SlideShare a Scribd company logo
1 of 98
Download to read offline
(2)
ความผิดฐานขมขืนกระทําชําเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหวางกฎหมายอาญาอิสลามกับประมวล
กฎหมายอาญาไทย
A Comparative Study of the Rape in Islamic Criminal Law and Thai Criminal Law
อัซมัน แตเปาะ
Azman Taepoh
วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอิสลามศึกษา
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
Master of Art Thesis in Islamic Studies
Prince of Songkla University
2547
(2)
ชื่อวิทยานิพนธ ความผิดฐานขมขืนกระทําชําเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหวาง
กฎหมายอาญาอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญาไทย
ผูเขียน นายอัซมัน แตเปาะ
สาขาวิชา อิสลามศึกษา
_____________________________________________________________________________
คณะกรรมการที่ปรึกษา คณะกรรมการสอบ
....................................ประธานกรรมการ ...................................ประธานกรรมการ
(ผูชวยศาสตราจารย ดร.อิสมาแอ อาลี) (ผูชวยศาสตราจารย ดร.อิสมาแอ อาลี)
.................................................กรรมการ ................................................. กรรมการ
(อาจารยรอฮีม นิยมเดชา) (อาจารยรอฮีม นิยมเดชา)
.................................................กรรมการ
(อาจารยมุฮําหมัดซากี เจะหะ)
.................................................กรรมการ
(อาจารยอนุกูล อาแวปูเตะ)
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร อนุมัติใหนับวิทยานิพนธฉบับนี้เปนสวน
หนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอิสลามศึกษา
............................................................
(รองศาสตราจารย ดร.สุรพล อารียกุล)
คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
1
ประวัติผูเขียน
ชื่อ – สกุล นายอัซมัน แตเปาะ
วันเดือนปเกิด 8 มิถุนายน 2517
วุฒิการศึกษา
วุฒิ ชื่อสถาบัน ปที่สําเร็จการศึกษา
B.A. al-Azhar University Egypt 1999
ทุนการศึกษา
- ทุนการศึกษาจากมหาวิทยาลัย al-Azhar ประเทศอียิป
- ทุนอุดหนุนวิจัยเพื่อวิทยานิพนธจากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลา
นครินทร
ตําแหนงและสถานที่ทํางาน
- วิทยากรอิสลามศึกษาโรงเรียนชุมชนบานบางเกา ต.บางเกา อ.สายบุรี จ.ปตตานี
3
(2)
ชื่อวิทยานิพนธ ความผิดฐานขมขืนกระทําชําเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหวาง
กฎหมายอาญาอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญาไทย
ผูเขียน นาย อัซมัน แตเปาะ
สาขาวิชา อิสลามศึกษา
ปการศึกษา 2547
บทคัดยอ
วิทยานิพนธฉบับนี้มีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาเปรียบเทียบความผิดฐานขมขืนกระทําชําเรา
ระหวางกฎหมายอาญาอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญาไทย ผูวิจัยใชวิธีการวิจัยเอกสาร ศึกษา
เฉพาะสารบัญญัติของความผิด โดยเนนรายละเอียดเกี่ยวกับองคประกอบและโทษของความผิด
ทั้งนี้เพื่อนํามาวิเคราะหเปรียบเทียบใหเห็นถึงลักษณะความเหมือนและความแตกตางขององค
ประกอบและโทษของความผิดระหวางทั้งสองกฎหมาย
ผลการวิจัยพบวา ความผิดฐานขมขืนกระทําชําเราในกฎหมายอาญาอิสลามและประมวล
กฎหมายอาญาไทย มีบางองคประกอบของความผิดเหมือนกันและบางองคประกอบแตกตางกัน
สวนที่เหมือนกันไดแก การกระทําชําเรา สถานะของหญิงผูถูกกระทําและองคประกอบภายในซึ่ง
หมายถึงความเจตนา สวนองคประกอบที่แตกตางกันคือการขมขืน โดยที่กฎหมายอาญาอิสลาม
ไมถือวาการขมขืนเปนองคประกอบของความผิดเพราะอิสลามถือวาผูกระทํามีความผิดถึงแมวา
กระทําโดยไดรับความยินยอมจากฝายหญิงผูถูกกระทํา ซึ่งแตกตางจากประมวลกฎหมายอาญาที่
ถือวา การขมขืนเปนองคประกอบสําคัญที่จะพิจารณาการกระทําวาเปนความผิดหรือไม และเชน
กันในสวนของโทษของความผิดซึ่งมีบางสวนเหมือนกันและบางสวนแตกตางกัน สวนที่เหมือน
กันไดแกจุดมุงหมายของการลงโทษและที่แตกตางกัน ไดแก บทลงโทษและเหตุที่ทําใหตองรับ
โทษหนักขึ้น
4
(2)
Thesis Title A Comparative Study of the Rape in Islamic Criminal Law and Thai
Criminal Law
Author Mr. Azman Taepoh
Major Program Islamic Studies
Academic Year 2004
Abstract
This thesis aims to comparative study the conviction of crime with respect to rape between
Islamic criminal law and Thai criminal law. The research is based on a documentary study specific
substations of crime by emphasizing on giving detail of law element and punishment of crime in
order to comparatively analyze and differentiate the similarity and dissimilarity of element and
punishment between the two.
The result of the research found that the guilty of rape under Islamic criminal law and Thai
criminal law has some similarities and dissimilarities in the element of crime. The similarity is the
act of sexual harassment, condition of rape woman and intention (of the convict), whereas the
dissimilarity is that sexual intercourse even with woman’s consent is guilty under Islamic criminal
law but not guilty under Thai criminal law. This is because Islam forbids illegitimate sexual
intercourse between unmarried couple. Under Thai criminal law, the act of rape constitutes an
important factor for the conviction of crime.
The similarity and dissimilarity are also found in the punishment of convict. The similarity
is an objective of the punishment whereas the dissimilarity the act and reason for increasing
punishment.
5
(2)
กิตติกรรมประกาศ
มวลการสรรเสริญเปนสิทธิแหงอัลลอฮ ผูทรงเมตตาปราณียิ่งที่ทรงอนุมัติใหการศึกษาวิจัย
ครั้งนี้สําเร็จอยางดี ขอความสันติสุขจงมีแตทานนบีมุฮัมหมัด ศ็อลฯ ผูที่พระองคทรงเลือกใหเปน
ศาสดาทานสุดทายแหงอิสลาม
ผูวิจัยขอขอบคุณพรอมประกาศเกียรติคุณใหกับคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธทุก
ทาน ซึ่งนําโดย ผูชวยศาสตราจารย ดร.อิสมาแอ อาลี ประธานกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธที่
คอยเฝาติดตามกระบวนการเปนไปของการวิจัยนี้ทุกระยะและที่ยอมสละเวลาทุกเมื่อในการใหคํา
ปรึกษาแกผูวิจัยโดยไมจําเปนตองนัดหมายลวงหนา อาจารยรอฮีม นิยมเดชา กรรมการที่
ปรึกษาวิทยานิพนธที่กรุณาตรวจสอบวิทยานิพนธและใหคําแนะนํา
ขอขอบคุณผูชวยศาสตราจารย ดร.อับดุลเลาะห หนุมสุข ดร. วรรณา แผนมุนิน
อาจารยนิรามาน สุไลมาน อาจารยสมเจตน นาคเสวี คณาจารยและบุคลากรวิทยาลัยอิสลาม
ศึกษาทุกทานที่ใหคําปรึกษาและคําแนะนํา อํานวยความสะดวกเกี่ยวกับเอกสารและการติดตอธุร
การตลอดจนแสดงอัธยาศัยเปนอยางดี
ขอขอบคุณอาจารยนิรัญฎา หะมะ ที่กรุณาเสียสละเวลาขัดเกลาสํานวนภาษาและตรวจ
สอบภาษาไทยใหถูกตองและดียิ่งขึ้น
