า ด อี ด
ไม่ ถื อ ว่าอ ยู่ ใน ก ลุ่ ม ข อ งผู้ ที่ ได้ รับ ก าร อ นุ โลม ให้ ข าด ละ ห ม าด ญุ ม อั ต
ดังนั้นเขาจึงจาเป็นต้องไปละหมาดญุมอัตที่มัสยิด
3. อิหม่ามมัสยิดที่ทาละหมาดญุมอัตจาเป็ นต้องทาละหมาดญุมอัตในวันนั้ น
เ พื่ อ ใ ห้ บ ร ร ด า ผู้ ที่ ป ร ะ ส ง ค์ จ ะ ท า ล ะ ห ม า ด ญุ ม อั ต
และผู้ที่ไม่ได้ไปละหมาดอีดได้ร่วมกันละหมาด
4. ผู้ที่ไปละหมาดอีด และจะถือปฏิบัติตามการอนุโลมด้วยการไม่ไปละหมาดญุมอัต
เขาจาเป็นต้องละหมาดซุฮฺริในเวลา
5. ใ น วั น นั้ น ไ ม่ มี บั ญ ญั ติ ใ ห้ ท า ก า ร อ ะ ซ า น
น อ ก จ า ก ใ น มั ส ยิ ด ที่ จ ะ ท า ก า ร ล ะ ห ม า ด ญุ ม อั ต เท่ า นั้ น ดั ง นั้ น
จึงไม่มีบัญญัติให้อะซานสาหรับละหมาดซุฮฺริในวันนั้น
6. ทั ศ น ะ ที่ เ ห็ น ว่ า ผู้ ที่ ล ะ ห ม า ด อี ด แ ล้ ว
ถือว่าไม่จาเป็นต้องละหมาดญุมุอะฮฺและซุฮรีในวันดังกล่าวอีกนั้น เป็นทัศนะที่ไม่ถูกต้อง
ด้วยเหตุนี้ บรรดาอุละมาอ์จึงไม่ยอมรับทัศนะดังกล่าว และตัดสินว่าเป็นทัศนะที่ผิดและแปลก
เนื่องจากเป็นทัศนะที่ขัดแย้งกับสุนนะฮฺ และเป็นการยกเลิกฟัรดูหนึ่งจากบรรดาฟัรดูต่างๆ
ที่อัลลอฮฺทรงกาหนดไว้ โดยปราศจากหลักฐาน เป็ นไปได้ ว่าผู้ ที่มี ทัศนะเช่นนี้
ไ ม่ ไ ด้ ท ร า บ ถึ ง ตั ว บ ท สุ น น ะ ฮฺ แ ล ะ อ า ษ า รฺ ต่ า งๆ ใ น ป ร ะ เด็ น นี้
ที่ อ นุ โ ล ม ใ ห้ ผู้ ที่ ล ะ ห ม า ด อี ด แ ล้ ว ไ ม่ ต้ อ งล ะ ห ม า ด ญุ มุ อ ะ ฮฺ ไ ด้
แต่ก็วาญิบสาหรับเขาที่ต้องละหมาดซุฮรีแทน.. วัลลอฮุอะอฺลัม
อับดุลอะซีซ บิน อับดุลลอฮฺ บิน มุหัมมัด อาลิชชัยคฺ ประธาน
อับดุลลอฮฺ บิน อับดุลเราะหฺมาน อัลฆุดัยยาน กรรมการ
บักร์ บิน อับดุลลอฮฺ อบูเซด กรรมการ
ศอลิหฺ บิน เฟาซาน อัลเฟาซาน กรรมการ

More Related Content

What's hot

เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555Carzanova
 
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบอิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบKumobarick Achiroki
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพรampy48
 
กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6thnaporn999
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาutumporn charoensuk
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์thnaporn999
 
Script พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhamma
Script พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhammaScript พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhamma
Script พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhammablcdhamma
 
(ล่าสุดฉบับแก้ไขครั้งที่ 2) ละหมาดตะรอวีห์ โดย อาริฟีน แสงวิมาน
(ล่าสุดฉบับแก้ไขครั้งที่ 2) ละหมาดตะรอวีห์ โดย อาริฟีน แสงวิมาน(ล่าสุดฉบับแก้ไขครั้งที่ 2) ละหมาดตะรอวีห์ โดย อาริฟีน แสงวิมาน
(ล่าสุดฉบับแก้ไขครั้งที่ 2) ละหมาดตะรอวีห์ โดย อาริฟีน แสงวิมานsunnahstudent
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆAnchalee BuddhaBucha
 
วิธีอัญเชิญพระธาตุ
วิธีอัญเชิญพระธาตุวิธีอัญเชิญพระธาตุ
วิธีอัญเชิญพระธาตุTongsamut vorasan
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารหลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารguestf16531
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1thnaporn999
 

What's hot (20)

เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
 
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบอิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
Mazhab
MazhabMazhab
Mazhab
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 
กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6
 
Buddha
BuddhaBuddha
Buddha
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
Script พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhamma
Script พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhammaScript พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhamma
Script พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhamma
 
(ล่าสุดฉบับแก้ไขครั้งที่ 2) ละหมาดตะรอวีห์ โดย อาริฟีน แสงวิมาน
(ล่าสุดฉบับแก้ไขครั้งที่ 2) ละหมาดตะรอวีห์ โดย อาริฟีน แสงวิมาน(ล่าสุดฉบับแก้ไขครั้งที่ 2) ละหมาดตะรอวีห์ โดย อาริฟีน แสงวิมาน
(ล่าสุดฉบับแก้ไขครั้งที่ 2) ละหมาดตะรอวีห์ โดย อาริฟีน แสงวิมาน
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
 
วิธีอัญเชิญพระธาตุ
วิธีอัญเชิญพระธาตุวิธีอัญเชิญพระธาตุ
วิธีอัญเชิญพระธาตุ
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
ฮินดู
ฮินดูฮินดู
ฮินดู
 
Al kafi
Al kafiAl kafi
Al kafi
 
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารหลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
งานสังคม
งานสังคมงานสังคม
งานสังคม
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
 

Viewers also liked

فكر التكفير قديما وحديثا
فكر التكفير قديما وحديثافكر التكفير قديما وحديثا
فكر التكفير قديما وحديثاOm Muktar
 
إغاثة اللهفان في مصايد الشيطان
إغاثة اللهفان في مصايد الشيطانإغاثة اللهفان في مصايد الشيطان
إغاثة اللهفان في مصايد الشيطانOm Muktar
 
بيان فساد المعيار حوار مع حزبي متستر
بيان فساد المعيار حوار مع حزبي متستربيان فساد المعيار حوار مع حزبي متستر
بيان فساد المعيار حوار مع حزبي متسترOm Muktar
 
توفيق رب العباد في شرح كتاب تطهير الاعتقاد عن أدران الإلحاد
توفيق رب العباد في شرح كتاب تطهير الاعتقاد عن أدران الإلحادتوفيق رب العباد في شرح كتاب تطهير الاعتقاد عن أدران الإلحاد
توفيق رب العباد في شرح كتاب تطهير الاعتقاد عن أدران الإلحادOm Muktar
 
الانْـتِصار لِكتَابِ العَزيز الْجبَّار ولأصحابِ مُحَمَّد صلى الله عليه وسلم ا...
الانْـتِصار لِكتَابِ العَزيز الْجبَّار ولأصحابِ مُحَمَّد صلى الله عليه وسلم ا...الانْـتِصار لِكتَابِ العَزيز الْجبَّار ولأصحابِ مُحَمَّد صلى الله عليه وسلم ا...
الانْـتِصار لِكتَابِ العَزيز الْجبَّار ولأصحابِ مُحَمَّد صلى الله عليه وسلم ا...Om Muktar
 
الاعتقاد والهداية إلى سبيل الرشاد
الاعتقاد والهداية إلى سبيل الرشادالاعتقاد والهداية إلى سبيل الرشاد
الاعتقاد والهداية إلى سبيل الرشادOm Muktar
 
تصحيح المفاهيم في جوانب من العقيدة
تصحيح المفاهيم في جوانب من العقيدةتصحيح المفاهيم في جوانب من العقيدة
تصحيح المفاهيم في جوانب من العقيدةOm Muktar
 
الرد على الرفاعي والبوطي في كذبهما على أهل السنة ودعوتهما إلى البدع والضلال
الرد على الرفاعي والبوطي في كذبهما على أهل السنة ودعوتهما إلى البدع والضلالالرد على الرفاعي والبوطي في كذبهما على أهل السنة ودعوتهما إلى البدع والضلال
الرد على الرفاعي والبوطي في كذبهما على أهل السنة ودعوتهما إلى البدع والضلالOm Muktar
 
تنبيه النبيه و الغبي في الرد على المدراسي و الحلبي العلامة أحمد بن إبراهيم ب...
تنبيه النبيه و الغبي في الرد على المدراسي و الحلبي  العلامة أحمد بن إبراهيم ب...تنبيه النبيه و الغبي في الرد على المدراسي و الحلبي  العلامة أحمد بن إبراهيم ب...
تنبيه النبيه و الغبي في الرد على المدراسي و الحلبي العلامة أحمد بن إبراهيم ب...Om Muktar
 
خلافة أبي بكر الصديق في فكر ابن تيمية السياسي
خلافة أبي بكر الصديق في فكر ابن تيمية السياسيخلافة أبي بكر الصديق في فكر ابن تيمية السياسي
خلافة أبي بكر الصديق في فكر ابن تيمية السياسيOm Muktar
 
เปิดปมเมาลิดนบี - มุรีด ทิมะเสน
เปิดปมเมาลิดนบี - มุรีด ทิมะเสนเปิดปมเมาลิดนบี - มุรีด ทิมะเสน
เปิดปมเมาลิดนบี - มุรีด ทิมะเสนOm Muktar
 
ردع الجاني المتعدي على الألباني
ردع الجاني المتعدي على الألبانيردع الجاني المتعدي على الألباني
ردع الجاني المتعدي على الألبانيOm Muktar
 
أصول وضوابط في التكفير
أصول وضوابط في التكفيرأصول وضوابط في التكفير
أصول وضوابط في التكفيرOm Muktar
 
العدل في شريعة الإسلام وليس في الديموقراطية المزعومة
العدل في شريعة الإسلام وليس في الديموقراطية المزعومةالعدل في شريعة الإسلام وليس في الديموقراطية المزعومة
العدل في شريعة الإسلام وليس في الديموقراطية المزعومةOm Muktar
 
القول البديع في تحذير الشباب من خطورة التكفير والتفسيق والتبديع
القول البديع في تحذير الشباب من خطورة التكفير والتفسيق والتبديعالقول البديع في تحذير الشباب من خطورة التكفير والتفسيق والتبديع
القول البديع في تحذير الشباب من خطورة التكفير والتفسيق والتبديعOm Muktar
 
براءة أهل الحديث والسنة من بدعة المرجئة
براءة أهل الحديث والسنة من بدعة المرجئةبراءة أهل الحديث والسنة من بدعة المرجئة
براءة أهل الحديث والسنة من بدعة المرجئةOm Muktar
 
الرد على الشاذلي في حزبيه وما صنفه من آداب الطريق
الرد على الشاذلي في حزبيه وما صنفه من آداب الطريقالرد على الشاذلي في حزبيه وما صنفه من آداب الطريق
الرد على الشاذلي في حزبيه وما صنفه من آداب الطريقOm Muktar
 
excellent! - أصول مذهب الشيعة الإمامية الاثنى عشرية
excellent! - أصول مذهب الشيعة الإمامية الاثنى عشريةexcellent! - أصول مذهب الشيعة الإمامية الاثنى عشرية
excellent! - أصول مذهب الشيعة الإمامية الاثنى عشريةOm Muktar
 
فتح المعبود في الرد على ابن محمود
فتح المعبود في الرد على ابن محمودفتح المعبود في الرد على ابن محمود
فتح المعبود في الرد على ابن محمودOm Muktar
 
كتاب النزول - كتاب الصفات للإمام الدارقطني
كتاب النزول - كتاب الصفات للإمام الدارقطنيكتاب النزول - كتاب الصفات للإمام الدارقطني
كتاب النزول - كتاب الصفات للإمام الدارقطنيOm Muktar
 

Viewers also liked (20)

فكر التكفير قديما وحديثا
فكر التكفير قديما وحديثافكر التكفير قديما وحديثا
فكر التكفير قديما وحديثا
 
إغاثة اللهفان في مصايد الشيطان
إغاثة اللهفان في مصايد الشيطانإغاثة اللهفان في مصايد الشيطان
إغاثة اللهفان في مصايد الشيطان
 
بيان فساد المعيار حوار مع حزبي متستر
بيان فساد المعيار حوار مع حزبي متستربيان فساد المعيار حوار مع حزبي متستر
بيان فساد المعيار حوار مع حزبي متستر
 
توفيق رب العباد في شرح كتاب تطهير الاعتقاد عن أدران الإلحاد
توفيق رب العباد في شرح كتاب تطهير الاعتقاد عن أدران الإلحادتوفيق رب العباد في شرح كتاب تطهير الاعتقاد عن أدران الإلحاد
توفيق رب العباد في شرح كتاب تطهير الاعتقاد عن أدران الإلحاد
 
الانْـتِصار لِكتَابِ العَزيز الْجبَّار ولأصحابِ مُحَمَّد صلى الله عليه وسلم ا...
الانْـتِصار لِكتَابِ العَزيز الْجبَّار ولأصحابِ مُحَمَّد صلى الله عليه وسلم ا...الانْـتِصار لِكتَابِ العَزيز الْجبَّار ولأصحابِ مُحَمَّد صلى الله عليه وسلم ا...
الانْـتِصار لِكتَابِ العَزيز الْجبَّار ولأصحابِ مُحَمَّد صلى الله عليه وسلم ا...
 