ขอขอบคุณ คุณพอเจะยิ แตเปาะ คุณแมแมะนะ อาแว คุณรูสลาดิง แตเปาะ คุณยัยนุน
แตเปาะ พี่ชายและพี่สาว ที่คอยปูทางสูความสําเร็จในการเปนมหาบัณฑิตของผูวิจัยดวยแรงทรัพย
และแรงกาย
ขอขอบคุณ คุณนูรีดา บูละ ที่คอยสนับสนุนใหกําลังใจเสมอมา คุณอับดุลมาเล็ก อาบู ที่
คอยเปนธุระทางการเงินตลอดระยะเวลาของการศึกษา และขอขอบคุณทุกทานที่มีสวนกับความ
สําเร็จการศึกษาระดับมหาบัณฑิตของผูวิจัยทั้งที่เอยนามและมิไดเอยนาม
ในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดรับทุนอุดหนุนจํานวนหนึ่ง จากบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัย
สงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี จึงขอขอบคุณ ณ โอกาสนี้ดวย
สําหรับคุณงามความดีของงานวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยขอมอบแด บิดา มารดา ผูบังเกิดเกลาที่คอย
ใหความรัก ความอบอุนตลอดเวลาของการใชชีวิต และขอใหอัลลอฮ ทรงพิจารณารับคุณคาความ
ดีทั้งหลายของวิทยานิพนธฉบับนี้ใหเปนกุศลแดทั้งสองยามทั้งสองจากไปจากโลกนี้
อัซมัน แตเปาะ
6
(2)
สารบัญ
หนา
บทคัดยอ.......................................................................................................................................(3)
Abstract........................................................................................................................................(4)
กิตติกรรมประกาศ........................................................................................................................(5)
สารบัญ.........................................................................................................................................(6)
บทที่
1 บทนํา.........................................................................................................................................1
ความสําคัญและที่มาของการศึกษา..................................................................................1
วัตถุประสงคของการวิจัย ................................................................................................6
ประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากการวิจัย ..........................................................................6
นิยามศัพทเฉพาะ .............................................................................................................7
สมมุติฐานของการศึกษา .................................................................................................8
ขอตกลงเบื้องตน .............................................................................................................8
ขอบเขตของการวิจัย ........................................................................................................8
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ .......................................................................................9
เอกสารที่เกี่ยวของกับการผิดประเวณีในกฎหมายอาญาอิสลาม ...........................9
เอกสารที่เกี่ยวของกับการผิดประเวณีและการขมขืน ในกฎหมายอาญาไทย .....13
ระเบียบวิธีการวิจัย.........................................................................................................16
การดําเนินการวิจัย...............................................................................................16
การวิเคราะหขอมูลและหลักการของการเปรียบเทียบ .........................................18
การสรุปขอมูล.....................................................................................................18
2 ความผิดฐานขมขืนกระทําชําเราในกฎหมายอาญาอิสลาม .....................................................19
ความหมายของการผิดประเวณี .....................................................................................19
ความหมายของการผิดประเวณีในเชิงภาษา ........................................................19
ความหมายของการผิดประเวณีในเชิงวิชาการ ....................................................20
7
(2)
สารบัญ(ตอ)
บทที่ หนา
ขอกําหนด (หุกม) ของการผิดประเวณี ..........................................................................22
1.หลักฐานจากอัลกรุอาน.....................................................................................22
2.หลักฐานจากอัสสุนนะห ..................................................................................23
3.อิจญมาอ ...........................................................................................................24
เปาประสงคของการหามการผิดประเวณี ......................................................................24
1.เพื่อรักษาทายาทสืบสกุล ..................................................................................25
2.เพื่อรักษาจริยธรรมอันดีงาม .............................................................................25
3.เพื่อรักษาสุขภาพ ..............................................................................................26
4.เพื่อรักษาทรัพยสมบัติและเงินทอง ..................................................................26
องคประกอบการผิดประเวณี .........................................................................................27
1.การกระทําการรวมประเวณี .............................................................................27
2.มีเจตนา ............................................................................................................31
โทษของการทําการผิดประเวณี .....................................................................................32
ความหมายคําวา โทษ .........................................................................................32
แนวคิดและขอกําหนดของการลงโทษ ...............................................................33
เหตุที่การลงโทษเปนวาญิบ ................................................................................35
โทษการผิดประเวณี ............................................................................................36
หลักฐานจากอัลกุรอาน .......................................................................................36
หลักฐานจากอัสสุนนะห .....................................................................................36
ผูที่ไมเคยผานการสมรส .....................................................................................39
ผูที่เคยผานการสมรส ..........................................................................................41
3 ความผิดฐานขมขืนกระทําชําเราในประมวลกฎหมายอาญาไทย .............................................44
วิวัฒนาการกฎหมายอาญาไทยวาดวยการขมขืนกระทําชําเรา .......................................44
การขมขืนกระทําชําเราในกฎหมายผัวเมียในกฎหมายตราสามดวง ..............................44
การขมขืนการะทําชําเราตามพระราชกําหนดลักษณะขมขืนลวงประเวณี ร.ศ. 118 …...46
การขมขืนกระทําชําเราในกฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ.127 ……………………………48
8
(2)
สารบัญ(ตอ)
บทที่ หนา
การขมขืนการะทําชําเราตามประมวลอาญาปจจุบัน ......................................................51
ความหมายการขมขืนกระทําชําเรา .....................................................................51
ตัวการ .................................................................................................................53
ขมขืน .................................................................................................................54
กระทําชําเรา ........................................................................................................58
หญิงซึ่งมิใชภริยาตน ...........................................................................................59
องคประกอบภายใน ............................................................................................61
บทลงโทษ ...........................................................................................................63
จุดประสงคของการลงโทษ .................................................................................63
โทษของความผิดฐานขมขืนการะทําชําเรา ..........................................................64
เหตุที่ตองรับโทษหนักขึ้น ...................................................................................64
เหตุที่ทําใหผูกระทําพนผิด ..................................................................................69
การยอมความ ......................................................................................................70
4 บทวิเคราะหเปรียบเทียบความผิดฐานขมขืนกระทําชําเราระหวาง-
กฎหมายอาญาอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา .................................................................71
1.องคประกอบของความผิด .......................................................................................71
1.1 ความเหมือน .................................................................................................71
1.2 ความแตกตาง ................................................................................................73
2.โทษของความผิด .....................................................................................................74
1.1 ความเหมือน .................................................................................................74
1.2 ความแตกตาง ................................................................................................75
5 บทสรุปและขอเสนอแนะ ........................................................................................................78
บทสรุป .......................................................................................................................78
ขอเสนอแนะ ..............................................................................................................80
9
(2)
สารบัญ(ตอ)
บทที่ หนา
บรรณานุกรม ................................................................................................................................81
ประวัติผูเขียน ...............................................................................................................................88
1
บทที่ 1
บทนํา
ความสําคัญและที่มาของการศึกษา
ความผิดฐานขมขืนกระทําชําเราเปนความผิดที่เกิดขึ้นอยางมากมายในสังคม
ปจจุบัน เปนปญหาอาชญากรรมที่นับวันจะมีเพิ่มขึ้นโดยลําดับ การขมขืนแลวฆา กับการ
กระทําของพวกกามวิตถาร จะปรากฏเปนขาวทางหนาหนังสือพิมพเกือบทุกวัน จนทําใหมีผู
เห็นวาปญหาอาชญากรรมดานนี้เหลือวิสัยที่จะแกไข และกฎหมายที่ใชอยูในปจจุบันก็ลา
สมัยไมเพียงพอที่จะแกไขปญหาสังคมในขณะนี้1
การขมขืนกระทําชําเรามิใชปญหาที่เกิดขึ้นในประเทศที่ดอยพัฒนาหรือกําลังพัฒนา
เทานั้น แตเปนปญหาที่เกิดขึ้นในทุกๆสังคมของแตละประเทศแมกระทั่งประเทศที่มีการ
พัฒนาสูงแลวอยางสหรัฐอเมริกาและกลุมประเทศยุโรป ประเทศเหลานั้นมีสถิติคดีการขมขืน
กระทําชําเราอยูสูงมากเชนเดียวกัน
อิสลามถือวาการขมขืนกระทําชําเราเปนการกระทําที่ตองหาม เปนบาปใหญรองลง
มาจากการตั้งภาคีตออัลลอฮและฆาคนตายโดยเจตนา การขมขืนกระทําชําเราเปนภัย
คุกคามความสงบเรียบรอยของสังคม ภยันตรายที่เกิดขึ้นจากการขมขืนกระทําชําเราไมเพียง
แตสงผลรายแกผูกระทําเทานั้น แตยังสงผลรายตอคนรอบขางและสังคมอีกดวย ดวยเหตุนี้
อิสลามจึงถือวาการขมขืนกระทําชําเรานั้นนอกจากเปนบาปใหญแลว ถือวาเปนความผิดทาง
อาญาที่กฎหมายอิสลามไดกําหนดบทลงโทษอยางหนักอีกดวย
อิสลามมิไดหามเฉพาะการขมขืนกระทําชําเราเทานั้น แมแตการมีเพศสัมพันธนอก
สมรสดวยความสมัครใจก็ถือวาตองหามเชนเดียวกัน ทั้งนี้เพื่อปองกันไมใหเกิดความสับสน
ในดานการสืบสกุล เพราะลูกที่เกิดมาจากการสําสอนนั้นจะนํามาซึ่งความสับสนของวงศ
ทายาท การปองกันมิใหเกิดความสับสนทางดานวงศทายาทนั้นเปนจุดมุงหมายศาสนบัญญัติ
(มะกอศิด ชัรอิยะห) อยางหนึ่ง ของบรรดาจุดมุงหมายศาสนบัญญัติทั้งหา2
1
ประสิทธิ์ พัฒนอมร, 2529 : 1
2
จุดมุงหมายศาสนบัญญัติหาประการนั้นไดแก 1. เพื่อปกปองศาสนา 2. เพื่อปกปองชีวิต 3. เพื่อปกปองสติปญญา 4. เพื่อปกปอ
งวงคตระกูล 5. เพื่อปกปองทรัพยสิน
2
การยอมรับในศาสนาอิสลามไมเพียงแตนอมรับดวยจิตใจเพียงอยางเดียวเทานั้น
หากแตตองรวมถึงการนําเอาบทบัญญัติอิสลามมาปฏิบัติดวยเชนกัน มุสลิมที่สมบูรณนั้นคือ
มุสลิมที่ยอมรับเอาบทบัญญัติอิสลามมาเปนเอกลักษณประจําตัว โดยที่กิจวัตรประจําวัน
ของเขาทุกอิริยาบถตองสอดคลองกับความประสงคของอัลลอฮ เพราะบทบัญญัติอิสลาม
เปนบทบัญญัติของอัลลอฮผูอภิบาล ผูทรงสรางทุกสิ่งทุกอยาง ซึ่งมีความเที่ยงแทและเที่ยง
ธรรมในตัวของมันเอง การปฏิบัติตัวตามบทบัญญัติอิสลามเปนสิ่งที่พึงประสงคอยางยิ่งของ
มุสลิมทุกคน เพราะอัลลอฮไดตรัสในอัลกุรอานความวา “และผูใดมิไดตัดสินดวยสิ่งที่อัลลอฮ
ประทานลงมา ชนเหลานี้แหละคือผูที่ปฏิเสธการศรัทธา”3