الاعتقاد والهداية إلى سبيل الرشاد
الاعتقاد والهداية إلى سبيل الرشادالاعتقاد والهداية إلى سبيل الرشاد
الاعتقاد والهداية إلى سبيل الرشاد
 
تصحيح المفاهيم في جوانب من العقيدة
تصحيح المفاهيم في جوانب من العقيدةتصحيح المفاهيم في جوانب من العقيدة
تصحيح المفاهيم في جوانب من العقيدة
 
الرد على الرفاعي والبوطي في كذبهما على أهل السنة ودعوتهما إلى البدع والضلال
الرد على الرفاعي والبوطي في كذبهما على أهل السنة ودعوتهما إلى البدع والضلالالرد على الرفاعي والبوطي في كذبهما على أهل السنة ودعوتهما إلى البدع والضلال
الرد على الرفاعي والبوطي في كذبهما على أهل السنة ودعوتهما إلى البدع والضلال
 
تنبيه النبيه و الغبي في الرد على المدراسي و الحلبي العلامة أحمد بن إبراهيم ب...
تنبيه النبيه و الغبي في الرد على المدراسي و الحلبي  العلامة أحمد بن إبراهيم ب...تنبيه النبيه و الغبي في الرد على المدراسي و الحلبي  العلامة أحمد بن إبراهيم ب...
تنبيه النبيه و الغبي في الرد على المدراسي و الحلبي العلامة أحمد بن إبراهيم ب...
 
خلافة أبي بكر الصديق في فكر ابن تيمية السياسي
خلافة أبي بكر الصديق في فكر ابن تيمية السياسيخلافة أبي بكر الصديق في فكر ابن تيمية السياسي
خلافة أبي بكر الصديق في فكر ابن تيمية السياسي
 
เปิดปมเมาลิดนบี - มุรีด ทิมะเสน
เปิดปมเมาลิดนบี - มุรีด ทิมะเสนเปิดปมเมาลิดนบี - มุรีด ทิมะเสน
เปิดปมเมาลิดนบี - มุรีด ทิมะเสน
 
ردع الجاني المتعدي على الألباني
ردع الجاني المتعدي على الألبانيردع الجاني المتعدي على الألباني
ردع الجاني المتعدي على الألباني
 
أصول وضوابط في التكفير
أصول وضوابط في التكفيرأصول وضوابط في التكفير
أصول وضوابط في التكفير
 
العدل في شريعة الإسلام وليس في الديموقراطية المزعومة
العدل في شريعة الإسلام وليس في الديموقراطية المزعومةالعدل في شريعة الإسلام وليس في الديموقراطية المزعومة
العدل في شريعة الإسلام وليس في الديموقراطية المزعومة
 
القول البديع في تحذير الشباب من خطورة التكفير والتفسيق والتبديع
القول البديع في تحذير الشباب من خطورة التكفير والتفسيق والتبديعالقول البديع في تحذير الشباب من خطورة التكفير والتفسيق والتبديع
القول البديع في تحذير الشباب من خطورة التكفير والتفسيق والتبديع
 
براءة أهل الحديث والسنة من بدعة المرجئة
براءة أهل الحديث والسنة من بدعة المرجئةبراءة أهل الحديث والسنة من بدعة المرجئة
براءة أهل الحديث والسنة من بدعة المرجئة
 
الرد على الشاذلي في حزبيه وما صنفه من آداب الطريق
الرد على الشاذلي في حزبيه وما صنفه من آداب الطريقالرد على الشاذلي في حزبيه وما صنفه من آداب الطريق
الرد على الشاذلي في حزبيه وما صنفه من آداب الطريق
 
excellent! - أصول مذهب الشيعة الإمامية الاثنى عشرية
excellent! - أصول مذهب الشيعة الإمامية الاثنى عشريةexcellent! - أصول مذهب الشيعة الإمامية الاثنى عشرية
excellent! - أصول مذهب الشيعة الإمامية الاثنى عشرية
 
فتح المعبود في الرد على ابن محمود
فتح المعبود في الرد على ابن محمودفتح المعبود في الرد على ابن محمود
فتح المعبود في الرد على ابن محمود
 
كتاب النزول - كتاب الصفات للإمام الدارقطني
كتاب النزول - كتاب الصفات للإمام الدارقطنيكتاب النزول - كتاب الصفات للإمام الدارقطني
كتاب النزول - كتاب الصفات للإمام الدارقطني
 

More from Om Muktar

الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلم
الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلمالردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلم
الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلمOm Muktar
 
بلوغ المنى في حكم الاستمنى
بلوغ المنى في حكم الاستمنىبلوغ المنى في حكم الاستمنى
بلوغ المنى في حكم الاستمنىOm Muktar
 
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفية
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفيةالدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفية
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفيةOm Muktar
 
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوانالتاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوانOm Muktar
 
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...Om Muktar
 
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่Om Muktar
 
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...Om Muktar
 
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)Om Muktar
 
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)Om Muktar
 
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبيةأمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبيةOm Muktar
 
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلاميةOm Muktar
 
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمةOm Muktar
 
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذيعقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذيOm Muktar
 
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطيالأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطيOm Muktar
 
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...Om Muktar
 
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقديةالإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقديةOm Muktar
 
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقدمنهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقدOm Muktar
 
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويممنهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويمOm Muktar
 
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدةالإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدةOm Muktar
 
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباريمنهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباريOm Muktar
 

More from Om Muktar (20)

الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلم
الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلمالردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلم
الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلم
 
بلوغ المنى في حكم الاستمنى
بلوغ المنى في حكم الاستمنىبلوغ المنى في حكم الاستمنى
بلوغ المنى في حكم الاستمنى
 
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفية
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفيةالدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفية
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفية
 
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوانالتاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
 
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
 
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
 
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
 
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
 
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
 
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبيةأمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
 
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
 
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
 
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذيعقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
 
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطيالأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
 
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
 
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقديةالإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
 
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقدمنهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
 
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويممنهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
 
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدةالإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
 
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباريمنهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
 

อีดตรงกับวันศุกร์ (ภาษาไทย)

  • 2.
  • 3. อิบ นุ ตัยมี ย ะฮฺ ถู ก ถาม ว่า ช าย สอ งค น ได้ขัด แ ย้งกัน ใน ป ระเด็ น ว่า เมื่อวันอีดตรงกับวันศุกร์ คนหนึ่งกล่าวว่า จาต้องละหมาดอีดและไม่ต้องละหมาดญุมุอะฮฺ อีกคนหนึ่งกล่าวว่า ต้องละหมาดญุมุอะฮฺเช่นเดียวกัน ทัศนะใดที่ถูกต้อง? อิบนุตัยมียะฮฺตอบว่า เมื่อวันศุกร์ตรงกับวันอีดในวันเดียวกัน บรรดาอุละมาอฺมีอยู่ 3 ทัศนะ ทั ศ น ะ ที่ 1 - การละหมาดญุมุอะฮฺเป็ นวาญิบ(จาเป็ นต้องทา)สาหรับคนที่ได้ละหมาดอีดด้วย ดังเช่นทุก วันศุกร์ เนื่องด้วยหลักฐานต่างๆที่บ่งถึงความจาเป็นในการปฏิบัติละหมาดญุมุอะฮฺ (หมายถึงไม่มีข้อเว้น) ทั ศ น ะ ที่ 2 - การละหมาดญุมุอะฮฺไม่ต้องปฏิบัติสาหรับชาวชนบทและคนเร่ร่อนเพราะท่านอุษมาน อิ บ นุ อั ฟ ฟ า น ร่ อ ฎิ ยั ล ล อ ฮุ อั น ฮุ อนุโลมให้คนกลุ่มนี้ละทิ้งการละหมาดญุมุอะฮฺเมื่อท่านได้ละหมาดอีดกับพวกเขา(หมายรวมว่า อนุญาตไม่ให้ละหมาดยุมุอะฮฺที่มัสญิด แต่ให้ละหมาดดุฮฺริที่บ้านของตนก็ได้) ทั ศ น ะ ที่ 3 - ซึ่งเป็ นทัศนะที่ถูกต้องคือ ใครที่ละหมาดอีดแล้วการละหมาดญุมุอะฮฺก็ถูกเว้นไป แต่สาหรั บอิหม่ามจาต้องดารงการละหมาดญุมุอะฮฺเพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ที่ประสงค์จะละหมาดญุมุอะฮฺได้ มีที่ละหมาดและสาหรับคนที่ไม่ ได้ละหมาดอีด(จะได้มี ที่ละหมาดญุมุอะฮฺด้วย) และนั่นคือการปฏิบัติที่มีรายงานจากท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม และสาวกของท่าน อาทิเช่น ท่านอุมัร, อุษมาน, อิบนุ มัสอู๊ด, อิบนุ อับบาส, อิบนุ ซุบัยรฺ, และอื่นๆ โด ย ไ ม่ มี ทั ศ น ะ อื่ น จ า ก เศ า ะ ฮ า บ ะ ฮฺ ดั งก ล่ า ว ที่ แ ย้ งกั บ ทั ศ น ะ นี้ และสาหรับสองทัศนะแรกเขาก็ไม่ได้รับรู้หลักฐานจากซุนนะฮฺของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุ อ ะ ลั ย ฮิ ว ะ ซั ล ลั ม เ กี่ ย ว กั บ ก ร ณี วั น ศุ ก ร์ ต ร ง กั บ วั น อี ด ซึ่ งท่ าน น บี ล ะห ม า ด อี ด แ ละ อ นุ โลม ( ใ ห้ เว้ น ) ก า ร ละ ห ม าด ญุ มุ อ ะ ฮฺ และมีอีกสานวนหนึ่งท่านนบีกล่าวว่า "โอ้ผู้คนทั้ งหลาย แท้จริงพวกท่านได้ประสบความดีแล้ว(คือละหมาดอีด) ดั ง นั้ น ใ ค ร ป ร ะส ง ค์ ที่ จ ะล ะห ม า ด ญุ มุ อ ะฮฺ ( ด้ วย ) ก็ จ ง ป ร า ก ฏ ตั ว เพราะเราจะละหมาดญุมุอะฮฺ(ด้วย)" อนึ่ง ผู้ที่ละหมาดอีดแล้วจะถือว่าประสบวัตถุประสงค์ของการชุมนุม(ในวันศุกร์) และจาเป็ นต้องละหมาดดุฮฺริถ้าไม่ได้ละหมาดญุมุอะฮฺ โดยละหมาดดุฮฺริตามเวลา เพ ราะก ารละห ม าด อีด นั้ น ได้ บ รรลุ เป้ าห ม ายข องละ ห ม าดญุ มุ อะฮฺ แ ล้ ว
  • 4. และการบังคับให้ ผู้คน(ละหมาดญุมุ อะฮฺด้ วย) เป็ นความลาบากสาหรับพวกเขา และอาจขัดกับเป้ าหมายของวันอีดที่ส่งเสริมให้สนุกสนานและประพฤติตัว(ตามอัธยาศัย) ซึ่งหากพวกเขาถูกบังคับให้ ละหมาดญุมุอะฮฺก็เป็ นการทาลายเป้ าหมายของวันอีด ซึ่งวันญุมุอะฮฺเป็นอีดและวันอัลฟิฏรฺ(อีดเล็ก)กับวันอันนะหรฺ(อีดใหญ่)เป็นวันอีดเช่นเดียวกัน ซึ่งเป็นนโยบายของพระผู้บัญญัติเมื่อมีอิบาดะฮฺสองชนิดได้ปรากฏพร้อมกันก็จะประสมประสา นกันเช่นเดียวกับการอาบน้าละหมาดที่เข้าอยู่ในการอาบน้าญะนาบะฮฺ วัลลอฮุอะอฺลัม1 1 มัจญฺมูอฺอัลฟะตาวา,อิบนุตัยมียะฮฺ เล่ม 24 หน้า 210-211
  • 5. เมื่อวันอีดตรงกับวันศุกร์ ทัศนะของอุละมาอ์ หากวันอีดและวันศุกร์ตรงกันและบรรดามหาชนได้มาร่วมละหมาดวันอีดก็อนุญาตให้พ วกเขาแยกย้ายกันไป และทิ้งการละหมาดวันศุกร์ได้ เพราะมีรายงานจากท่านอุษมาน (ร.ฎ.) ว่าท่านได้กล่าวในคุฏบะฮฺของท่านว่า “โอ้ผองชน แน่แท้ สองอีดได้รวมกันในวันของพวกท่าน ผู้ใดจากชาวอัล - อาลียะฮฺประสงค์จะละหมาดวันศุกร์พร้อมกับเรา เขาผู้นั้นก็จงละหมาด และผู้ใดประสงค์จะแยกย้ายไป ก็ให้ผู้นั้นแยกย้ายไป” ไม่มีผู้ใดคัดค้านคาพูดของท่านอุษมาน (ร.ฎ.) อิหม่ามอันนะวาวียฺ อธิบายว่า : อะษัรที่รายงานจากท่านอุษมาน (ร.ฎ.) นี้ อั ลบุ ค อ รี ยฺได้ ราย งาน เอ า ไว้ ใ น เศา ะฮี หฺ ข อ งเข า ค าว่า อั ล – อ าลิ ย ะ ฮฺ หมายถึงตาบลหนึ่งที่นครมะดีนะฮฺจากทางทิศตะวันออก และคาว่า “มหาชน” (‫اد‬‫و‬‫الس‬ ‫)اهل‬ ห ม า ย ถึ ง ช า ว ต า บ ล ซึ่งตรงนี้หมายถึงชาวตาบลหรือชุมชนที่เสียงอะซานไปถึงพวกเขาก็จาเป็นที่พวกเขาต้องมาร่วม ละหมาดวันศุกร์ในเมืองในวันอื่นจากวันอีด ดังนั้น ตามมัซฮับ อัช-ชาฟี อียฺ จึงถือว่าการละหมาดวันศุกร์จาเป็นเหนือชาวเมือง และการละหมาดวันศุกร์นั้ นตกไป (ไม่จาเป็น) จากบรรดาชาวชุมชนตามหมู่บ้าน (ที่ไกลออกไปจากตัวเมืองที่เป็นที่ตั้งของมัสญิด)ซึ่งตามนี้ ท่านอุษมาน(ร.ฎ.) ท่านอุมัร อิบนุ อับดิลอะซีซ และปวงปราชญ์ได้กล่าวเอาไว้ ส่วนท่านอะฏออฺ อิบนุ อบีเราะบาหฺ กล่าวว่า : เมื่อพวกเขาได้ละหมาดอีดแล้ว การละหมาดวันศุกร์ในวันนี้ ก็ไม่จาเป็น และละหมาดซุฮฺริด้วย ตลอดจนอื่นจากทั้งสอง (วันศุกร์- ซุฮฺริ) ยกเว้นละหมาดอัศริไม่ว่าผู้นั้นจะเป็นชาวเมืองหรือชาวชุมชนก็ตาม อิบนุ อัล - มุนซิรกล่าวว่า เราได้รายงานไว้ในทานองนี้ จากท่านอะลี อิบนุ อบีฏอลิบ (ร.ฎ.) และอั บ ดุ ลลอ ฮฺ อิ บ นุ อั ซซุ บั ยรฺ (ร .ฎ .) ท่ าน อิห ม่ าม อะหฺ ห มั ด (ร.ฮ .) กล่าวว่าการละหมาดวันศุกร์จะตกไปจากชาวชุมชนและชาวเมืองแต่จาเป็นต้องละหมาดซุฮฺริ อิ ห ม่ า ม อ บู ห ะ นี ฟ ะ ฮฺ ( ร . ฮ . ) ก ล่ า ว ว่ า : การละหมาดวันศุกร์จะไม่ตกไปไม่ว่าจะเป็นชาวเมืองหรือชาวชุมชน (กิตาบ อัล มัจญมูอฺ ชัรหุลมุฮัซซับ ; อันนะวาวียฺ เล่มที่ 4 หน้า 358-359 )
  • 6. จึ ง พ อ ส รุ ป ไ ด้ ว่ า เมื่อวันอีดไปตรงกับวันศุกร์ก็มีข้ออนุโลมสาหรับผู้ที่ละหมาดอีดในเช้าวันศุกร์นั้นไม่ต้องละหมา ดวัน ศุก ร์อีก แ ต่ถ้ าผู้ นั้ น จะละหม าดวัน ศุก ร์อีก ก็ไม่ มี ข้ อห้ ามแ ต่อ ย่างใด โ ด ย เ ฉ พ า ะ ผู้ ที่ อ ยู่ ใ ก ล้ มั ส ญิ ด ที่ ท า ล ะ ห ม า ด วั น ศุ ก ร์ ตลอดจนผู้เป็นอิหม่ามหรือคอเต็บก็ควรจะต้องทาละหมาดวันศุกร์ตามปกติ เ รื่ อ ง นี้ เ ป็ น ข้ อ อ นุ โ ล ม ที่ ศ า ส น า เ ปิ ด ช่ อ ง เ อ า ไ ว้ ไม่ ค ว ร น าเอ า ม า เป็ น ป ร ะ เด็ น ใ น ก าร ส ร้ างค ว า ม ขั ด แ ย้ งร ะ ห ว่ างกั น เฉพาะอย่างยิ่งในปัจจุบันการเดินทางไปละหมาดวันศุกร์ที่มีมัสญิดเป็ นสิ่งที่สะดวก ไม่ได้ลาบากเหมือนแต่ก่อน ดังนั้นผู้ที่จะมาละหมาดวันศุกร์อีกครั้งในวันอีดภายหลังการละหมาดอีดในตอนเช้าแล้ว ก็สาม ารถกระท าได้ เพ ราะมี หลักฐานแ ละทั ศน ะขอ งนั ก วิชาการสนั บ สนุ น และผู้ที่ละหมาดอีดแล้วขัดข้องไม่สะดวกมาละหมาดวันศุกร์อีกก็มีข้ออนุโลมว่าไม่ต้องละหมาด วั น ศุ ก ร์ ไ ด้ เพราะมีหลักฐานและทัศนะของนักวิชาการสนับสนุนจึงควรปล่อยให้เรื่องนี้เป็นไปตามความสะ ดวกและความประสงค์ของแต่ละบุคคล ไม่สมควรนามาตั้งแง่และโต้เถียงกันแต่อย่างใดเลย สรุป บรรดาอุละมาอฺ –เราะฮิมะฮุมุลลอฮฺ- มีทัศนะที่แตกต่างกันเกี่ยวประเด็นปัญหาการละหมาดวันศุกร์ เมื่อวันอีดตรงกับวันศุกร์ ออกเป็น 4 ทัศนะดังนี้ 1. เป็นข้อผ่อนปรนไม่ต้องละหมาดวันศุกร์แต่ให้ละหมาดซุฮฺรีแทนสาหรับผู้ที่อยู่ห่างไกลจากสถา นที่ละหมาดวันศุกร์2 นี้ คื อทั ศน ะของอิ มาม อัช-ชาฟิ อี ย์และรายงาน หนึ่ งจากอิ มามม าลิ ก และยังเป็นทัศนะของบรรดานักฟิกฮฺส่วนใหญ่ 2. วาญิบต้องละหมาดวันศุกร์สาหรับมุสลิมทุกคน นี้คือทัศนะของอิมามอบูหะนีฟะฮฺ 2 ใ น ห นั ง สื อ ฟิ ก ฮฺ ใ ช้ ค า ว่ า " อ ะ ฮฺ ลุ ล บ ะ ว า ดี ย์ " แ ป ล ว่ า ช า ว ช น บ ท เพราะในสมัยนบีจะไม่มีการละหมาดวันศุกร์นอกจากที่มัสญิดของท่าน ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิวะสัลลัม ฉะนั้นอะฮฺลุล บะวาดีย์จึงถือว่าเป็นบุคคลที่อยู่ห่างไกลจากสถานที่ละหมาด