“และผูใดมิไดตัดสินดวยสิ่งที่
อัลลอฮประทานลงมา ชนเหลานี้แหละคือผูอธรรม”4
และอัลลอฮตรัสอีกความวา “ และผู
ใดมิไดตัดสินดวยสิ่งที่อัลลอฮประทานลงมา ชนเหลานี้แหละคือผูละเมิด”5 6
อัลลอฮประทาน
อัลกุรอานลงมาเพื่อมวลมนุษยทั้งหลาย เปนทางนําเพื่อจะนําพามวลมนุษยไปสูเสนทางที่ถูก
ตอง กฎหมายรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดของประเทศฉันใด อัลกุรอานเปนกฎหมายสูง
สุดของอิสลามฉันนั้น
ยุคปจจุบันถือเปนยุคแหงความรุงโรจนและทันสมัย ความเจริญกาวหนาทางดาน
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีกาวล้ําไปอยางรวดเร็ว กาวล้ํากวาทุกๆยุคที่ผานมาและคาดวา
จะพัฒนาตอไปเรื่อยๆอยางไมหยุดยั้ง แมกระนั้นก็ตามความเจริญกาวหนาทางดานวัตถุ
อยางเดียวไมเพียงพอที่จะนําพาสังคมใหอยูเย็นเปนสุขได หากแตตองเอาคุณธรรมและศีล
ธรรมอันดีงามมาพัฒนาภาวะจิตใจของมนุษยควบคูไปดวย
ปญหาสังคมในปจจุบันเปนปญหาที่ตองมุงแกไขดวยหลักและวิธีการอันถูกตอง การ
ขมขืนกระทําชําเราเปนปญหาหนึ่งที่แพรระบาดไปอยางรวดเร็ว และคาดวาจะยิ่งทวีความรุน
แรงขึ้นไปเรื่อยๆ
3
อัลกุรอาน, 5 : 44
4
อัลกุรอาน, 5 : 45
5
อัลกุรอาน, 5 : 47
6
อิหมามอัลกุรฏบียกลาววา ผูใดมิไดตัดสินดวยสิ่งที่อัลลอฮประทานลงมานั้นหากวาเขาผูนั้นปฎิเสธวาสิ่งนั้นมาจากอัลลอฮและปฎิ
เสธสุนนะหของทานนบี เขาผูนั้นเปนผูปฏิเสธศรัทธา และหากวาการไมไดตัดสินดวยสิ่งที่อัลลอฮประทานลงมานั้น แตไมไดปฏิเสธ
วาสิ่งนั้นมาจากอัลลอฮและเปนสุนนะหของทานนบีมุฮัมหมัด ศอลฯ เขาผูนั้นเปนผูละเมิด (al-Qurtubie, 1987 : 6/190 )
3
ความบกพรองและความหละหลวมของตัวบทกฎหมาย เปนจุดออนประการหนึ่งที่
ทําให สังคมไมหมดสิ้นกับความชั่วรายตางๆ ความไมเด็ดขาดทางดานกฎหมายและบทลง
โทษเปนชองวางอยางหนึ่งที่เปดโอกาสแกผูที่ตองการกระทําความชั่วหาชองวางมาตอบ
สนองความชั่วของตน
ความผิดเกี่ยวกับเพศตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 276 คือ การขมขืนกระทํา
ชําเราหญิงโดยขูเข็ญ หรือใชกําลังประทุษราย หากมิไดเกิดตอหนาธารกํานัลเปนความผิดที่
ยอมความได ซึ่งบางครั้งทําใหผูกระทําผิดหลุดพนไมตองโทษดวยวิธีการอันชอบธรรมตาม
กระบวนการทางกฎหมาย ทั้งๆที่เขาไดกระทําผิดและความผิดของเขานั้นเปนความผิดที่ราย
แรงและเปนตนตอของปญหาสังคมดานตางๆดวย
การกระทําชําเราหญิงที่มิใชภรรยาตนจะไมเปนความผิดตามประมวลกฎหมาย
อาญามาตรา 276 หากการกระทําของเขานั้นเกิดจากความยินยอมสมัครใจจากฝายหญิง
เพราะเปนสิทธิตามรัฐธรรมนูญที่ทุกคนสามารถทําอะไรกับตัวเองไดตราบใดที่ไมเกิดผลราย
แกบุคคลอื่น ถึงแมวาการกระทําของเขาจะผิดกับหลักคุณธรรมก็ตาม แตในทางตรงกันขาม
อิสลามถือวาการทําผิดประเวณีและการกระทําชําเราหญิงจะดวยสมัครใจหรือดวยการขูเข็ญ
บังคับ เปนปญหาใหญที่จะกอใหเกิดปญหาอื่นๆอีกมากมาย พิษรายของการผิดประเวณีมิได
สงผลเสียแกผูกระทําเทานั้น หากแตยังแผฤทธิ์รายแกสังคมอีกดวย7
ซึ่งก็เปนสาเหตุของ
ปญหาสังคมอื่นๆอีกมากมาย ปญหาลูกเกิดมาไมมีพอ พี่แตงงานกับนอง พอแตงงานกับลูก
ปญหาเด็กเรรอนขาดการศึกษาและปญหาอื่นๆอีกมากมายซึ่งสวนหนึ่งเกิดจากการผิด
ประเวณี อิบนุลก็อยยิม8
กลาววา “การผิดประเวณีเปนบอเกิดของความเลวทรามทั้งหลาย”9
อิสลามมุงเนนที่จะปองกันมิใหเกิดปญหา กลาวคืออิสลามจะพยายามตัดตนตอของ
ปญหาตางๆ ซึ่งก็สอดคลองกับสุภาษิตที่วา “กันดีกวาแก” อิสลามตระหนักถึงพิษรายของ
การผิดประเวณีเปนอยางดี ดวยเหตุนี้อิสลามจึงไดหามการผิดประเวณีอยางเด็ดขาด ถาผูใด
กระทําถือวาเปนความผิดที่จะตองรับโทษ ไมเพียงแคนั้นแตอิสลามยังไดหามการกระทําใดๆ
ที่จะชักนําไปสูการผิดประเวณี การลูบคลํา การจูบ หรือแมกระทั้งการมองอยางมีตัณหา
ลวนเปนสิ่งตองหามดังที่อัลลอฮไดตรัสในอัลกุรอานความวา “และพวกเจาอยาเขาใกลการ
7
เมาดูดีย, 2527 : 198
8
อิบนุลก็อยยิม คือ ชัมสุดดีน อบูอับดุลลอฮ มุฮัมหมัด อิบนุ อบีบักร มีชีวิตระหวางป ค.ศ. 1270-1302 ทานเปนนักทองหะดีษ นัก
คิดและนักปรัชญา เปนผูเชี่ยวชาญในสาขาวิชาหลักการศาสนบัญญัติ และเปนศิษยของ อิบนุตัยมิยะห
9
Ibnul Qaiyim, 1997 : 358
4
ผิดประเวณีแทจริงมันเปนการลามกและเสนทางอันชั่วชา” 10
แตการทําผิดประเวณีไมถือวา
เปนความผิดตามประมวลกฎหมายอาญาหากการกระทําเกิดจากความสมัครใจจากฝาย
หญิง ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 276 บัญญัติไววา “ผูใดขมขืนกระทําชําเราหญิงซึ่งมิ
ใชภรรยาตน โดยขูเข็ญดวยประการใดๆ โดยใชกําลังประทุษราย โดยหญิงอยูในภาวะที่ไม
สามารถขัดขืนได หรือโดยทําใหหญิงเขาใจผิดวาตนเปนบุคคลอื่น ตองระวางโทษจําคุกตั้งแต
สี่ปถึงยี่สิบป ปรับตั้งแตแปดพันบาทถึงสี่หมื่นบาท”
คําวา ขมขืน หมายถึง การบังคับ ขืนใจ11
หรือการกระทําโดยไมสมัครใจยินยอม
เพราะฉะนั้นการทําผิดประเวณีจะเปนความผิดตามประมวลกฎหมายอาญาเฉพาะการ
กระทําชําเราโดยบังคับและกระทําตอเด็กหญิงอายุไมเกินสิบหาป12
เนื่องจากวาเด็กหญิง
อายุไมเกิน 15 ป ไมสามารถจะรับรูรับผิดชอบในเรื่องการรวมประเวณีพอที่จะสมัครใจยิน
ยอม ซึงในลักษณะที่กลาวมานี้มีความแตกตางกับหลักการของกฎหมายอิสลามอยางสิ้นเชิง
อิสลามถือวาการทําการผิดประเวณีเปนความผิดแมวาการกระทําเกิดจากความสมัครใจ
ความจงใจและความเจตนาเปนหลักสําคัญที่จะทําใหผูกระทําผิดไดรับโทษ สวนผูที่ถูก
บังคับ หรืออยูในภาวะที่ไมสามารถขัดขืนไดไมถือวาเปนผูทําผิดและไมถูกลงโทษ
อิหมามอัลเฆาะซาลีย13
ถือวาการผิดประเวณีเปนบาปใหญอันดับสอง14
รองลงมา
จากการปฎิเสธศรัทธาและการตั้งภาคีตออัลลอฮ โดยใหเหตุผลวา “แลวไฉนสังคมจะมี
ระเบียบเรียบรอยหากการผิดประเวณีเปนสิ่งที่ถูกอนุมัติ...และเปนไปไมไดหาการผิดประเวณี
เปนสิ่งที่อนุมัติในขณะที่เปาประสงคของศาสนานั้นคือ การจัดระเบียบสังคม”15
เปนการเพียง
พอที่การผิดประเวณีเปนที่โกรธกริ้วจากอัลลอฮ ที่แสดงถึงการผิดประเวณีนั้นเปนบาปใหญ
ดังที่ทานนบีมุฮัมหมัด ศ็อลฯ ไดกลาวความวา “จงระวังจากการทําผิดประเวณี แทจริงแลว
การทําการผิดประเวณีนั้นมี(ภัย)สี่ประการดวยกันคือ หมดความละอายจากใบหนา อัลลอฮ
ตัดปจจัยยังชีพ(ริซกีย) อัลลอฮทรงโกรธกริ้วยิ่ง และพํานักอยางนิรันดรในนรก”16
ผูที่อัลลอฮ
10
อัลกุรอาน, 17 : 32
11
บัณฑิตยสถาน, 2539 : 127
12
มาตรา 277 ประมวลกฎหมายอาญา
13
อิหมามอัลเฆาะซาลีย คือ อบูฮามิด มุฮัมหมัด อิบนุ มุฮัมหมัด อิบนุ อัฮหมัด อัลเฆาะซาลีย เสียชีวิตเมื่อป ค.ศ. 1084 ทานเปนนักคิด
และนักปราชญาที่มีชายานามวา ฮุจญะตุลอิสลาม (หมายถึ่งหลักฐานแหงอิสลาม) เปนผูเชี่ยวชาญในสาขาวิชาหลักการศาสนะ
บัญญัติ
14
อยูในอันดับเดียวกันกับฆาคนอื่นตายโดยเจตนา
15
al-Ghazalie. n.d. : 11/174
16
รายงานโดยอัฏเฏาะบะรอนีย
5
ทรงโกรธกริ้วนั้นความเปนอยูของเขาจะไมเปนสุขอยางแนนอนทั้งในโลกนี้และโลกหนา
เพราะบนโลกนี้ผูทําการผิดประเวณีจะถูกลงโทษสถานหนักดวยการโบย 100 ครั้งหากวาผู
กระทํายังไมเคยผานการสมรสมากอน และจะเพิ่มโทษหนักขึ้นเปนประหารชีวิตดวยวิธีการ
รุมปากอนหินจนตายหากผูทําการผิดประเวณีเคยผานการสมรสมาแลว และในโลกหนาเขา
จะถูกเผาผลาญดวยไฟนรกอีกดวย