  • 7. 3. ไม่ จ าเป็ น ต้ อ งละห ม าด วั น ศุ ก ร์สาห รั บ ผู้ ที่ ได้ ละห ม าด อี ด แ ล้ ว แต่สาหรับอิหม่ามมัสญิดจาเป็นต้องทาละหมาดวันศุกร์เผื่อคนที่จะมาร่วมละหมาด นี้ คื อ ทั ศ น ะ ข อ ง อิ ม า ม อ ะ หฺ มั ด และเป็นทัศนะที่เลือกเฟ้ นโดยอิบนุตัยมิยะฮฺและอิบนุลก็อยยิม 4. ไม่ต้องละหมาดวันศุกร์และละหมาดซุฮฺรี นี้คือทัศนะของอะฏออฺ หลักฐานและวิเคราะห์หลักฐาน หลักฐานของทัศนะที่หนึ่ง ทัศนะที่เห็นว่าเป็นข้อผ่อนปรนไม่ต้องละหมาดวันศุกร์แต่ให้ละหมาดซุฮฺรีแทนสาหรับผู้ ที่อยู่ห่างไกลจากสถานที่ละหมาดวันศุกร์นั้น ได้อ้างหลักฐานดังนี้ 1. จากท่านอบูอุบัยดฺคนใช้ของท่านอิบนุอัซฮัรฺได้กล่าวว่า: ฉันได้ละหมาด (อีด) พร้อมกับท่านอุษมาน อิบนุ อัฟฟาน ซึ่งวันนั้นเป็นวันศุกร์ แล้วท่านได้ละหมาดก่อนคุฏบะฮฺ หลังจากนั้นท่านก็ได้คุฏบะฮฺ และกล่าวว่า: ْ‫ن‬ِ‫م‬ َ‫ة‬َ‫ع‬ُ‫م‬ُْ‫ْل‬‫ا‬ َ‫ر‬ِ‫ظ‬َ‫ت‬ْ‫ن‬َ‫ي‬ ْ‫ن‬َ‫أ‬ َّ‫ب‬َ‫ح‬َ‫أ‬ ْ‫ن‬َ‫م‬َ‫ف‬ ،ِ‫ان‬َ‫د‬‫ي‬ِ‫ع‬ ِ‫يه‬ِ‫ف‬ ْ‫م‬ُ‫ك‬َ‫ل‬ َ‫ع‬َ‫م‬َ‫ت‬ْ‫اج‬ ْ‫د‬َ‫ق‬ ٌ‫م‬ْ‫و‬َ‫ي‬ ‫ا‬َ‫ذ‬َ‫ه‬ َّ‫ن‬ِ‫إ‬ ُ‫َّاس‬‫الن‬ ‫ا‬َ‫ه‬ُّ‫ي‬َ‫أ‬ ‫ا‬َ‫ي‬ ْ‫ه‬َ‫أ‬.ُ‫َه‬‫ل‬ ُ‫ت‬ْ‫ن‬ِ‫ذ‬َ‫أ‬ ْ‫د‬َ‫ق‬َ‫ف‬ َ‫ع‬ِ‫ج‬ْ‫ر‬َ‫ي‬ ْ‫ن‬َ‫أ‬ َّ‫ب‬َ‫ح‬َ‫أ‬ ْ‫ن‬َ‫م‬َ‫و‬ ،ْ‫ر‬ِ‫ظ‬َ‫ت‬ْ‫ن‬َ‫ي‬ْ‫ل‬َ‫ف‬ ِ‫اِل‬َ‫و‬َ‫ْع‬‫ل‬‫ا‬ ِ‫ل‬ “โอ้ผู้คนทั้งหลายแท้จริงวันนี้ สองอีด (วันศุกร์กับวันอีดอัลอัฎหา) ได้มาบรรจบกัน ดั งนั้ น ห า ก ผู้ ใด จ าก ช าว อ ะ ว า ลี ย์ รั ก ที่ จ ะ ร อ ละ ห ม า ด อี ด เข า ก็ จ งร อ และผู้ใดที่ประสงค์จะกลับแท้จริงฉันอนุญาตให้เขา (กลับ)”3 วิเคราะห์หลักฐาน 3 หะดีษบันทึกโดยอัลบุคอรีย์ เลขที่5572, และอัลบัยฮะกีย์ เลขที่6517
  • 8. อ ะ ษั รฺ บ ท นี้ เ ป็ น อ ะ ษั รฺ ที่ เ ศ า ะ หี้ หฺ และข้อบ่งชี้ของอะษัรฺก็ชัดเจนว่าที่อนุญาตให้ไม่ต้องละหมาดวันศุกร์คือชาวอะวาลีย์ ซึ่งเป็ นเป็ นตาลบที่อยู่ทางทิศตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต้ของสุสานบะกีอฺ และอยู่ห่างไกลจากมัสญิดนบีพอสมควร ฉ ะ นั้ น บุ ค ค ล ใ ด ที่ มี ส ภ า พ เ ห มื อ น กั บ ช า ว อ ะ ว า ลี ย์ คือบ้านเรือนอยู่ไกลจากสถานที่ละหมาดวันศุกร์ก็เป็นที่ผ่อนปรนที่จะไม่ต้องมาละหมาดวันศุก ร์แต่ให้ละหมาดซุฮฺรีแทน 2. มีรายงานจากท่านอุมัรฺ อิบนุ อับดุลอะซีซ เราะฮิมะฮุลลอฮฺว่า ท่านได้กล่าวว่า: ِ‫ان‬َ‫د‬ْ‫ي‬ِ‫ع‬ َ‫ع‬َ‫م‬َ‫ت‬ْ‫ج‬ِ‫ا‬ْ‫ن‬ِ‫م‬ َ‫س‬ِ‫ل‬َْ‫َي‬ ْ‫ن‬َ‫أ‬ َّ‫ب‬َ‫ح‬َ‫أ‬ ْ‫ن‬َ‫"م‬ : َ‫ال‬َ‫ق‬َ‫ف‬ ‫وسلم‬ ‫عليه‬ ‫هللا‬ ‫صلى‬ ِِِّ‫َّب‬‫الن‬ ِ‫د‬ْ‫ه‬َ‫ع‬ ‫ى‬َ‫ل‬َ‫ع‬ " ٍ‫ج‬َ‫ر‬َ‫ح‬ ِْ‫ْي‬َ‫غ‬ ْ ِ‫ِف‬ ْ‫س‬ِ‫ل‬ْ‫ج‬َ‫ي‬ْ‫ل‬َ‫ف‬ ِ‫ة‬َ‫ي‬ِ‫ال‬َ‫الع‬ ِ‫ل‬ْ‫ه‬َ‫أ‬ “สองวันอีดได้มาบรรจบกันได้สมัยของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิวะสัลลัม แล้วท่านก็กล่าวว่า: "ใครรักที่จะนั่ง (รอละหมาดอีด) จากชาวอาลิยะฮฺ ดังนั้นเขาก็จงนั่ง (รอ) โดยไม่มีอุปสรรคอะไร” วิเคราะห์หลักฐาน หะดีษบทนี้บันทึกโดยอิมามอัช-ชาฟิอีย์ในหนังสือ"อัล-อุม" 1/398 และในหนังสือ "อัล-มุสนัด" เลขที่: 343, อัล-บัยฮะกีย์ในหนังสือ "อัส-สุนัน" เลขที่: 6515, อัล- ฟิรฺยาบีย์ในหนังสือ "อะหฺกาม อัล-อีดัยนฺ" เลขที่: 141 หะดีษบทนี้ เป็นหะดีษที่มุรสัล เพราะเป็นสายรายงานที่ขาดตอนระหว่างท่านอุมัรฺ อิบนุ อั บ ดุ ล อ ะ ซี ซ กั บ ท่ า น น บี ศ็ อ ล ลั ล ล อ ฮฺ อ ะ ลั ย ฮิ ว ะ สั ล ลั ม และในสายรายงานที่บันทึกโดยอิมามอัช-ชาฟิ อีย์มีนักรายงานที่ชื่ออิบรอฮีมอิบนุ มะหฺมูด ซึ่งเป็ น ร ายงาน ที่ "มั ต รู ก "4 ฉ ะนั้ น สายร ายงาน ที่ บั น ทึ ก โด ยอิ ม าม อั ช - ชาฟิอีย์จึงเป็นสายรายงานที่อ่อนมาก แ ต่ ส า ย ร า ย ง า น ที่ บั น ทึ ก โ ด ย อั ล - ฟิรฺยาบีย์เป็นสายรายงานที่ถูกต้องและไม่มีนักรายงานคนใดที่ถูกติเตียนในเรื่องความน่าเชื่อถือ 4 ตักรีบ อัต-ตะฮฺซีบ,1/93
  • 9. กล่าวคือท่านได้รายงานจากอับดุลอะอฺลา อิบนุ หัมมาด จากวุฮัยบฺ อิบนุ คอลิด จากอิบรอฮีม อิบนุ อุกบะฮฺ จากท่านอุมัรฺ อิบนุ อับดุลอะซีซ สรุปคือ อะษัรฺบทนี้เป็นอะษัรฺที่มุรสัล แต่มีสายรายงานถูกต้องถึงท่านอุมัรฺ อิบนุ อับดุล อะซีซ หลักฐานของทัศนะที่สอง ทั ศ น ะ ที่ ว่ าว าญิ บ ต้ อ งล ะ ห ม า ด วั น ศุ ก ร์ ส า ห รั บ มุ ส ลิ ม ทุ ก ค น ได้อ้างหลักฐานจากคาตรัสของอัลลอฮฺ สุบหาะฮุวะตะอาลา : َِّ‫اّلل‬ ِ‫ر‬ْ‫ك‬ِ‫ذ‬ َ‫َل‬ِ‫إ‬ ‫ا‬ْ‫و‬َ‫ع‬ْ‫اس‬َ‫ف‬ ِ‫ة‬َ‫ع‬ُ‫م‬ُْ‫ْل‬‫ا‬ ِ‫م‬ْ‫و‬َ‫ي‬ ْ‫ن‬ِ‫م‬ ِ‫ة‬ َ‫َل‬َّ‫لص‬ِ‫ل‬ َ‫ي‬ِ‫ود‬ُ‫ن‬ ‫ا‬َ‫ذ‬ِ‫إ‬ ‫وا‬ُ‫ن‬َ‫آم‬ َ‫ين‬ِ‫ذ‬َّ‫ل‬‫ا‬ ‫ا‬َ‫ه‬ُّ‫ي‬َ‫أ‬ ‫ا‬َ‫ي‬ “ โ อ้ บ ร ร ด า ผู้ ศ รั ท ธ า เอ๋ ย เมื่ อ มี เสี ย งร้ อ ง เรี ย ก ( อ ะ ซ า น ) เพื่อทาอะซานในวันศุกร์ก็จงรีบเร่งไปสู่การราลึกถึงอัลลอฮฺ.” [อัล-ญุมุอะฮฺ: 9] ข้อบ่งชี้ของหลักฐาน อัลลอฮฺ สุบหาะฮุวะตะอาลา ได้กาหนดละหมาดวันศุกร์เหนือมุสลิมทุกคน โดยไม่ ได้ ยกเว้น วันอีด ฉะนั้ นเมื่ อวันอีด ตรงกับวันศุกร์ ก็จาเป็ น (วาญิบ ) ที่จะต้องละหมาดวันศุกร์
  • 10. วิเคราะห์หลักฐาน มีหลักฐานที่ถูกต้องจากท่านอุษมาน อิบนุ อัฟฟาน ว่าท่านอนุญาตให้ชาวอะวาลีย์ ไม่ต้องออกมาละหมาดวันศุกร์ หลักฐานของทัศนะที่สาม ทัศนะที่ว่าไม่ จาเป็ นต้องละหมาดวันศุกร์สาหรับผู้ที่ได้ ละหมาดอีดแล้ ว ได้อ้างอิงหลักฐานดังนี้ 1. จ าก ท่ า น อ บู ฮุ ร็อ ย เร าะ ฮฺ เร าะ ฎิ ยั ลล อ ฮฺ อั น ฮุ จ า ก ท่ าน น บี ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิวะสัลลัม ได้กล่าวว่า: َ‫ع‬ُ‫م‬ُ‫اْل‬ َ‫ن‬ِ‫م‬ ُ‫ه‬َ‫أ‬َ‫ز‬ْ‫ج‬َ‫أ‬ َ‫اء‬َ‫ش‬ ْ‫ن‬َ‫م‬َ‫ف‬ ِ‫ان‬َ‫د‬ْ‫ي‬ِ‫ع‬ ‫ا‬َ‫ذ‬َ‫ه‬ ْ‫م‬ُ‫ك‬ِ‫م‬ْ‫و‬َ‫ي‬ ْ ِ‫ِف‬ َ‫ع‬َ‫م‬َ‫ت‬ْ‫اج‬ ْ‫د‬َ‫ق‬َ‫ن‬ْ‫و‬ُ‫ع‬ِّ ِ‫م‬َُُ ‫ا‬َّ‫ن‬ِ‫إ‬َ‫و‬ ِ‫ة‬ “แท้จริงสองวันอีดได้มาบรรจบกันในวันนี้ (วันศุกร์) ดังนั้นหากผู้ใดประสงค์ ( ไ ม่ ล ะ ห ม า ด วั น ศุ ก ร์ ) มั น ( ล ะ ห ม า ด อี ด ) ก็ เ ป็ น ที่ ท ด แ ท น แ ล้ ว ส า ห รั บ เ ข า ใ น ก า ร ล ะ ห ม า ด วั น ศุ ก ร์ และแท้จริงพวกเราจะละหมาดวันศุกร์กัน”
  • 11. ข้อบ่งชี้ของหะดีษ หะดีษบทนี้บ่งชี้อย่างชัดเจนว่าการละหมาดอีดสามารถทดแทนการละหมาดวันศุกร์ ฉะนั้นจึงไม่จาเป็นที่จะต้องละหมาดวันศุกร์ แต่ถ้าผู้ใดประสงค์จะละหมาดก็ถือว่าอนุญาต วิเคราะห์หลักฐาน หะดีษบทนี้ บันทึกโดยอบูดาวูด ในหนังสือ "อัส-สุนัน" เลขที่: 1073, อัล-ญารูด ในหนังสือ "อัล-มุนตะกอ" เลขที่: 302, อัล-หากิม ในหนังสือ "อัล-มุสตัดร็อก" เลขที่: 1064, และอัล-บัยฮะกีย์ ในหนังสือ "อัส-สุนัน" เลขที่: 6082 ซึ่งที่ถูกต้องแล้วหะดีษบทนี้ เป็นหะดีษมุรฺสัลดั่งที่ท่านอัดดาเราะกุฏนีย์5 และอิมาม อะหฺมั ด6 ได้ กล่าวไว้7 ก ล่าวคือ เป็ น การรายงาน จาก อบู ศอลิหฺ จากท่ าน น บี ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิวะสัลลัม โดยไม่ได้ระบุเศาะหาบะฮฺ ดั่งการบันทึกของอับดุรฺร็อซซาก ในหนังสือ "อัล-มุศ็อนนัฟ" เลขที่: 5729, อัล-บัยฮะกีย์ ในหนังสือ"อัส-สุนัน" เลขที่: 6514 แ ล ะ ห า ก ว่ า ห ะ ดี ษ บ ท นี้ เ ป็ น ห ะ ดี ษ มั รฺ ฟู อฺ แ ล้ ว ก็ไม่สามารถนามาเป็นหลักฐานสนับสนุนทัศนะนี้ ได้ เพราะช่วงท้ายของหะดีษท่านนบี ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิวะสัลลัม ได้กล่าวว่า: َ‫ن‬ْ‫و‬ُ‫ع‬ِّ ِ‫م‬َُُ ‫ا‬َّ‫ن‬ِ‫إ‬َ‫و‬ "และแท้จริงพวกเราจะละหมาดวันศุกร์กัน" ซึ่งบ่งชี้ให้เห็นว่า การอนุญาตให้ไม่ต้องละหมาดวันศุกร์นั้นเฉพาะบุคคลบางกลุ่ม แต่ว่าท่านนบีเองและบรรดาเศาะหาบะฮฺบางส่วนจะรวมตัวกันละหมาดวันศุกร์ ฉะนั้นจึงสามารถชี้แจงประโยคของหะดีษบทนี้ได้ดังนี้ 5 อัดดาเราะกุฏนียฺ, อัลอิลัล อัลวาริดะฮฺ ฟี อัลอะหาดีษ อันนะบะวียะฮฺ, ดาร อัฏฏ็อยยิบะฮฺ, ริยาด, 1985. เล่ม 10, หน้า 217. 6 อิบนุลเญาซียฺ, อัลอิลัล อัลมุตะนาฮิยะฮฺฯ, อิดาเราะฮฺ อัลอุลูม อัลอะษะรียะฮฺ, ฟัยซอล อาบาด, 1981. เล่ม 1, หน้า 473. 7 ดู อัต-ตัลคีศ อัล-หะบีรฺ2/88
  • 12. "ดังนั้ น หากผู้ ใดป ระสงค์ (ไม่ ละหม าด วัน ศุก ร์) มั น (ละห มาดอีด ) ก็ เ ป็ น ที่ ท ด แ ท น แ ล้ ว ส า ห รั บ เข า ใ น ก า ร ล ะ ห ม า ด วั น ศุ ก ร์ " ห ม ายถึ งช าว อ ะวาลีย์ ห รือ ช าว ชน บ ท ที่ บ้ าน เรือ น อ ยู่ ไกลจ าก มั สญิ ด น บี ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิวะสัลลัม "แ ล ะ แ ท้ จ ริ ง พ ว ก เ ร า จ ะ ล ะ ห ม า ด วั น ศุ ก ร์ กั น " หมายถึงตัวท่านนบีเองและบรรดาเศาะหาบะฮฺที่มีบ้านอยู่ใกล้กับมัสญิดนบี 2. ท่านมุอาวิยะฮฺ อิบนุ อบีสุฟยาน ได้ถามท่านซัยดฺ อิบนุ อัล-อัรฺก็อม ว่า ท่านเคยอยู่พร้อมกับท่านนบี ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิวะสัลลัม ในขณะที่สองวันอีด (วันอีดและวันศุกร์) ได้รวมกันไหม? ท่านซัยดฺตอบว่า เคย แล้วท่านมุอาวิยะฮฺก็ถามต่ออีกว่า แล้วท่านนบี ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิวะสัลลัม ปฏิบัติเช่นไร? ท่านซัยดฺตอบว่า: َّ‫خ‬َ‫ر‬ َُّ‫ُث‬ َ‫د‬ْ‫ي‬ِ‫الع‬ ‫ى‬َّ‫ل‬َ‫ص‬ِِّ‫ل‬َ‫ص‬ُ‫ْي‬‫ل‬َ‫ف‬ َ‫ي‬ِِّ‫ل‬َ‫ص‬ُ‫ي‬ ْ‫ن‬َ‫أ‬ َ‫اء‬َ‫ش‬ ْ‫ن‬َ‫م‬ :َ‫ال‬َ‫ق‬َ‫ف‬ ِ‫ة‬َ‫ع‬ُ‫م‬ُ‫اْل‬ ِْ‫ِف‬ َ‫ص‬. “ท่านได้ละหมาดอีด หลังจากนั้นท่านก็ได้ผ่อนปรนในการละหมาดวันศุกร์ และท่านก็ได้กล่าวว่า ผู้ใดประสงค์จะละหมาดก็จงละหมาด” ข้อบ่งชี้ของหะดีษ ห ะ ดี ษ บ ท นี้ บ่ ง ชี้ ว่ า ท่ า น น บี ศ็ อ ล ลั ล ล อ ฮฺ อ ะ ลั ย ฮิ ว ะ สั ล ลั ม ได้ผ่อนปรนการละหมาดวันศุกร์เมื่อตรงกับวันอีด ใครประสงค์จะละหมาดก็ละหมาด และใครที่ไม่ประสงค์จะหมาดก็เป็นที่อนุญาต วิเคราะห์หลักฐาน หะดีษบทนี้ บันทึกโดยอบูดาวูด ในหนังสือ "อัส-สุนัน" เลขที่: 1072, อิบนุคุซัยมะฮฺ ในหนังสือ “อัศ-เศาะหี้ หฺ” เลขที่: 1464, อัล-หากิม ในหนังสือ "อัล-มุสตัดร็อก" เลขที่: 1014, อัด-ดาริมีย์ ในหนังสือ "อัส-สุนัน" เลขที่: 1665, อัล-บัยฮะกีย์ ในหนังสือ "อัส- สุนัน" เลขที่: 547 หะดีษบทน้เป็นหะดีษที่เฎาะอีฟไม่สามารถนามาเป็นหลักฐานได้ เพราะ
  • 13. 1. ใน สายรายงาน ที่ นั ก ห ะดีษ คน ห นึ่ งชื่อ อิย าส อิ บ นุ อ บี ร็อม ละฮฺ ซึ่ งนั ก ห ะ ดี ษ ห ล า ย ท่ า น ที่ ร ะ บุ ว่ า เข า เป็ น บุ ค ค ล ที่ ไ ม่ เป็ น ที่ รู้ จั ก (มัจญ์ฮูล) ฉะนั้นจึงมีนักหะดีษบางท่านหุก่มว่าหะดีษบทนี้เป็นหะดีษที่เฎาะอีฟ ท่ า น อิ บ นุ อั ล -มุ น ซิ รฺ ก ล่ า ว ว่ า : " ห ะ ดี ษ นี้ ไ ม่ ถู ก ต้ อ ง เพราะอิยาสเป็นนักรายงานที่ไม่เป็นที่รู้จัก" 2. มีนักรายงานชื่อ "อับดุรฺเราะหฺมาน" ท่านอิมามอะหฺมั ดกล่าวว่า: "บรรดาหะดีษของอับดุรฺเราะหฺมานนั้ นมุงกัรฺ แ ละ ไม่ มี ห ะ ดี ษ ที่ เข าราย งาน เกี่ ยว กั บ สอ งละห ม าด วัน อี ด จ าก ท่ าน น บี ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิวะสัลลัม ที่ถูกต้อง" 3. จากท่านอิบนุอุมัรฺเราะฎิยัลลอฮฺอันฮุมา ได้เล่าว่า: ِ‫هللا‬ ِ‫ل‬ْ‫و‬ُ‫س‬َ‫ر‬ ِ‫د‬ْ‫ه‬َ‫ع‬ ‫ى‬َ‫ل‬َ‫ع‬ ِ‫ان‬َ‫د‬ْ‫ي‬ِ‫ع‬ َ‫ع‬َ‫م‬َ‫ت‬ْ‫ج‬ِ‫ا‬‫وسلم‬ ‫عليه‬ ‫هللا‬ ‫صلى‬ْ‫ن‬َ‫م‬ : َ‫ال‬َ‫ق‬ َُّ‫ُث‬ ِ‫َّاس‬‫الن‬ِ‫ب‬ ‫ى‬َّ‫ل‬َ‫ص‬َ‫ف‬ ْ‫ف‬َّ‫ل‬َ‫خ‬َ‫ت‬َ‫ي‬ْ‫ل‬َ‫ف‬ َ‫ف‬َّ‫ل‬َ‫خ‬َ‫ت‬َ‫ي‬ ْ‫ن‬َ‫أ‬ َ‫اء‬َ‫ش‬ ْ‫ن‬ْ‫م‬َ‫و‬ ‫ا‬َِ‫ِْت‬‫أ‬َ‫ي‬ْ‫ل‬َ‫ف‬ َ‫ة‬َ‫ع‬ْ‫م‬ُ‫اْل‬ َ ِ‫ِْت‬‫أ‬َ‫ي‬ ْ‫ن‬َ‫أ‬ َ‫اء‬َ‫ش‬. สองวันอีดได้มาบรรจบกันในสมัยของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิวะสัลลัม แล้ วท่ าน ก็ได้ ละห ม าด (อีด ) พ ร้อ ม กับ ผู้ คน ห ลังจาก นั้ น ท่ าน ก็กล่าวว่า ใครที่ประสงค์จะมาละหมาดวันศุกร์ ดังนั้นเขาก็จงมาละหมาด และหากใครประสงค์จะละทิ้ง ดังนั้นเขาก็จงละทิ้ง ข้อบ่งชี้ของหะดีษ ห ะ ดี ษ บ ท นี้ บ่ ง ชี้ ว่ า ท่ า น น บี ศ็ อ ล ลั ล ล อ ฮฺ อ ะ ลั ย ฮิ ว ะ สั ล ลั ม ได้ ผ่ อ น ป ร น ก าร ละ ห ม าด วั น ศุ ก ร์ สา ห รั บ ผู้ ที่ ม าร่ วม ละ ห ม าด วั น อี ด ดังนั้นหากใครไม่ประสงค์จะมาร่วมละหมาดวันศุกร์อีกก็ถือว่าอนุญาต วิเคราะห์หลักฐาน หะดีษนี้ บันทึกโดยอิบนุมาญะฮฺ ในหนังสือ"อัส-สุนัน" เลขที่: 1373, อิบนุลเญาซีย์ ในหนังสือ "อัล-อิลัล อัล-มุตะนาฮิยะฮฺ" เลขที่: 806, อิบนุอะดิยฺ ในหนังสือ "อัล-กามิล" 6/455 หะดีษบทนี้ เป็นหะดีษที่เฎาะอีฟ เนื่องจากในสายรายงานที่นักรายงาน 2 คนที่เฎาะอีฟ นั่นคือญุบาเราะฮฺ อิบนุ อัล-มุฆ็อลลิส และมินดัล อิบนุ อะลีย์
  • 14. ท่านอิบนุลเญาซีย์กล่าวว่า: "หะดีษนี้ ไม่ถูกต้อง มินดัล อิบนุ อะลีย์ เฎาะอีฟมาก ส่วนญุบาเราะฮฺ เขานั้ นไม่มี อะไรเลย ท่านยะหฺยากล่าวว่า เขาเป็ นคนจอมโกหก และท่านอิบนุนุมัยรฺกล่าวว่า ได้ได้กุหะดีษ"8 หลักฐานของทัศนะที่สี่ 8 อัล-อิลัล อัล-มุตะนาฮิยะฮฺ เลขที่: 806
  • 15. ผู้ที่มีทัศนะว่าไม่ต้องละหมาดวันศุกร์และละหมาดซุฮฺรีเพราะการละหมาดอีดถือว่าเป็น ที่เพียงพอแล้ว ได้อ้างหลักฐานจากการปฏิบัติของอิบนุอัซ-ซุบัยรฺ9 9 ละหมาดอีดโดยไม่ต้องละหมาดวันศุกร์และไม่ต้องละหมาดบ่ายกระทาได้หรือ เพราะละหมาดอีดเป็นซุนนะห์ ส่วนละหมาดวันศุกร์กับละหมาดบ่ายเป็นฟัรดู จะแทนกันได้หรือ นี่คือการตั้งข้อสังเกตโดยที่ยังไม่รู้หลักฐาน เป็ นการดีที่เราจะระวังรักษาฟัรดูของเราให้ ครบถ้วน แต่เรื่องใดก็ตามที่มี ตัวบทหลักฐานและมีแนวการปฏิบัติจากศอฮาบะห์ เราก็ต้องรับฟังด้วยเช่นกัน َ‫ال‬َ‫ق‬ٌ‫اء‬َ‫ط‬َ‫ع‬َ‫ع‬َ‫م‬َ‫ت‬ْ‫ج‬ِ‫ا‬ُ‫م‬ْ‫و‬َ‫ي‬ٍ‫ة‬َ‫ع‬ُْ‫ُج‬ُ‫م‬ْ‫و‬َ‫ي‬َ‫و‬ٍ‫ر‬ْ‫ط‬ِ‫ف‬َ‫لى‬َ‫ع‬ِ‫د‬ْ‫ه‬َ‫ع‬ِ‫ن‬ْ‫اب‬ِْ‫ْي‬َ‫ب‬ُ‫الز‬َ‫ال‬َ‫ق‬َ‫ف‬ِ‫ان‬َ‫د‬ْ‫ي‬ِ‫ع‬‫ا‬َ‫ع‬َ‫م‬َ‫ت‬ْ‫ج‬ِ‫ا‬ِ‫ف‬ٍ‫م‬ْ‫و‬َ‫ي‬ٍ‫د‬ ِ‫اح‬َ‫و‬‫ا‬َ‫م‬ُ‫ه‬َ‫ع‬َ‫م‬َ‫ج‬َ‫ف‬‫ا‬ً‫ع‬ْ‫ي‬َِ‫ُج‬ ‫ا‬َُ‫ُه‬َّ‫َل‬َ‫ص‬َ‫ف‬ِْ‫ي‬َ‫ت‬َ‫ع‬ْ‫ك‬َ‫ر‬ً‫ة‬َ‫ر‬ْ‫ك‬ُ‫ب‬َْ‫ل‬ْ‫د‬ِ‫ز‬َ‫ي‬‫ا‬َ‫م‬ِ‫ه‬ْ‫لي‬َ‫ع‬َّ‫ّت‬َ‫ح‬‫ى‬َّ‫ل‬َ‫ص‬َ‫ر‬ْ‫ص‬َ‫الع‬ อะฏออ์รายงานว่า “วันศุกร์กับวันอีดฟิ ตริตรงกันในสมัยของท่านอิบนุซุบัยร์ ท่านกล่าวว่า สองอีดมาบรรจบในวันเดียวกัน ฉะนั้นจึงได้รวมทั้งสองไว้ด้วยกัน โดยละหมาดอีดและละหมาดวันศุกร์ด้วยกัน 2 รอกอะห์ ในเช้าตรู่ จากนั้นก็ไม่ได้ละหมาดอื่นใดอีกจนกระทั่งละหมาดอัศร์” บันทึกโดยอบูดาวู๊ด ฮะดีษที่ 906 ْ‫ن‬َ‫ع‬ِ‫اء‬َ‫ط‬َ‫ع‬ِ‫ن‬ْ‫ب‬ِ‫ب‬َ‫أ‬ٍ‫اح‬َ‫ب‬َ‫ر‬َ‫ال‬َ‫ق‬َ‫لى‬َ‫ص‬‫ا‬َ‫ن‬ِ‫ب‬ُ‫ن‬ْ‫ب‬ِ‫ا‬ِْ‫ْي‬َ‫ب‬ُ‫الز‬ِ‫ف‬ِ‫م‬ْ‫و‬َ‫ي‬ٍ‫د‬ْ‫ي‬ِ‫ع‬ِ‫ف‬‫م‬ ْ‫و‬َ‫ي‬ٍ‫ة‬َ‫ع‬ُُ‫ُج‬َ‫ل‬َّ‫و‬َ‫أ‬ِ‫ر‬‫ا‬َ‫ه‬َ‫الن‬َُّ‫ُث‬‫ا‬َ‫ن‬ْ‫ح‬ُ‫ر‬َ‫َل‬ِ‫ا‬ِ‫ة‬َ‫ع‬ُ‫م‬ُ‫اْل‬ْ‫م‬َ‫ل‬َ‫ف‬ْ‫ج‬ُ‫ر‬َْ‫َي‬ ‫ا‬َ‫ن‬ْ‫َي‬‫ل‬ِ‫ا‬‫ا‬َ‫ن‬ْ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ص‬َ‫ف‬‫ا‬ً‫ن‬‫ا‬َ‫د‬ْ‫ح‬ُ‫و‬َ‫ن‬َ‫ا‬‫ك‬َ‫و‬ُ‫ن‬ْ‫اب‬ٍ‫اس‬َّ‫ب‬َ‫ع‬ِ‫ف‬ِ‫ائ‬َ‫ط‬‫ال‬ِ‫ب‬‫ا‬َّ‫م‬َ‫ل‬َ‫ف‬َ‫م‬ِ‫د‬َ‫ق‬‫ا‬َ‫ن‬ْ‫ر‬َ‫ك‬َ‫ذ‬َ‫ك‬ِ‫ل‬َ‫ذ‬ُ‫َه‬‫ل‬َ‫ال‬َ‫ق‬َ‫ف‬َ‫اب‬َ‫ص‬َ‫أ‬َ‫ة‬َّ‫ن‬ُ‫الس‬ รายงานจากอะฏออ์ อิบนิอบีรอบาฮ์ว่า “ท่านอิบนุซุบัยร์ได้นาเราละหมาดอีดซึ่งตรงกับวันศุกร์ในตอนเช้า และเมื่ อเราได้ไปละหมาดวันศุกร์ ท่านก็ไม่ได้ออกมานาเราละหมาด พวกเราจึงต่างคนต่างละหมาด ขณะนั้นท่านอิบนุอับบาสอยู่ที่เมืองฏออิฟ เมื่อท่านกลับมาเราจึงเล่าเรื่องที่เกิดขึ้ นให้ฟัง ท่านกล่าวว่า ถูกต้องตรงตามซุนนะห์แล้ว” บันทึกโดยอบูดาวู๊ด ฮะดีษที่ 905 ฮะดีษทั้งสองบทข้างต้นนี้อยู่ในฐานะศอเฮียะห์ เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในยุคของท่านอับดุลลอฮ์ อิบนุซุบัยร์ และท่านอับดุลลอฮ์ อิบนุอับบาส ทั้งสองท่านนี้เป็นศอฮาบะห์ของท่านรอซูล บางท่านกล่าวว่า น้าหนักของหลักฐานนี้เบามากเป็นแค่ฮะดีษเมากูฟ คือเป็นการกระทาของศอฮาบะห์เท่านั้น มิใช่ฮะดีษมัรฟัวอ์ หมายถึงฮะดีษที่อ้างถึงคาพูด,การกระทา,และการยอมรับของท่านนบี ขอทาความเข้ าใจ ว่านี่ เป็ นคาพู ดที่ ไม่ ถูก ต้ อง เพราะถ้ าพิ จารณ าในตอ นท้ายข องฮ ะดี ษ เราจะพบคาพูดของอิบนุอับบาสที่อ้างถึงท่านนบีด้วย โดยท่านกล่าวว่า ถูกต้องตรงตามซุนนะห์ อย่างนี้เขาเรียกว่า อะลาฮุกมิ้ลมัรฟัวอ์ คือ ฮะดีษที่มีฐานะเดียวกับฮะดีษมัรฟัวอ์ หมายถึงอ้างถึงท่านนบีด้วยเช่นกัน ประการต่อมาก็คือ ข้อสงสัยที่บอกว่า ละหมาดอีดเป็นซุนนะห์ ส่วนละหมาดวันศุกร์และละหมาดบ่ายเป็นฟัรดู จะแทนกันได้หรือ หลักฐานที่บอกว่าได้ แสดงไว้แล้วข้างต้นแล้ว ส่วนการที่เข้าใจว่าละหมาดอีดเป็ นซุนนะห์นั้น อันนี้ เป็ นความเข้ าใจในทัศนะของมัซฮับชาฟิ อี ส่วนในมัซฮับอื่ นๆ เขาเข้าใจว่าละหมาดอี ดเป็ นฟัรดูด้วย
  • 16. ท่านอะฏออ์ได้เล่าว่าวันศุกร์กับวันอีดฟิ ฏรฺได้มาบรรจบกันในสมัยของท่านอิบนุอัซ- ซุบัยรฺ แล้วเขาก็ได้กล่าวว่า: َ‫ا‬‫م‬ِ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ع‬ ْ‫د‬ِ‫ز‬َ‫ي‬َْ‫ل‬ ً‫ة‬َ‫ْر‬‫ك‬ُ‫ب‬ ِْ‫ي‬َ‫ت‬َ‫ع‬ْ‫ك‬َ‫ر‬ ‫ا‬َُ‫ُه‬ َّ‫َل‬َ‫ص‬َ‫ف‬ ً‫ا‬‫ع‬ْ‫ي‬َِ‫ُج‬ ‫ا‬َ‫م‬ُ‫ه‬َ‫ع‬َ‫م‬َ‫ج‬َ‫ف‬ ٍ‫د‬ِ‫اح‬َ‫و‬ ٍ‫م‬ْ‫و‬َ‫ي‬ ِْ‫ِف‬ ‫ا‬َ‫ع‬َ‫م‬َ‫ت‬ْ‫اج‬ ِ‫ان‬َ‫د‬ْ‫ي‬ِ‫ع‬‫ى‬َّ‫ل‬َ‫ص‬ َّ‫ّت‬َ‫ح‬ َ‫ر‬ْ‫ص‬َ‫الع‬ “สองวัน อีดได้ มาบรรจบกันในวันเดียวกัน แล้ วเขา (อิบ นุ อัซซุบัยรฺ) ก็ไ ด้ ร ว ม ละ ห ม า ด ทั้ งส อ งด้ ว ย ก า ร ละ ห ม าด ส อ งร็อ ก อั ต ใน ต อ น เช้ า และท่านไม่ได้เพิ่มเกินสองร็อกอัตนั้นจนกระทั่งละหมาดอัศรี” วิเคราะห์หลักฐาน อะษัรฺนี้ บันทึกโดยอบูดาวูด ในหนังสือ "อัส-สุนัน" เลขที่: 1072, อับดุรฺร็อซซาก ในหนังสือ "อัล-มุศ็อนนัฟ" เลขที่: 5725, และอิบนุอัล-มุนซิรฺ ในหนังสือ "อัล-เอาสัฏ" เลขที่: 2142 ถึ งแ ม้ อ ะ ษั รฺ บ ท นี้ จ ะ เป็ น อ ะ ษั รฺ ที่ ถู ก ต้ อ งจ าก ท่ าน อิ บ นุ ซุ บั ย รฺ แ ต่ ว่ามั น ค้ าน กั บ ก ารป ฏิ บั ติ ขอ งท่ าน น บี ศ็อ ลลัลลอ ฮฺ อ ะลัย ฮิ วะ สัลลั ม ดังที่นี้หะดีษที่เศาะหี้หฺจากท่านอัน-นุอฺมาน อิบนุ บะชีรฺ ได้เล่าว่า: ِ‫هللا‬ ُ‫ل‬ْ‫و‬ُ‫س‬َ‫ر‬ َ‫ن‬‫ا‬َ‫ك‬‫وسلم‬ ‫عليه‬ ‫هللا‬ ‫صلى‬َ‫و‬ )‫ى‬َ‫ل‬ْ‫ع‬َ‫أل‬‫ا‬ َ‫ك‬ِِّ‫ب‬َ‫ر‬ َ‫م‬ْ‫اس‬ ِ‫ح‬ِِّ‫ب‬َ‫(س‬ ِ‫ب‬ ِ‫ة‬َ‫ع‬ْ‫م‬ُ‫اْل‬ ِْ‫ِف‬َ‫و‬ ِ‫ن‬ْ‫ي‬َ‫د‬ْ‫ي‬ِ‫الع‬ ِْ‫ِف‬ ُ‫أ‬َ‫ر‬ْ‫ق‬َ‫ي‬ ً‫ا‬‫ض‬ْ‫َي‬‫أ‬ َ‫ا‬‫م‬ِِ‫ِب‬ ُ‫أ‬َ‫ر‬ْ‫ق‬َ‫ي‬ ٍ‫د‬ِ‫اح‬َ‫و‬ ٍ‫م‬ْ‫و‬َ‫ي‬ ِْ‫ِف‬ ُ‫ة‬َ‫ع‬ْ‫م‬ُ‫اْل‬َ‫و‬ ُ‫د‬ْ‫ي‬ِ‫الع‬ َ‫ع‬َ‫م‬َ‫ت‬ْ‫اج‬ ‫ا‬َ‫ذ‬ِ‫إ‬َ‫و‬ :َ‫ال‬َ‫ق‬ )‫ة‬َ‫ي‬ِ‫اش‬َ‫غ‬‫ال‬ ُ‫ث‬ْ‫ي‬ِ‫د‬َ‫ح‬ َ‫اك‬َ‫ت‬َ‫أ‬ ْ‫ل‬َ‫(ه‬ِْ‫ِف‬ ِْ‫ي‬َ‫ت‬َ‫َل‬َّ‫الص‬. “ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิวะสัลลัม ได้อ่านสูเราะฮฺ "สับบิฮิส มะร็อบบิกัล อะอฺลา" และ "ฮัล อะตากะ หะดีษุล ฆอชิยะฮฺ" ในละหมาดสองวันอีดและละหมาดวันศุกร์. และท่าน (อัน-นุอฺมาน) ได้เล่าอีกว่า: และเมื่อวันอีดกับวันศุกร์รวมกันในวันเดียวกัน ท่านจะอ่านทั้งสองสูเราะฮฺในสองละหมาด (ละหมาดอีดกับละหมาดวันศุกร์) เช่นกัน10 และเหตุของความเข้าใจในฮุก่มที่ต่างกันนี้ขึ้นอยู่กับการพิจารณาในคาสั่งของท่านรอซูล ซึ่งเข้าสู่ประเด็นของฟิ กฮ์ ที่เขาถกเถียงกันยืดยาว 10 บันทึกโดยมุสลิม เลขที่: 2065
  • 17. ห ะดี ษ นี้ ระบุ อ ย่ างชั ด เจ น ว่าเมื่ อ วัน อี ด ต รงกั บ วัน ศุ ก ร์ ท่ าน น บ นี ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิวะสัลลัม จะละหมาดวันศุกร์ และไม่ได้ละทิ้งละหมาดวันศุกร์แต่ประการใด ฉะนั้นการอ้างว่าการปฏิบัติของอิบนุอัซ-ซุบัยรฺเสมือนกับการปฏิบัติของท่านนบี (มัรฺฟูอฺ หุ ก มั น ) ถื อ ว่าไม่ ถู ก ต้ อ ง เพ ร าะ ว่ามั น ค้ าน กั บ ก ารป ฏิ บั ติ ขอ งท่ าน น บี ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิวะสัลลัม อีกทั้งยังค้านกับการปฏิบัติของท่านอุษมาน อิบนุ อัฟฟาน ฉ ะ นั้ น จึ งบ ร ร ด า อุ ล ะ ม า อฺ จึ งป ฏิ เ ส ธ ทั ศ น ะ นี้ โ ด ย สิ้ น เชิ ง เพราะไปทิ้งละหมาดวันศุกร์และละหมาดซุฮฺรีซึ่งเป็นฟัรฎูตามมติเอกฉันท์ของบรรดาอุละมาอฺ ท่านอิบนุอับดิลบัรฺกล่าวว่า: ‫ار‬َ‫ص‬ْ‫م‬َ‫أل‬‫ا‬ ُ‫اء‬َ‫ه‬َ‫ق‬ُ‫ف‬ ُ‫ه‬َ‫ر‬َ‫ك‬ْ‫ن‬َ‫أ‬ ٌ‫ر‬َ‫ك‬ْ‫ن‬ُ‫م‬ ٌ‫ل‬ْ‫و‬َ‫ق‬ ‫اء‬َ‫ط‬َ‫ع‬ َ‫و‬ ْ‫ْي‬َ‫ب‬ُّ‫الز‬ ِ‫ن‬ْ‫اب‬ ْ‫ن‬َ‫ع‬ ِ‫اب‬َ‫الب‬ ‫ا‬َ‫ذ‬َ‫ه‬ ِْ‫ِف‬ َ‫ي‬ِ‫و‬ُ‫ر‬ َ‫و‬ٌ‫د‬َ‫َح‬‫أ‬ ِ‫ه‬ِ‫ب‬ ْ‫ل‬ُ‫ق‬َ‫ي‬ َْ‫ل‬ َ‫و‬ ْ‫م‬ُ‫ه‬ْ‫ن‬ِ‫م‬ "แ ละ มี ราย งาน ใน เรื่อ งนี้ (วัน อี ด ต ร งกั บ วัน ศุ ก ร์) จาก อิ บ นุ อั ซ - ซุบัยรฺและอะฏออ์ซึ่งทัศนะที่ถูกปฏิเสธ บรรดานักฟิ กฮฺทั่วสารทิศต่างปฏิเสธทัศนะนี้ และไม่มีนักฟิกฮฺคนไหนเลยที่กล่าวเช่นนั้น"11 อ นึ่ ง อ า จ จ ะ เ ป็ น ไ ป ไ ด้ ว่ า ท่ า น อิ บ นุ อั ซ - ซุ บั ย รฺ ไ ม่ ไ ด้ ล ะ ทิ้ ง ก า ร ล ะ ห ม า ด วั น ศุ ก ร์ แ ต่ ป ร ะ ก า ร ใ ด เพียงแต่เป็นความเข้าใจของอุละมาอ์บางท่านเท่านั้นที่ว่าอิบนุอัซ-ซุบัยรฺไม่ได้ละหมาดวันศุกร์ เพราะในรายงานจากอิบนุอัซ-ซุบัยรฺอะฏออ์กล่าวว่า: ‫ا‬َُ‫ُه‬َّ‫َل‬َ‫ص‬َ‫ف‬ ً‫ا‬‫ع‬ْ‫ي‬َِ‫ُج‬ َ‫ا‬‫م‬ُ‫ه‬َ‫ع‬َ‫م‬َ‫ج‬َ‫ف‬ "แล้วท่านก็จะรวมทั้งสองเวลา แล้วละหมาดรวมทั้งสอง" จากตัวบทจากเห็นได้ว่าท่านอิบนุอัซ-ซุบัยรฺไม่ได้ละทิ้ งการละหมาดวันศุกร์ เพียงแต่ท่านเอามารวมกับละหมาดวันอีด โดยการละหมาดวันศุกร์แทน อ า จ จ ะ มี ค า ถ า ม ว่ า ล ะ ห ม า ด วั น ศุ ก ร์ ใ น ช่ ว งเช้ า ไ ด้ อ ย่ า งไ ร เพราะละหมาดวันศุกร์เข้าเวลาเมื่อตะวันคล้อย ? ค า ต อ บ คื อ ท่ า น อิ บ นุ อั ซ - ซุบัย รฺอ าจจะมี ทั ศน ะว่าอนุ ญ าต ให้ ละห มาดวัน ศุก ร์ก่ อน ต ะวัน คล้ อยได้12 11 อัล-อิสติซการฺ2/385 12 ดั่งทัศนะของท่านอิมามอะหฺมัดและอิสหาก อิบนุ รอฮุวัยฮฺ