แตถาหากพิจารณาโทษของผูทําผิดประเวณีในกฎหมายอาญาไทยจะเห็นวา โทษ
ของผูกระทําการผิดประเวณีในกรณีขมขืนกระทําชําเราคือจําคุกตั้งแตสี่ปถึงยี่สิบปหรือปรับ
ตั้งแตแปดพันบาทถึงสี่หมื่นบาท17
และจะเพิ่มโทษหนักขึ้นหากกระทําโดยมีหรือใชอาวุธปน
หรือวัตถุระเบิด ตองระวางโทษจําคุกตั้งแต สิบหาปถึงยี่สิบป และปรับตั้งแตสามหมื่นบาทถึง
สี่หมื่นบาท หรือจําคุกตลอดชีวิต18
และถาการกระทําผิดนั้นเปนเหตุใหผูถูกกระทําไดรับ
อันตรายสาหัส ตองระวางโทษจําคุกตั้งแต สิบหาปถึงยี่สิบป และปรับตั้งแตสามหมื่นบาทถึง
สี่หมื่นบาท หรือจําคุกตลอดชีวิต หรือเปนเหตุใหผูถูกกระทําถึงแกความตายผูกระทําตอง
ระวางโทษประหารชีวิตหรือจําคุกตลอดชีวิต19
และผูกระทําตองไดรับโทษหนักกวาที่บัญญัติ
ไวในมาตรานั้นๆหนึ่งในสาม หากเปนการกระทําแกผูสืบสันดาน ศิษยซึ่งอยูในความดูแล ผู
อยูในความควบคุมตามหนาที่ราชการหรืออยูในความปกครองในความพิทักษ หรืออยูใน
ความอนุบาล20
อันเนื่องมาจากความแตกตางขององคประกอบและบทลงโทษความผิดของการขม
ขืนกระทําชําเราระหวางกฎหมายอาญาอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญาไทย ผูวิจัยสนใจ
ที่จะทําการศึกษาเชิงเปรียบเทียบระหวางองคประกอบและบทลงโทษของความผิดฐานผิด
ประเวณีตามกฎหมายอิสลามและการขมขืนกระทําชําเราตามประมวลกฎหมายอาญาไทย
นั้นมีความเหมือนและความแตกตางกันอยางไร
17
มาตรา 276 ประมวลกฎหมายอาญาไทย
18
มาตรา 276 วรรคทาย ประมวลกฎหมายอาญาไทย
19
มาตรา 277 ทวิ ประมวลกฎหมายอาญาไทย
20
มาตรา 277 ตรี ประมวลกฎหมายอาญาไทย
6
วัตถุประสงคของการวิจัย
ในการศึกษาเปรียบเทียบความผิดฐานขมขืนกระทําชําเราในครั้งนี้มีวัตถุประสงคดัง
ตอไปนี้
1. เพื่อศึกษาองคประกอบและบทลงโทษความผิดฐานผิดประเวณีในทัศนะของอิสลาม
2. เพื่อศึกษาปรัชญาการลงโทษตามทัศนะของกฎหมายอาญาอิสลาม
3. เพื่อศึกษาองคประกอบและบทลงโทษความผิดฐานขมขืนกระทําชําเราในทัศนะของ
ประมวลกฎหมายอาญาไทย
4. เพื่อศึกษาปรัชญาการลงโทษตามทัศนะของกฎหมายทั่วไป
5. เพื่อเปรียบเทียบองคประกอบและบทลงโทษของความผิดฐานผิดประเวณีตาม
กฎหมายอาญาอิสลามกับความผิดฐานขมขืนกระทําชําเราตามประมวลกฎหมายอาญาไทย
วา มีความเหมือนหรือแตกตางกันอยางไร
6. เพื่อเปรียบเทียบปรัชญาการลงโทษระหวางกฎหมายอาญาอิสลามกับกฎหมายทั่ว
ไปวา มีความเหมือนหรือแตกตางกันอยางไร
7. เพื่อใหเกิดองคความรูใหมๆในดานวิชากฎหมายอาญาอิสลามและกฎหมายอาญา
ทั่วไป
ประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากการวิจัย
ประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากการวิจัยครั้งนี้มีดังนี้
1. มีความรูตามวัตถุประสงคขอ1-7
2. ใชเปนเอกสารประกอบการเรียนการสอนเกี่ยวกับวิชากฎหมายอาญาเปรียบเทียบ
(Comparative Criminal Laws)
3. นําเสนอขอมูลตอหนวยงานที่เกี่ยวของและผูที่สนใจเพื่อเปนขอมูลในการพิจารณา
พัฒนาตัวบทกฎหมายอาญาไทยตอไป
7
นิยามศัพทเฉพาะ
การวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยนิยามศัพทเฉพาะดังนี้
1. การผิดประเวณี หมายถึง การรวมประเวณีที่ตองหามระหวางหญิงและชายที่ไม
ไดสมรสกันอยางถูกตองตามหลักการอิสลาม
2. กฎหมายอิสลาม หมายถึง บทบัญญัติตางๆทั้งที่เปนคําสั่งใหกระทําหรือคําสั่งให
ละเวนกระทําที่อัลลอฮประทานลงมาแกมวลมนุษยเพื่อเปนบรรทัดฐานที่ทุกคนตองปฎิบัติ
ตามอยางเครงครัด ซึ่งกฎหมายอิสลามมีแหลงที่มาที่สําคัญจากคัมภีรอัลกุรอาน อัสสุนนะห
อิจมาอ และกิยาสเปนตน
3. คัมภีรอัลกุรอาน หมายถึง สาสนของอัลลอฮที่ประทานลงมาแกทานนบีมุฮัม
หมัด ศ็อลฯ ซึ่งมีความมหัศจรรย (มุอญิซาต) ในตัวของมันเอง และจะไดรับผลบุญจากการ
อาน คัมภีรอัลกุรอานเปนคัมภีรสูงสุดของศาสนาอิสลามที่มีความสําคัญตอการดําเนินชีวิต
ของมวลมนุษย และเปนบรรทัดฐานของการดําเนินชีวิต คัมภีรอัลกุรอานมีเนื้อหาครอบคลุม
วิถีชีวิตของมนุษย ซึ่งเปนธรรมนูญสูงสุดของรัฐอิสลาม
4. เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ หมายถึง คําอวยพรแกบรรดาศอฮาบะหของทานนบีมุฮัม
หมัด ศ็อลฯ มีความวา ”ขออัลลอฮทรงพอพระทัยแดทาน” เมื่อกลาวถึงศอฮาบะหของทานน
บีมุฮัมหมัด ศ็อลฯ ครั้งตอไปจะใชคําวา”เราะฎีฯ”แทน
5. ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม หมายถึง คําอวยพรแกทานนบีมุฮัมหมัด มีความ
วา “ขออัลลอฮทรงสดุดีและใหความสันติแดทาน” เมื่อกลาวถึงทานนบีมุฮัมหมัด ครั้งตอไป
จะใชคํายอ วา “ศ็อลฯ” ตามหลังแทน
6. อัลหะดีษหรืออัสสุนนะห หมายถึง คําพูด การกระทํา และการยอมรับของทานน
บีมุฮัมหมัด ศ็อลฯ เนี้อหาในอัสสุนนะหเปนการอธิบายเนื้อหาบางสวนที่มีอยูในอัลกุรอานที่
ความหมายไมชัดเจน และเปนการกําหนดบทบัญญัติตางๆที่ไมไดระบุในอัลกุรอาน ดังนั้น
อัสสุนนะหจึงถือวาเปนธรรมนูญอันดับสองรองลงมาจากอัลกุรอาน
8
สมมุติฐานของการศึกษา
ในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยตั้งสมมุติฐานการวิจัยวา องคประกอบและบทลงโทษของ
ความผิดฐานผิดประเวณีตามกฎหมายอาญาอิสลามมีความแตกตางกับองคประกอบและ
บทลงโทษของความผิดฐานขมขืนกระทําชําเราตามประมวลกฎหมายอาญาไทย
ขอตกลงเบื้องตน
1. อัลกุรอานและอัสสุนนะห ผูวิจัยจัดเปนเอกสารชนิดพิเศษไมถือวาเปนเอกสารปฐม
ภูมิหรือทุติยภูมิ เพราะอัลกุรอานและอัสสุนนะหเปนสาสนที่ถูกประทานลงมาจากอัลลอฮแด
ทานนบีมุฮัมหมัด ศ็อลฯ
2. ในการแปลความหมายอัลกุรอานเปนภาษาไทยผูวิจัยจะยึดเอาความหมายอัลกุร
อานที่แปลภาษาไทยโดยสมาคมนักเรียนเกาอาหรับ ประเทศไทยเปนหลัก
ขอบเขตของการวิจัย
การศึกษาเปรียบเทียบความผิดฐานขมขืนกระทําชําเราระหวางกฎหมายอาญาอิส
ลามกับประมวลกฎหมายอาญาไทย ผูวิจัยทําการศึกษาลักษณะการกระทําที่เปนความผิด
โดยศึกษาจากองคประกอบของความผิด และบทลงโทษของความผิดโดยจะทําการศึกษาใน
เรื่องของจุดมุงหมายหรือปรัชญาการลงโทษ การเพิ่มโทษใหหนักขึ้น โดยที่ผูวิจัยยึดเอา
กฎหมายอาญาอิสลามเปนหลักของการเปรียบเทียบโดยการนําเอาประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 27621
27722
277ทวิ 277ตรี 28123
และ 28524
มาเปรียบเทียบ
21
มาตรา 276 แกไขเพิ่มเติมครั้งสุดทายโดยมาตรา 3 แหงพ.ร.บ.แกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญาฉบับที่ 5 พ.ศ. 2525
22
มาตร 277 277 ทวิ และ 277 ตรี แกไขเพิ่มเติมครั้งสุดทายโดยมาตรา 3 แหง พ.ร.บ.แกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญาฉบับที่ 8
พ.ศ. 2530
23
มาตรา 281 แกไขเพิ่มเติมโดยขอ 9 แหงประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 11 ลงวันที่ 21 พฤศจิกายน 2514
24
มาตรา 285 แกไขเพิ่มเติมโดยขอ 10 แหงประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 11 ลงวันที่ 21 พฤศจิกายน 2514
9
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับงานวิจัยครั้งนี้แบงออกเปนสองประเภทดวยกัน
คือ
1.เอกสารที่เกี่ยวของกับการผิดประเวณี ในกฎหมายอาญาอิสลาม
2.เอกสารที่เกี่ยวของกับการผิดประเวณีและการขมขืนกระทําชําเรา ในกฎหมาย
อาญาไทย
1. เอกสารที่เกี่ยวของกับการผิดประเวณี ในกฎหมายอาญาอิสลาม
คัมภีรอัลกุรอาน ใน ซูเราะหอัลมาอีดะห ซูเราะหอัลอิสรออ ซูเราะหอัลอันนูร และซู