  • 18. ดังนั้ น ท่ าน เลยเอ าละห ม าด อี ด กั บ ละห ม าด วัน ศุ ก ร์ม าละ ห ม าด ด้ วย กั น โดยการละหมาดวันศุกร์แทน ซึ่งมีบางรายงานระบุว่าท่านคุฏบะฮฺก่อนแล้วละหมาดทีหลัง ซึ่งเป็นรูปแบบของการละหมาดวันศุกร์ไม่ใช่รูปแบบการละหมาดอีดแต่ประการใด เพ ราะละหม าดอี ดจ ะเริ่ม ด้ วยก ารละห ม าด ก่อ น แล้ วคุ ฏ บ ะฮฺ ห ลังจ าก นั้ น ดังการรายงานของวะฮฺบฺ อิบนุ กัยสานได้เล่าว่า: ُ‫ر‬ُ‫اخل‬ َ‫َّر‬‫َخ‬‫أ‬َ‫ف‬‫ا‬َ‫ط‬َ‫أ‬َ‫ف‬ َ‫ب‬َ‫ط‬َ‫خ‬َ‫ف‬ َ‫ج‬َ‫ر‬َ‫خ‬ َُّ‫ُث‬ ُ‫ار‬َ‫ه‬َ‫الن‬ َ‫اَل‬َ‫ع‬َ‫ت‬ َّ‫ّت‬َ‫ح‬ َ‫ج‬ْ‫و‬‫ى‬َّ‫ل‬َ‫ص‬َ‫ف‬ َ‫ل‬َ‫ز‬َ‫ن‬ َُّ‫ُث‬ َ‫ة‬َ‫ب‬ْ‫ط‬ُ‫اخل‬ َ‫ل‬ "แล้วท่านก็ออกมาช้าจนกระทั่งสายมากหลังจากนั้นท่านก็ออกมาคุฏบะฮฺ แล้วท่านก็คุฏบะฮฺจนนานหลังจากนั้นท่านก็ลงมา (จากมินบัรฺ) แล้วละหมาด13 อัล-ค็อฏฏอบีย์กล่าวว่า: َّ‫الص‬ َْ‫ْي‬ِ‫د‬ْ‫ق‬َ‫ت‬ ‫ى‬َ‫ر‬َ‫ي‬ ْ‫ن‬َ‫م‬ ِ‫ب‬َ‫ه‬ْ‫ذ‬َ‫م‬ ‫ى‬َ‫ل‬َ‫ع‬ َّ‫ال‬ِ‫إ‬ َ‫ل‬ِ‫م‬َْ‫َي‬ ْ‫ن‬َ‫أ‬ ْ‫ي‬ِ‫د‬ْ‫ن‬ِ‫ع‬ ُ‫ز‬ْ‫و‬َُ‫َي‬ َ‫ال‬ ُ‫ه‬َّ‫ن‬ِ‫إ‬َ‫ف‬ ْ‫ْي‬َ‫ب‬ُ‫الز‬ ِ‫ن‬ْ‫اب‬ ُ‫ع‬ْ‫ي‬ِ‫ن‬َ‫ص‬ ‫ا‬َّ‫َم‬‫أ‬َ‫ل‬ْ‫ب‬َ‫ق‬ ِ‫ة‬ َ‫َل‬ ِ‫ال‬َ‫و‬َ‫الز‬. "ส่ ว น ก า ร ป ฏิ บั ติ ข อ ง อิ บ นุ อั ซ -ซุ บั ย รฺ นั้ น แ ท้ จ ริ ง แ ล้ ว มั น เ ป็ น ที่ ไ ม่ อ นุ ญ า ต ต า ม ทั ศ น ะ ข อ ง ฉั น นอกจากตามมัซฮับของผู้ที่เห็นว่าอนุญาตให้ทาการละหมาด (วันศุกร์) ก่อนตะวันคล้อย"14 [ ‫السَلم‬ ‫سبل‬ ‫ِف‬ ‫الصنعاين‬ ‫الشيخ‬ ‫قال‬2/113‫أخرب‬ ‫عطاء‬ ‫أن‬ ‫َيفى‬ ‫ال‬ : ‫قلت‬ : ] ‫ِف‬ ‫الظهر‬ ‫يصل‬ ‫ل‬ ‫أنه‬ ‫قاطع‬ ‫بنص‬ ‫ذلك‬ ‫ليس‬ ‫و‬ ،‫اْلمعة‬ ‫لصَلة‬ ‫الزبْي‬ ‫ابن‬ ‫َيرج‬ ‫ل‬ ‫أنه‬ ‫ِف‬ ‫الظهر‬ ‫صلى‬ ‫أنه‬ ‫الحتمال‬ ‫صحيح‬ ‫غْي‬ ‫فاْلزم‬ ،‫منزله‬‫أهنم‬ ‫عطاء‬ ‫قول‬ ‫ِف‬ ‫بل‬ ،‫منزله‬ ‫عطاء‬ ‫يذكر‬ ‫أن‬ ‫حاجة‬ ‫ال‬ ‫[إذ‬ ‫بسقوطه‬ ‫قائل‬ ‫ال‬ ‫بأنه‬ ‫يشعر‬ ‫ما‬ ‫الظهر‬ ‫أي‬ "‫وحدانا‬ ‫"صلوا‬ ]‫وحدانا‬ ‫الظهر‬ ‫صلوا‬ ‫أهنم‬ ‫إال‬ ‫يبقى‬ ‫فَل‬ ‫وحدانا‬ ‫النافلة‬ ‫صلوا‬ ‫أهنم‬‫مراده‬ ‫أن‬ ‫يقال‬ ‫ال‬ ‫و‬ ‫إُجاعا‬ ‫ُجاعة‬ ‫ِف‬ ‫إال‬ ‫تصح‬ ‫ال‬ ‫فإهنا‬ ‫وحدانا‬ ‫اْلمعة‬ ‫صلوا‬ เชคอัศศ็อนอานี ย์ กล่าวในหนั งสือสุบุ ลุสสลาม (เล่ม 2 หน้ า 113) ว่า : " ข้ า พ เจ้ า ข อ ก ล่ า ว ว่ า : เ ป็ น ที่ ชั ด เจ น ว่ า ท่ า น อ ะ ฏ อ อ์ ร ะ บุ ว่ า ท่านอิบนุซซุเบรไม่ได้ออกมาละหมาดวันศุกร์ ซึ่งเช่นนี้ มิได้เป็นหลักฐานชัดเจนเด็ดขาด 13 บันทึกโดยอัน-นะสาอีย์ เลขที่: 1592. 14 เอานุล มะอฺบูด 3/289.
  • 19. ว่าท่านมิได้ละหมาดซุฮรีที่บ้านของท่าน ดังนั้น การชี้ชัดฟันธงลงไป(ว่าท่านมิได้ละหมาดซุฮรี) จึงไม่ถูกต้อง เนื่องจากมีความเป็นไปได้ว่าท่านละหมาดซุฮรีที่บ้านของท่าน ยิ่งไปกว่านั้น คาพูดของอะฏออ์ที่ระบุว่าพวกเขา 'ต่างคนต่างละหมาด' ซึ่งหมายถึงละหมาดซุฮรีนั้ น ยังบ่งชี้ ว่าไม่มีผู้ใดเห็นว่าละหมาดซุฮรีได้ตกไป ทั้ งนี้ เพราะไม่มีประโยชน์ อันใด ที่อะฏออ์จะบอกว่าพวกเขาต่างคนต่างละหมาดสุนัต ดังนั้ น จึงไม่มีข้อสรุปอื่นใด น อ ก จ าก 'พ วก เข าต่ าง ค น ต่ าง ล ะห ม าด ซุ ฮ รี ' แ ละไม่ อ าจ ก ล่าว ได้ ว่ า พ วก เข า 'ต่ างค น ต่ า งล ะห ม าด วัน ศุ ก ร์' เพ ร าะว่าละ ห ม าด วัน ศุ ก ร์ นั้ น จะใช้ไม่ได้นอกจากต้องเป็นในรูปญะมาอะฮฺเท่านั้น ด้วยมติอย่างเป็นเอกฉันท์ของอุละมาอ์"15 ทัศนะที่มีน้าหนัก 15 อุละมาอ์พาดพิงทัศนะนี้ถึงอะฏออ์ 1. อัศ-ศ็อนนอานีย์ ในหนังสือ"สุบุลุสสลาม" ‫وذهب‬‫عطاء‬‫إَل‬‫أنه‬‫يسقط‬‫فرضها‬‫عن‬‫اْلميع‬ 2. เจ้าของหนังสือ "เอานุลมะอฺบูด" ‫وذهب‬‫عطاء‬‫إَل‬‫أنه‬‫يسقط‬‫فرضها‬‫عن‬‫اْلميع‬ 3. อิบนุอาบิดีนใน "หาชิยะฮฺ" ‫احرتز‬‫به‬‫عن‬‫قول‬‫عطاء‬:‫جتزي‬‫صَلة‬‫العيد‬‫عن‬‫اْلمعة‬ ใน 3 เล่มนี้ ระบุว่า ทัศนะของอะฏออ์ คือ "เมื่ อละหมาดอีดแล้ว จะไม่ละหมาดญุมุอะฮฺอีกก็ได้ " โดยไม่ได้ระบุถึงละหมาดซุฮรี 4. อัน-นะวะวีย์ในหนังสือ "มัจญ์มูอฺ" ‫وقال‬‫عطاء‬‫بن‬‫ايب‬‫رباح‬‫إذا‬‫صلوا‬‫العيد‬‫ل‬‫جتب‬‫بعده‬‫ِف‬‫هذا‬‫اليوم‬‫صَلة‬‫اْلمعة‬‫وال‬‫الظهر‬‫وال‬‫غْيُها‬‫اال‬‫العصر‬ เล่มนี้ เป็ นการระบุชัดเจนจากอิห ม่ามนะวะวีย์ ว่าอ ะฏออ์ มีทัศนะว่าเมื่ อ ละห มาดอี ดแล้ ว ทั้งญุมุอะฮฺและซุฮรีของวันนั้นก็ตกไป จะไม่ละหมาดก็ได้
  • 20. เรื่องวันอีดกับวันศุกร์ตรงกันนั้นมีทัศนะที่หลากหลายเพียงแต่บุคคลใดจะให้น้าหนักทั ศนะไหนที่สอดคล้องกับตัวบทหลักฐานมากที่สุดเท่านั้นเอง ซึ่งทั ศ นะที่ มี น้ าห นัก มากที่ สุด คือ ห ากวัน อีดตรงกั บวันศุ กร์ เช่น นี้ ส า ห รั บ บุ ค ค ล ที่ ล ะ ห ม า ด อี ด แ ล้ ว ได้รับการอนุโลมไม่ ต้องละหมาดวันศุกร์หากเขาประสงค์จะไม่ ละหมาดวันศุกร์ แต่วาญิบสาหรับเขาจะต้องละหมาดซุฮฺริ ด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้ ประเด็นที่หนึ่ง ท่ า น ร สู ลุ ล ล อ ฮฺ ‫صلي‬‫هللا‬‫عليه‬‫وسلم‬ ได้ระบุบุคคลที่ละหมาดอีดแล้วได้รับการผ่อนผันไม่ต้องละหมาดวันศุกร์ก็ได้ ท่านซัยด์ บุตรของอัรฺกอมเล่าว่า ‫ى‬َّ‫ل‬َ‫ص‬َ‫د‬‫ي‬ِ‫ع‬ْ‫ل‬‫ا‬َ‫ل‬َّ‫و‬َ‫أ‬ِ‫ر‬‫ا‬َ‫َّه‬‫الن‬َُّ‫ث‬َ‫ص‬َّ‫خ‬َ‫ر‬ِ‫ف‬ِ‫ة‬َ‫ع‬ُ‫م‬ُْ‫ْل‬‫ا‬َ‫ال‬َ‫ق‬َ‫ف‬«ْ‫ن‬َ‫م‬َ‫اء‬َ‫ش‬ْ‫ن‬َ‫أ‬َ‫ع‬ِ‫م‬َُ‫ُي‬ْ‫ع‬ِ‫م‬َ‫ج‬ُ‫ي‬ْ‫ل‬َ‫ف‬» “ท่านนบีละหมาดอีดในช่วงเช้า จากนั้นท่านนบีผ่อนปรนในการละหมาดวันศุกร์, ซึ่งท่านนบีกล่าวว่า บุคคลใดประสงค์จะรวมละหมาด (ละหมาดอีด และละหมาดวันศุกร์ด้วย) เช่นนั้นเขาจงรวมเถิด” 16 ท่านอิบนุ อุมัรฺเล่าว่า َ‫ع‬َ‫م‬َ‫ت‬ْ‫اج‬ِ‫ان‬َ‫د‬‫ي‬ِ‫ع‬‫ى‬َ‫ل‬َ‫ع‬ِ‫د‬ْ‫ه‬َ‫ع‬ِ‫ول‬ُ‫س‬َ‫ر‬َِّ‫اّلل‬-‫صلى‬‫هللا‬‫عليه‬‫وسلم‬-‫ى‬َّ‫ل‬َ‫ص‬َ‫ف‬ِ‫َّاس‬‫الن‬ِ‫ب‬َُّ‫ث‬َ‫ال‬َ‫ق‬ «ْ‫ن‬َ‫م‬َ‫اء‬َ‫ش‬ْ‫ن‬َ‫أ‬َ‫ى‬ِ‫ت‬ْ‫أ‬َ‫ي‬َ‫ة‬َ‫ع‬ُ‫م‬ُْ‫ْل‬‫ا‬‫ا‬َِ‫ِت‬ْ‫أ‬َ‫ي‬ْ‫ل‬َ‫ف‬ْ‫ن‬َ‫م‬َ‫و‬َ‫اء‬َ‫ش‬ْ‫ن‬َ‫أ‬َ‫ف‬َّ‫ل‬َ‫خ‬َ‫ت‬َ‫ي‬ْ‫ف‬َّ‫ل‬َ‫خ‬َ‫ت‬َ‫ي‬ْ‫ل‬َ‫ف‬» “เมื่ออีดสองอีดรวมกัน(วันอีดและวันศุกร์) ในสมัยของท่านรสูลุลลอฮฺ ‫صلي‬‫هللا‬‫عليه‬‫وسلم‬ นั้น ท่ าน ร สูล ละ ห ม าด เป็ น อิ ม าม เศา ะห าบ ะฮฺ จ าก นั้ น ท่ าน ร สูลก็ก ล่า วว่ า 16 หะดีษเศาะหี้หฺ,บันทึกโดยอะหฺมัดหะดีษที่ 19839