เราะหอัลฟุรกอน โดยที่ซูเราะหตางฯไดอธิบาย หลักพื้นฐานของการหามการผิดประเวณี โทษ
กฎเกณฑของการลงโทษ พยานและจํานวนของพยาน
ซูเราะหอัลมาอีดะหกลาวถึงพยานที่จะมายืนยันความผิดของการทําการผิดประเวณี
นั้น ตองเปนชายจํานวนสี่คน เพราะการกลาวหาคนอื่นวาทําการผิดประเวณีนั้นเปนการกลา
วหาที่รุนแรง จึงจําเปนตองมีพยานหลายคนมายืนยันการกระทําความผิดดังกลาว และตาม
หลักเกณฑของอิสลามแลวหามเปดเผยความผิด หรือความชั่วของคนอื่นโดยเฉพาะที่กระทํา
อยางปกปด
ซูเราะหอัลอิสรออ กลาวถึงการหามเขาใกลกับการผิดประเวณีซึ่งไดแกการกระทํา
ตางๆหรือเขาอยูในสภาพแวดลอมที่จะนําพาไปสูการผิดประเวณี เพื่อเปนการตัดหนทางที่จะ
นําไปสูการผิดประเวณีและอัลลอฮยืนยันใหทุกคนทราบวาการทําการผิดประเวณีนั้น เปน
การกระทําที่เลวทราม และเปนหนทางที่จะนําไปสูความหายนะ
ซูเราะหอันนูร กลาวถึง กฎ ขอบังคับและระเบียบตางๆ ที่มีความหมายทางดานนิติ
บัญญัติ กลาวคืออัลลอฮไดกําหนดบทลงโทษสําหรับผูทําการผิดประเวณีที่ยังมิไดสมรสมา
10
กอนโดยกําหนดบทลงโทษโบย คนละ100 ครั้ง และไดกลาวเรื่องพยานที่จะมายืนยันความผิด
นั้นตองเปนพยานบุคคลจํานวนสี่คน ไมเชนนั้น จะถือวาเปนการกลาวหาใสรายผูอื่นและตอง
วางโทษโบย 80 ครั้ง
ซูเราะหอัลฟุรกอน กลาวถึงคุณลักษณะของผูที่ศรัทธามั่นตออัลลอฮ โดยที่เขาไมได
ตั้งภาคีตออัลลอฮ เขาจะไมทําการผิดประเวณีเปนอันขาด
อิบนุลอะรอบีย25
ในหนังสืออรรถาธิบายอัลกุรอาน อะหกามุลกุรอาน (Ahkamul Qur-
an) เลมที่ 3 อิบนุลอะรอบีย ไดนิยามและใหความหมายของการผิดประเวณี ซึ่งรวมถึงการ
รวมเพศที่ผิดธรรมชาติหรือรวมทางทวารหนัก (ลีวาฏ) ไดกลาวเหตุผล การที่อัลลอฮไดเริ่ม
โองการอัลกุรอาน ดวยหญิงที่ทําการผิดประเวณี กอนผูชายวา มีเหตุผลสองประการดวยกัน
คือ สามารถพิสูจนหญิงทําการผิดประเวณีงายกวาผูชาย เพราะผูหญิงเปนผูตั้งครรถ และ
อารมณใครของผูหญิงปกติแลวรอนแรงกวาผูชาย ถึงแมวายางอายของผูหญิงมีมากกวาผู
ชาย แตหลังจากทําการผิดประเวณีแลว ความยางอายจะหมดสิ้นไปจากนาง ดวยเหตุนั้น
อัลลอฮ เริ่มโองการดวยหญิงและตามมาดวยผูชาย เพื่อหยุดยั้งอารมณของนาง อิบนุลอะรอ
บีย ไดแบงประเภทบทลงโทษของการผิดประเวณี ไวสองประเภท คือ ประหารชีวิตดวยวิธีการ
ปากอนหินจนตาย และโบย 100 ครั้ง โดยไดอางเหตุผลจากอัลกุรอานและอัสสุนนะห อิบนุล
อะรอบีย ไดแสดงทัศนะหามมิให ผูนําของรัฐ ลดหยอนในบทลงโทษ หรือใหความเมตตาแกผู
กระทําผิด
อัลกุรฏบีย26
ไดอธิบายซูเราะหอัลมาอิดะหในหนังสือ อัลญามิอ ลิลอะหกามิล กุร
อาน (Al-jami’ li ahkamil Qur-an) เลมที่5 เกี่ยวกับบทลงโทษของผูทําการผิดประเวณีในยุค
แรกของอิสลามวา โทษของพวกเขาเหลานั้นคือการประณาม และการกักขังจนกวาพวกนาง
จะถึงแกความตาย กอนความชั่วนั้นจะแพรขยายวงกวางออกไป โดยที่ อัลกุรฏบีย ไดอาง
25
อิบนุลอะรอบีย คือ อบูบักร มุฮัมหมัด อิบนุ อับดุลลอฮ อิบนุ มุฮัมหมัด อัลอันดะลุสสีย มีชีวิตระหวางป ค.ศ.
1047-1122 ทานเคยดํารงตําแหนงผูพิพากษาในสมัยนั้น ทานเปนนักคิดและนักปราชญา เปนผูเชี่ยวชาญในสาขา
วิชาหลักการศาสนะบัญญัติ วิชาศานสะบัญญัติ โดยเฉพาะอยางยิ่งในสํานักอิหมามมาลิก
26
อัลกุรฏบีย คือ อบูอับดุลลอฮ มุฮัมหมัด อิบนุ อัฮหมัด อิบนุ อบีบักร เสียชีวิตเมื่อป ค.ศ. 1250 เปนผูรอบรูใน
เรื่องอรรถาธิบายอัยกุรอานและอัสสุนะห
11
หลักฐานจากนักอรรถาธิบายอัลกุรอานหลายทาน อาทิเชน มุญาฮิด อัลหะซัน และอุบาดะห
อิบนุศศอมิต (เราะฏีฯ) เปนตน หลังจากนั้นบทลงโทษนี้ถูกยกเลิกดวยโองการที่บัญญัติบทลง
โทษการผิดประเวณีในซูเราะหอันนูร
อัลกุรฏบีย กลาวในเลมที่ 12 ถึงเหตุผลที่อัลลอฮเริ่มโองการบทลงโทษการผิด
ประเวณีดวยหญิงที่ทําการผิดประเวณี กอนผูชาย ผูที่จะทําการลงโทษ โดยไดอธิบายวา เปน
หนาที่ของผูนําของรัฐ หรือผูที่ไดรับมอบหมายงานจากผูนํารัฐ วิธีการลงโทษโบย ขอหาม
และสิ่งที่ควรหลีกเลี่ยงในการลงโทษ รวมถึงความแตกตางระหวางหญิงและชายในการลง
โทษ ชนิดและขนาดของไมเรียวที่จะทําการลงโทษ
อัลบะเฆาะวีย 27
ในหนังสือชัรหุสสุนนะห (syarhus sunnah) หรือหนังสืออธิบายสุน
นะห สาระที่เกี่ยวของกับงานวิจัยชิ้นนี้คือ เลมที่ 10 ภาคกําหนดโทษในบทลงโทษของการผิด
ประเวณี บทขวางปาซิมมีย28
ที่แตงงานแลวเมื่อทําการผิดประเวณี บทสารภาพการทําการ
ผิดประเวณี และบทนายทาสทําการลงโทษทาสดวยตัวเอง
บทลงโทษของการทําการผิดประเวณี อัลบะเฆาะวีย ไดอธิบายวา โทษของผูทําการ
ผิดประเวณี ที่ยังไมสมรส คือโบย 100 ครั้ง และสําหรับผูที่เคยผานการสมรสมาแลว คือโทษ
ประหารชีวิตดวยวิธีการปากอนหินจนตาย อัลบะเฆาะวีย ไดนิยามคําวา มุฮศอน วาคือผูมี
คุณลักษณะสี่ประการคือ มีสติปญญา บรรลุนิติภาวะ และอิสระชน และเคยลิ้มรสสวาทจาก
การสมรสที่ถูกตองมาแลว อัลบะเฆาะวีย ไดเสนอทัศนะของนักปราชญอิสลามเกี่ยวกับโทษ
การปากอนหินจนตายวา ตองทําการโบยดวยหรือไม
บทขวางปากอนหินสําหรับซิมมียที่แตงงานแลวเมื่อทําการผิดประเวณี อัลบะเฆาะวีย
ไดอธิบายวา เมื่อซิมมียขอการตัดสินคดีจากศาลอิสลาม หรือจากรัฐอิสลาม ผูตัดสินตองทํา
การตัดสินดวยบทบัญญัติอิสลาม ถึงแมวาจะดวยการบังคับก็ตาม นอกจากนั้นอัลบะเฆาะ
วียยัง ไดอธิบายอีกวา ไมจําเปนตองผูกมือหรือมัดเทา ผูที่ถูกลงโทษแตอยางใด
27
อัลบะเฆาะวีย คือ อบูมุฮัมหมัด อัลหุสีน อิบนุ มัสอูด อัลบะเฆาะวีย เสียชีวิตเมื่อป ค.ศ. 1095 เปนผูรอบรูในเรื่อง
อรรถาธิบายอัยกุรอาน อัสสุนะห และวิชาศาสนะบัญญัติตามสํานักอิหมามชาฟอีย
28
ซิมมียคือตางศาสนิกชนที่อยูภายใตการปกครองของรัฐอิสลามโดยที่มีหนาที่จายจิซยะห(ภาษี)ใหแกรัฐเพื่อ
แสดงถึงความจงรักภักดีและจํานงตอรัฐอิสลาม
12
บทสารภาพการทําการผิดประเวณี อัลบะเฆาะวีย ไดอธิบายวา การสารภาพวาไดทํา
การผิดประเวณีนั้น มีเงื่อนไขสําคัญคือ ตองสารภาพสี่ครั้งดวยกันจึงสามารถลงโทษได โดยที่
ปราชญบางทานไดแสดงทัศนะวา ตองสารภาพสี่ครั้ง และผูที่สารภาพแลวสามารถถอนคํา
สารภาพได โดยที่ผูนั้นจะไมถูกลงโทษ และผูนําของรัฐ ตองพยายามโนมนาวผูกระทําไมให
สารภาพจากการกระทําผิด
อิบนุลก็อยยิม ในหนังสืออธิบายสุนนะห ซาดุลมะอาด (Zadul ma-ad) เลมที่ 5 ใน
บทการตัดสินของทานนบีมุฮัมหมัด ศ็อลฯ แกผูที่สารภาพทําการผิดประเวณี บทการตัดสิน
ของทานนบีมุฮัมหมัด ศ็อลฯ แกอัฮลุลกีตาบ29
ดวยบทบัญญัติอิสลาม
บทการตัดสินของทานนบีมุฮัมหมัด ศ็อลฯ แกผูที่สารภาพทําการผิดประเวณี อิบนุล
ก็อยยิม ไดอธิบายวา หญิงที่ผานการสมรสมาแลว (มุฮศอน) ถาหากเขาสารภาพทําการผิด
ประเวณี กอนที่จะทําการลงโทษ ตองสารภาพใหครบจํานวนสี่ครั้งดวยกัน เมื่อสารภาพไม
ครบสี่ครั้งเขาจะไมถูกลงโทษ (เพราะไมครบเงื่อนไข) การสารภาพจากผูซึ่งขาดสติ หรือ อยู
ในอาการมึนเมาจะไมเปนที่ยอมรับ การลงโทษผูที่ผานการสมรสแลว จะไมถูกลงโทษโบย
พรอมกับโทษปากอนหินจนตาย โดยที่ อิบนุลก็อยยิม อางเหตุผลวา ทานนบีมุฮัมหมัด ศ็อลฯ
ไมไดสั่งโบย มาอิซ และ อัลฆอมิดียะห อิบนุลก็อยยิม ยังไดอธิบายอีกวา การไมรูโทษจะไม
ไดรับการอนุโลม หากวาผูกระทําผิดประเวณีรูวา การทําการผิดประเวณีนั้นเปนสิ่งตองหาม
บทการตัดสินของทานนบีมุฮัมหมัด ศ็อลฯ แกอัฮลุลกีตาบ ดวยบทบัญญัติอิสลาม