  • 21. บุคคลใดประสงค์จะละหมาดวันศุกร์ เขาจงกระทาเถิด และบุคคลใดประสงค์จะกลับไป (ที่พานักของตนโดยไม่ได้ละหมาดวันศุกร์) เขาจงกลับไปเถิด” 17 หะดีษ ทั้ งสองข้ างต้ น สรุป ให้ เห็ น ว่า เมื่ อ บุ ค คลหนึ่ งละหม าด อีดแ ล้ ว หากเขาประสงค์จะละหมาดวันศุกร์ด้วยก็ให้ปฏิบัติ แต่ถ้าเขาไม่ประสงค์ หรือเขาไม่สะดวก เช่ น เขาอาจเดิน ท างไป ยังภู มิ ลาเน าเดิ ม ขอ งต น ห รือ ติด ภ ารกิ จใดก็ช่าง เช่นนี้ ศาสนาอนุโลมไม่ต้องละหมาดวันศุกร์ได้ เกี่ยวกับทัศนะนี้ ถือว่ามีน้าหนักมากที่สุด เพราะท่านนบีเป็นผู้ที่พูดด้วยตัวของท่านรสูล ‫صلي‬‫هللا‬‫عليه‬‫وسلم‬ เอง ประเด็นที่สอง กรณีที่ระบุว่าอนุโลมไม่ต้องละหมาดวันศุกร์ หากบุคคลผู้นั้นละหมาดอีดนั้นเข้าใจ ประเด็นต่อมาคือ เมื่อไม่ได้ละหมาดวันศุกร์ ต้องละหมาดซุฮฺริหรือไม่? คาตอบคือ วาญิบจะต้ องละหมาดซุฮฺริหากเขาไม่ ได้ ไป ละหมาดวันศุกร์ เพราะการละหมาดฟัรฺฎูวันหนึ่ งกับคืนหนึ่งห้ าเวลานั้ น ไม่มีหลักฐานใดมายกเว้น หรือผ่อนผันไม่ต้องละหมาด ยกเว้นบุคคลที่ถูกศาสนากาหนดไว้ เช่น สตรีที่มีรอบเดือน เป็นต้น ฉะนั้นในภาวะอื่นๆ เช่น ละหมาดอีดแล้ว ได้รับการอนุโลมไม่ต้องละหมาดวันศุกร์ได้ แต่ไม่ต้ องละหมาดซุฮฺริด้ วยนั้ น ไม่ มีหลักฐานใดมากล่าวยืนยันยกเว้นไว้นั่นเอง อีกทั้งการละทิ้งละหมาดฟัรฺฎูแม้เพียงหนึ่งฟัรฺฎู ถือเป็นบาปใหญ่ด้วยซ้า ท่านรสูลุลลอฮฺ ‫صلي‬‫هللا‬‫عليه‬‫وسلم‬ กล่าวว่า «َّ‫ن‬ِ‫إ‬َْ‫ي‬َ‫ب‬ِ‫ل‬ُ‫ج‬َّ‫الر‬َْ‫ي‬َ‫ب‬َ‫و‬ِ‫ك‬ْ‫ر‬ِ‫الش‬ِ‫ر‬ْ‫ف‬ُ‫ك‬ْ‫ل‬‫ا‬َ‫و‬َ‫ك‬ْ‫ر‬َ‫ت‬ِ‫ة‬َ‫ال‬َّ‫الص‬» “แท้จริงระหว่างบุคคลหนึ่งกับการตั้งภาคีและการเป็นกุฟรฺ (การปฏิเสธ) นั้นคือ การละทิ้งละหมาด (ฟัรฺฎู)”18 อีกประการหนึ่ง การละหมาดซุฮฺริเป็ นละหมาดหนึ่งในห้ าของละหมาดฟัรฺฎู ซึ่งพระองค์อัลลอฮฺทรงกาหนดเป็นฟัรฺฎูก่อนที่พระองค์จะกาหนดละหมาดวันศุกร์เสียอีก 17 หะดีษเศาะหี้หฺ,บันทึกโดยอิบนุ มาญะฮฺหะดีษที่ 1373 18 หะดีษเศาะหี้หฺ,บันทึกโดยมุสลิม หะดีษที่ 256
  • 22. ซึ่งพิจารณาได้จาก บุคคลที่ศาสนาผ่อนผันไม่ต้องละหมาดวันศุกร์ซึ่งไม่เป็นฟัรฺฎูสาหรับเขา อ า ทิ เ ช่ น ค น เ ดิ น ท า ง ห รื อ ค น ป่ ว ย แต่บุคคลดังกล่าววาญิบจะต้องละหมาดซุฮฺริในวันนั้ นแทนการละหมาดวันศุกร์ โดยไม่มีข้อยกเว้นแต่ประการใดทั้งสิ้น ประเด็นที่สาม กรณีที่ได้รับการผ่อนผันไม่ต้ องละหมาดวันศุกร์ แต่ไม่ต้องละหมาดซุฮฺริ ซึ่งเป็นการกระทาของท่านอิบนุซุบัยร์ ( ‫رضي‬‫هللا‬‫عنه‬ ) ท่านอะฏออ์เล่าว่า “อีดสองอีดมารวมในวันเดียวกัน, เขา (อิบนุ ซุบัยร์) รวมวันทั้งสองเข้าด้วยกัน แล้วท่านได้ ละหมาดทั้งสองนั้ น 2 ร็อกอะฮฺในตอนเช้า โดยไม่ได้ละหมาดอะไรเพิ่มไปจากทั้งสองนั้นอีก จนกระทั่งละหมาดอัศริ”19 จ ริ งอ ยู่ แ ม้ ว่ า ท่ า น อิ บ นุ ซุ บั ย ร์ ไม่ ไ ด้ อ อ ก ม า ล ะ ห ม า ด วั น ศุ ก ร์ จนกระทั่งเขาออกมาละหมาดอัศริ แต่ก็มิได้หมายรวมว่าท่านอิบนุ ซุบัยร์มิได้ละหมาดซุฮฺริ ซึ่ ง ห ะ ดี ษ ข้ า ง ต้ น ก็ มิ ไ ด้ ก ล่ า ว ร ะ บุ ไ ว้ แ ต่ จั ก อ ย่ า ง ไ ร ก็ ช่ า ง การยกเลิกละหมาดซุฮฺริหนึ่งเวลาซึ่งเป็ นฟัรฺฎูจะต้องมีหลักฐานอย่างชัดเจนมายืนยัน เ พ ร า ะ เ ป็ น เ รื่ อ ง ใ ห ญ่ ซึ่งเรื่องใหญ่ที่ต้องละทิ้ งละหมาดฟัรฺฎูหนึ่งเวลาโดยไม่มีหลักฐานอันชัดเจนมาระบุ ห รื อ ร ะ บุ แ บ บ ค ลุ ม เ ค รื อ ค ง เ ป็ น ไ ป ไ ม่ ไ ด้ อ ยู่ แ ล้ ว อย่างน้ อยที่สุดท่านรสูลุลลอฮฺต้องระบุไว้อย่างแจ่มแจ้ง แต่กลับไม่มีหลักฐานใดๆ มาระบุเจาะจงสิ่งดังกล่าว ทั้งๆ ที่เป็นเรื่องใหญ่ และสาคัญมากๆ (ดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น) .‫أعلم‬ ‫تعاَل‬ ‫وهللا‬ 19 หะดีษเศาะหี้หฺ,บันทึกโดยอบูดาวูดหะดีษที่ 1074
  • 23. ‫فتوى‬‫واإلفتاء‬ ‫العلمية‬ ‫للبحوث‬ ‫الدائمة‬ ‫اللجنة‬ ‫رقم‬21160‫يخ‬‫ر‬‫وتا‬8/11/1420‫ه‬ 1-‫ا‬ً‫ظهر‬ ‫ويصليها‬ ،‫اْلمعة‬ ‫صَلة‬ ‫حضور‬ ‫عدم‬ ‫ِف‬ ‫له‬ ‫فْيخص‬ ‫العيد‬ ‫صَلة‬ ‫حضر‬ ‫من‬ .‫أفضل‬ ‫فهو‬ ‫اْلمعة‬ ‫الناس‬ ‫مع‬ ‫فصلى‬ ‫مية‬‫ز‬‫بالع‬ ‫أخذ‬ ‫وإن‬ ،‫الظهر‬ ‫وقت‬ ‫ِف‬ 2-‫َيضر‬ ‫ل‬ ‫من‬‫وجوب‬ ‫عنه‬ ‫يسقط‬ ‫فَل‬ ‫ولذا‬ ،‫الرخصة‬ ‫تشمله‬ ‫فَل‬ ‫العيد‬ ‫صَلة‬ ‫به‬ ‫تنعقد‬ ‫عدد‬ ‫يوجد‬ ‫ل‬ ‫فإن‬ ،‫اْلمعة‬ ‫لصَلة‬ ‫املسجد‬ ‫إَل‬ ‫السعي‬ ‫عليه‬ ‫فيجب‬ ،‫اْلمعة‬ .‫ا‬ً‫ظهر‬ ‫صَلها‬ ‫اْلمعة‬ ‫صَلة‬ 3-‫شاء‬ ‫من‬ ‫ليشهدها‬ ‫اليوم‬ ‫ذلك‬ ‫اْلمعة‬ ‫صَلة‬ ‫إقامة‬ ‫اْلمعة‬ ‫مسجد‬ ‫إمام‬ ‫على‬ ‫َيب‬ ‫ال‬ ‫حضر‬ ‫إن‬ ‫العيد‬ ‫يشهد‬ ‫ل‬ ‫ومن‬ ‫شهودها‬‫وإال‬ ،‫اْلمعة‬ ‫صَلة‬ ‫به‬ ‫تنعقد‬ ‫الذي‬ ‫عدد‬ .‫ا‬ً‫ظهر‬ ‫فتصلى‬ 4-‫بعد‬ ‫ا‬ً‫ظهر‬ ‫يصليها‬ ‫فإنه‬ ‫اْلمعة‬ ‫حضور‬ ‫بعدم‬ ‫وترخص‬ ‫العيد‬ ‫صَلة‬ ‫حضر‬ ‫من‬ .‫الظهر‬ ‫وقت‬ ‫دخول‬ 5-‫فَل‬ ‫اْلمعة‬ ‫صَلة‬ ‫فيها‬ ‫تقام‬ ‫اليت‬ ‫املساجد‬ ‫ِف‬ ‫إال‬ ‫األذان‬ ‫الوقت‬ ‫هذا‬ ‫ِف‬ ‫يشرع‬ ‫ال‬ .‫اليوم‬ ‫ذلك‬ ‫الظهر‬ ‫لصَلة‬ ‫األذان‬ ‫يشرع‬ 6-‫بأن‬ ‫القول‬‫ذلك‬ ‫الظهر‬ ‫وصَلة‬ ‫اْلمعة‬ ‫صَلة‬ ‫عنه‬ ‫تسقط‬ ‫العيد‬ ‫صَلة‬ ‫حضر‬ ‫من‬ ‫السنة‬ ‫ملخالفته‬ ‫وغرابته؛‬ ‫خبطئه‬ ‫وحكموا‬ ‫العلماء‬ ‫هجره‬ ‫ولذا‬ ،‫صحيح‬ ‫غْي‬ ‫قول‬ ‫اليوم‬ ‫السنن‬ ‫من‬ ‫املسألة‬ ‫ِف‬ ‫ما‬ ‫يبلغه‬ ‫ل‬ ‫قائله‬ ‫ولعل‬،‫دليل‬ ‫بَل‬ ‫هللا‬ ‫فرائض‬ ‫من‬ ‫فريضة‬ ‫وإسقاطه‬ ‫حضو‬ ‫بعدم‬ ‫العيد‬ ‫صَلة‬ ‫حضر‬ ‫ملن‬ ‫رخصت‬ ‫اليت‬ ‫واآلثار‬‫َيب‬ ‫وأنه‬ ،‫اْلمعة‬ ‫صَلة‬ ‫ر‬
  • 24. .‫أعلم‬ ‫تعاَل‬ ‫وهللا‬ ‫ا‬ً‫ظهر‬ ‫صَلِتا‬ ‫عليه‬ .‫وسلم‬ ‫وصحبه‬ ‫وآله‬ ‫حممد‬ ‫نبينا‬ ‫على‬ ‫هللا‬ ‫وصلى‬ ،‫التوفيق‬ ‫وباهلل‬ ‫واإلفتاء‬ ‫العلمية‬ ‫للبحوث‬ ‫الدائمة‬ ‫اللجنة‬ •:‫ئيس‬‫ر‬‫ال‬‫الشيخ‬ ‫آل‬ ‫هللا‬ ‫عبد‬ ‫بن‬ ‫يز‬‫ز‬‫الع‬ ‫عبد‬. •:‫عضو‬‫غديان‬ ‫بن‬ ‫هللا‬ ‫عبد‬. •:‫عضو‬‫يد‬‫ز‬ ‫أبو‬ ‫بكر‬. •:‫عضو‬‫ان‬‫ز‬‫الفو‬ ‫صاحل‬. http://www.alifta.com/Fatawa/Fatwaprint.aspx?languagename=&id=12796& BookID=3&sectionid=
  • 25. ฟัตวาลัจญ์นะฮฺดาอิมะฮฺ หมายเลข 21160 วันที่ 8/11/1420 ฮ.ศ. 1. ผู้ ใดที่ไปละห มาดอีดแล้ว เปิ ดโอกาสให้ เขาขาดละหม าดญุม อัตได้ และให้เขาละหมาดซุฮฺริในเวลา แต่ถ้าหากว่าเขาจะยึดปฏิบัติตามคาสั่งที่เป็ นข้อบังคับ ( อ ะ ซี ม ะ ฮฺ ) ด้ ว ย ก า ร ล ะ ห ม า ด ญุ มุ อ ะ ฮ์ พ ร้ อ ม ๆ กั บ ผู้ ค น ก็ถือว่าเป็ นการกระทาที่ประเสริฐกว่า 2. ผู้ ใ ด ที่ ไ ม่ ไ ป ล ะ ห ม า ด อี ด ไม่ ถื อ ว่าอ ยู่ ใน ก ลุ่ ม ข อ งผู้ ที่ ได้ รับ ก าร อ นุ โลม ให้ ข าด ละ ห ม าด ญุ ม อั ต ดังนั้นเขาจึงจาเป็นต้องไปละหมาดญุมอัตที่มัสยิด 3. อิหม่ามมัสยิดที่ทาละหมาดญุมอัตจาเป็ นต้องทาละหมาดญุมอัตในวันนั้ น เ พื่ อ ใ ห้ บ ร ร ด า ผู้ ที่ ป ร ะ ส ง ค์ จ ะ ท า ล ะ ห ม า ด ญุ ม อั ต และผู้ที่ไม่ได้ไปละหมาดอีดได้ร่วมกันละหมาด 4. ผู้ที่ไปละหมาดอีด และจะถือปฏิบัติตามการอนุโลมด้วยการไม่ไปละหมาดญุมอัต เขาจาเป็นต้องละหมาดซุฮฺริในเวลา 5. ใ น วั น นั้ น ไ ม่ มี บั ญ ญั ติ ใ ห้ ท า ก า ร อ ะ ซ า น น อ ก จ า ก ใ น มั ส ยิ ด ที่ จ ะ ท า ก า ร ล ะ ห ม า ด ญุ ม อั ต เท่ า นั้ น ดั ง นั้ น จึงไม่มีบัญญัติให้อะซานสาหรับละหมาดซุฮฺริในวันนั้น 6. ทั ศ น ะ ที่ เ ห็ น ว่ า ผู้ ที่ ล ะ ห ม า ด อี ด แ ล้ ว ถือว่าไม่จาเป็นต้องละหมาดญุมุอะฮฺและซุฮรีในวันดังกล่าวอีกนั้น เป็นทัศนะที่ไม่ถูกต้อง ด้วยเหตุนี้ บรรดาอุละมาอ์จึงไม่ยอมรับทัศนะดังกล่าว และตัดสินว่าเป็นทัศนะที่ผิดและแปลก เนื่องจากเป็นทัศนะที่ขัดแย้งกับสุนนะฮฺ และเป็นการยกเลิกฟัรดูหนึ่งจากบรรดาฟัรดูต่างๆ ที่อัลลอฮฺทรงกาหนดไว้ โดยปราศจากหลักฐาน เป็ นไปได้ ว่าผู้ ที่มี ทัศนะเช่นนี้ ไ ม่ ไ ด้ ท ร า บ ถึ ง ตั ว บ ท สุ น น ะ ฮฺ แ ล ะ อ า ษ า รฺ ต่ า งๆ ใ น ป ร ะ เด็ น นี้ ที่ อ นุ โ ล ม ใ ห้ ผู้ ที่ ล ะ ห ม า ด อี ด แ ล้ ว ไ ม่ ต้ อ งล ะ ห ม า ด ญุ มุ อ ะ ฮฺ ไ ด้ แต่ก็วาญิบสาหรับเขาที่ต้องละหมาดซุฮรีแทน.. วัลลอฮุอะอฺลัม
  • 26. อับดุลอะซีซ บิน อับดุลลอฮฺ บิน มุหัมมัด อาลิชชัยคฺ ประธาน อับดุลลอฮฺ บิน อับดุลเราะหฺมาน อัลฆุดัยยาน กรรมการ บักร์ บิน อับดุลลอฮฺ อบูเซด กรรมการ ศอลิหฺ บิน เฟาซาน อัลเฟาซาน กรรมการ