อิบนุลก็อยยิม ไดอธิบายวา ตางศาสนิกที่อยูในการปกครองของรัฐอิสลาม เมื่อทําการผิด
ประเวณี ตองทําการลงโทษดวยบทบัญญัติอิสลาม หากวาพวกเขาฟองตอศาลอิสลาม
อิบนุลก็อยยิม ไดอธิบายคําปรารภของ อุมัร (เราะฏีฯ) ในหนังสือเรื่อง อิอฺลามุล มุวัก
กออีน (Ailamul muaqqa-ien an Rabbil Aalamin) เลมที่ 2 สาระสําคัญที่เกี่ยวของกับงานวิจัย
ครั้งนี้คือ เปาประสงคของการกําหนดโทษฮัดด30
ประเภทของบทลงโทษ โทษโบย เปา
ประสงคของการกําหนดโทษการผิดประเวณี อิบนุลก็อยยิม ไดอธิบายเปาประสงคของการ
29
อัฮลุลกีตาบ คือผูที่ศรัทธาตอศาสนานบีมูซาและอีซา และศรัทธาตอคัมภีรเตาเราะหและอินญีล
30
ฮัดด คือบทลงโทษที่ถูกกําหนดตายตัวจากอัลลอฮและนบีมูฮําหมัด ศ็อลฯ โดยที่ศาล ผูพิพากษา หรือผูปกครอง
รัฐไมสามารถเพิ่มหรือลดหยอนโทษได
13
กําหนดโทษฮัดด วา อัลลอฮไดกําหนดแนวทางที่จะปองกันมิใหกระทําความผิด ซึ่งเปนจุดมุง
หมายของการกําหนดบทลงโทษ ในเรื่องประเภทของบท ลงโทษ อิบนุลก็อยยิม ไดอธิบายวา
เมื่อความรุนแรงและความฉกรรจ ของความผิด มีความแตกตางกัน จึงจําเปนตองมีความ
แตกตางในเรื่องบทลงโทษดวย ถาจะปลอยใหมนุษย พิจารณาโทษเหลานั้น มนุษยไม
สามารถที่จะตกลงในเรื่องความเหมาะสมของโทษกับความผิดได ดวยเหตุนั้นอัลลอฮไดแบง
บทลงโทษเปน หกประเภทดวยกัน คือ ประหารชีวิต ตัดอวัยวะ โบย เนรเทศ ปรับ และโทษ
ตามดุลพินิจของศาล (ตะอฺซีร) อิบนุลก็อยยิม ไดอธิบายเปาประสงคของการบัญญัติโทษ
โบยแกผูที่ทําการผิดประเวณี ที่ยังไมเคยผานการสมรสวา อันเนื่องจากการเสพสุขจากการ
รวมประเวณีนั้น ครอบคลุมทั่วเรือนรางของรางกาย การลิ้มรสความเจ็บปวดทั่วเรือนรางจาก
การโบยนั้นจึงสมควรแกผูกระทําผิดนั้น สวนการบัญญัติโทษ ประหารดวยวิธีการปากอนหิน
จนตายแกผูที่เคยสมรสมากอนนั้น เพราะเขาเหลานั้นเคยลิ้มรสสวาทจากการรวมประเวณี
จากการสมรสที่ถูกตองมาแลวนั่นเปนการเพียงพอที่จะหยุดยั้ง ตัวเองมิใหกระทําความชั่วนี้
ได
2.เอกสารที่เกี่ยวของกับการทําการผิดประเวณีและการขมขืนกระทําชําเราใน
กฎหมายอาญาไทย
ประมวลกฎหมายอาญาฉบับป พ.ศ. 2499 มีสาระสําคัญที่เกี่ยวของกับงานวิจัยครั้ง
นี้คือ ลักษณะ 9 ความผิดเกี่ยวกับเพศ มาตรา 276 มาตรา 277 มาตรา 277 ทวิ มาตรา 277
ตรี มาตรา 281 และมาตรา 285
มาตรา 276 วรรคแรก เปนบทบัญญัติทั่วไปของการทําการผิดประเวณีและโทษของ
ความผิด วรรคสองกลาวถึงการเพิ่มโทษใหหนักขึ้นจากการทําความผิดในวรรคแรก
มาตรา 277 วรรคแรก เปนบทบัญญัติการทําการผิดประเวณีเด็กหญิงอายุยังไมเกิน
15 ปและโทษของความผิดในวรรคแรก วรรคสอง เปนบทบัญญัติการทําการผิดประเวณีกับ
เด็กหญิงอายุยังไมเกิน 15 ป ซึ่งจะตองลงโทษหนักขึ้น วรรคสาม กลาวถึงการเพิ่มโทษให
หนักขึ้นจากการกระทําผิดในวรรคแรกและวรรคสอง และวรรคสี่กลาวถึงเงื่อนไขการยอม
ความในความผิดฐานการทําการผิดประเวณี
มาตรา 277ทวิ กลาวถึงสาเหตุที่ทําใหผูกระทําผิดไดรับโทษหนักขึ้น
มาตรา 277ตรี กลาวถึงสาเหตุที่ทําใหผูกระทําผิดไดรับโทษประหารชีวิต
มาตรา 281 กลาวถึงการยอมความในความผิดฐานการทําการผิดประเวณี
14
มาตรา 285 เปนบทบัญญัติที่กลาวถึงเงื่อนไขและสาเหตุที่ผูกระทําผิดตองรับโทษ
หนักกวาที่บัญญัติในมาตราตางๆหนึ่งในสามของบทลงโทษที่บัญญัติไว
สาขาวิชานิติศาสตร. มสธ. 2526. ไดแบงความผิดฐานขมขืนกระทําชําเราเปนสอง
ประเภท คือขมขืนกระทําชําเราหญิง และขมขืนกระทําชําเราเด็กหญิงซึ่งในแตละประเภทมี
รายละเอียด องคประกอบของความผิด และโทษตางกัน
หนังสือเลมนี้ไดอธิบายองคประกอบความผิดฐานขมขืนกระทําชําเราหญิงวามีสอง
องคประกอบคือ องคประกอบภายนอกและองคประกอบภายใน องคประกอบภายนอกคือ
ขมขืนกระทําชําเราหญิงซึ่งไมใชภรรยาตน และโดยขูเข็ญดวยประการใดๆ หรือใชกําลัง
ประทุษรายหรือหญิงอยูในภาวะที่ไมสามารถขัดขืนได หรือทําใหหญิงเขาใจผิดวาเขาคือ
บุคคลอื่น และองคประกอบภายในคือความเจตนาโดยไดอธิบายแตละองคประกอบอยาง
ละเอียด และไดอธิบายสาเหตุที่ตองรับโทษหนักขึ้นวา การเพิ่มโทษใหหนักขึ้นในความผิด
ฐานขมขืนกระทําชําเรานั้นตองพิจารณาจากขอเท็จจริงที่ปรากฏโดยผูกระทําจะตองรูขอเท็จ
จริงนั้น ผลที่เกิดขึ้นจะตองเปนผลโดยตรงซึ่งธรรมดายอมเกิดขึ้นได และไดอธิบายมาตรา
281 วาหลักเกณฑในการยอมความตามมาตรานี้คือ
1. กระทําความผิดตามมาตรา 276 หรือ มาตรา 278 (มาตรานี้ไมเกี่ยวของกับงาน
วิจัยครั้งนี้)
2. ความผิดไมเกิดขึ้นตอหนาธารกํานัล
3. ไมเปนสาเหตุใหผูถูกกระทําไดรับอันตรายสาหัสหรือถึงแกความตาย
4. มิไดเกิดขึ้นโดยรวมกระทําความผิดดวยกันอันมีลักษณะเปนการโทรมหญิง
5. มิไดเปนการกระทําแกบุคคลดังระบุไวในมาตรา 285
หยุด แสงอุทัย. 2544. ไดกลาวในหนังสือกฎหมายอาญา 1 วา เพื่อที่จะทราบวา การ
กระทําเปนความผิดทางอาญาหรือไม เราอาจพิจารณาดังตอไปนี้
1.จะตองไดมีการกระทําตามความหมายของกฎหมาย
2.ในกรณีที่กฎหมายกําหนดวา การกระทําจะเปนความผิดสําเร็จตองเกิดผล
จากการกระทํานั้นๆก็ตองมีความสัมพันธระหวางการกระทําและผล
3.การกระทําเทาที่แสดงออกมาภายนอก มีกฎหมายบัญญัติวาเปนความผิด
15
4.ผูกระทําไดกระทําดวยเจตนาหรือประมาท
ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ. 2540. ในหนังสือเรื่อง ”กฎหมายอาญา หลักและปญหา”
สาระสําคัญที่เกี่ยวของกับงานวิจัยครั้งนี้คือ บทที่3 การกระทําในกฎหมายอาญา บทที่4
เจตนาในกฎหมายอาญา บทที่12 เหตุที่เกี่ยวกับความสามารถในการกระทําผิด และบทที่14
โทษ
บทที่3 การกระทําในกฎหมายอาญา ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐไดอธิบายการกระทําที่ผู
กระทําตองรับผิดวา เปนการเคลื่อนไหวของรางกาย หรือกลามเนื้อภายใตจิตใจบังคับ
(willed movement) และการกระทําในกฎหมายอาญานี้ยังรวมถึงการงดเวนหนาที่ดวย ดวย
เหตุนั้นการกระทําทางอาญานี้จึงประกอบดวยกระบวนการตอไปนี้ คือ มีการคิด มีการตกลง
ใจ และมีการเคลื่อนไหวรางกายตามที่ตกลงใจนั้น
บทที่4 เจตนาในกฎหมายอาญา ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ ไดอธิบายเจตนาตามมาตรา
59 วาเปนเพียงเจตนากระทําความผิด (criminal intention) ซึ่งไมใชเจตนาชั่วราย (mens rea
or vicion will) เพราะเจตนากระทําความผิดนั้นเปนความไมดีอยูในตัวอยูแลว ดวยเหตุนั้น
ความเจตนาตามมาตรานี้ประกอบดวยการกระทําโดยรูสํานึกและในขณะเดียวกันผูกระทํา
ประสงคตอผลหรือยอมเล็งเห็นผลการกระทํานั้น
บทที่12 เหตุเกี่ยวกับความสามารถในการกระทํา ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ ไดอธิบายวา
มีบุคคลสามประเภทที่ไมสามารถในการกระทําผิดหรือไมเจตนาที่จะกระทําหรือไมสามารถ
บังคับตัวเองได ไดแก
1. การกระทําของเด็ก
2. การกระทําของคนวิกลจริต
3. การกระทําเพราะมึนเมา
บทที่14 โทษ ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ ไดอธิบายถึงลักษณะของโทษอาญา ความ
ประสงคของการลงโทษ และประเภทของโทษอาญาวา
ลักษณะของโทษอาญามีดังนี้
1.โทษตองลงแกผูกระทําเนื่องจากมีการกระทําความผิดตามกฎหมาย
2.โทษตองเปนไปโดยเสมอภาค
3.โทษตองบังคับใชโดยรัฐ
4.โทษตองเปนผลราย (pain) แกผูกระทํา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา

More Related Content

Viewers also liked

القدر وما ورد في ذلك من الآثار
القدر وما ورد في ذلك من الآثارالقدر وما ورد في ذلك من الآثار
القدر وما ورد في ذلك من الآثارOm Muktar
 
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوانالتاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوانOm Muktar
 
الرد على الزنادقة والجهمية فيما شكت فيه من متشابه القرآن وتأولته على غير تأويله
الرد على الزنادقة والجهمية فيما شكت فيه من متشابه القرآن وتأولته على غير تأويلهالرد على الزنادقة والجهمية فيما شكت فيه من متشابه القرآن وتأولته على غير تأويله
الرد على الزنادقة والجهمية فيما شكت فيه من متشابه القرآن وتأولته على غير تأويلهOm Muktar
 
Islam Came to Protect Society from Criminals and not to Protect Criminals at ...
Islam Came to Protect Society from Criminals and not to Protect Criminals at ...Islam Came to Protect Society from Criminals and not to Protect Criminals at ...
Islam Came to Protect Society from Criminals and not to Protect Criminals at ...Om Muktar
 
The Ruling on Abandoning the Prayer
The Ruling on Abandoning the PrayerThe Ruling on Abandoning the Prayer
The Ruling on Abandoning the PrayerOm Muktar
 
شرح رسالة العبودية
شرح رسالة العبوديةشرح رسالة العبودية
شرح رسالة العبوديةOm Muktar
 
منازل الأئمة الأربعة أبي حنيفة ومالك والشافعي وأحمد
منازل الأئمة الأربعة أبي حنيفة ومالك والشافعي وأحمدمنازل الأئمة الأربعة أبي حنيفة ومالك والشافعي وأحمد
منازل الأئمة الأربعة أبي حنيفة ومالك والشافعي وأحمدOm Muktar
 
الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلم
الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلمالردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلم
الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلمOm Muktar
 
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)Om Muktar
 
إجماع السلف في الاعتقاد كما حكاه الإمام حرب بن إسماعيل الكرماني
إجماع السلف في الاعتقاد كما حكاه الإمام حرب بن إسماعيل الكرمانيإجماع السلف في الاعتقاد كما حكاه الإمام حرب بن إسماعيل الكرماني
إجماع السلف في الاعتقاد كما حكاه الإمام حرب بن إسماعيل الكرمانيOm Muktar
 
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...Om Muktar
 
The Kharijites : Historical Roots of the Ideology of the Muslim Brotherhood, ...
The Kharijites : Historical Roots of the Ideology of the Muslim Brotherhood, ...The Kharijites : Historical Roots of the Ideology of the Muslim Brotherhood, ...
The Kharijites : Historical Roots of the Ideology of the Muslim Brotherhood, ...Om Muktar
 
أشراط الساعة
أشراط الساعةأشراط الساعة
أشراط الساعةOm Muktar
 
عائشة أم المؤمنين موسوعة علمية عن : حياتها ، وفضلها ، ومكانتها العلمية وعلاقت...
عائشة أم المؤمنين موسوعة علمية عن : حياتها ، وفضلها ، ومكانتها العلمية وعلاقت...عائشة أم المؤمنين موسوعة علمية عن : حياتها ، وفضلها ، ومكانتها العلمية وعلاقت...
عائشة أم المؤمنين موسوعة علمية عن : حياتها ، وفضلها ، ومكانتها العلمية وعلاقت...Om Muktar
 
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدةالإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدةOm Muktar
 
الإعلام بكيفية تنصيب الإمام في الإسلام ويليه مجموعة من الأسئلة المهمة حول الم...
الإعلام بكيفية تنصيب الإمام في الإسلام ويليه مجموعة من الأسئلة المهمة حول الم...الإعلام بكيفية تنصيب الإمام في الإسلام ويليه مجموعة من الأسئلة المهمة حول الم...
الإعلام بكيفية تنصيب الإمام في الإسلام ويليه مجموعة من الأسئلة المهمة حول الم...Om Muktar
 
موقف الشيعة الاثني عشرية من الأئمة الأربعة
موقف الشيعة الاثني عشرية من الأئمة الأربعةموقف الشيعة الاثني عشرية من الأئمة الأربعة
موقف الشيعة الاثني عشرية من الأئمة الأربعةOm Muktar
 
التحذير من الإرجاء وبعض الكتب الداعية إليه
التحذير من الإرجاء وبعض الكتب الداعية إليهالتحذير من الإرجاء وبعض الكتب الداعية إليه
التحذير من الإرجاء وبعض الكتب الداعية إليهOm Muktar
 
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلاميةOm Muktar
 
إسكات الكلب العاوي يوسف بن عبدالله القرضاوي
إسكات الكلب العاوي يوسف بن عبدالله القرضاويإسكات الكلب العاوي يوسف بن عبدالله القرضاوي
إسكات الكلب العاوي يوسف بن عبدالله القرضاويOm Muktar
 

Viewers also liked (20)

القدر وما ورد في ذلك من الآثار
القدر وما ورد في ذلك من الآثارالقدر وما ورد في ذلك من الآثار
القدر وما ورد في ذلك من الآثار
 
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوانالتاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
 
الرد على الزنادقة والجهمية فيما شكت فيه من متشابه القرآن وتأولته على غير تأويله
الرد على الزنادقة والجهمية فيما شكت فيه من متشابه القرآن وتأولته على غير تأويلهالرد على الزنادقة والجهمية فيما شكت فيه من متشابه القرآن وتأولته على غير تأويله
الرد على الزنادقة والجهمية فيما شكت فيه من متشابه القرآن وتأولته على غير تأويله
 
Islam Came to Protect Society from Criminals and not to Protect Criminals at ...
Islam Came to Protect Society from Criminals and not to Protect Criminals at ...Islam Came to Protect Society from Criminals and not to Protect Criminals at ...
Islam Came to Protect Society from Criminals and not to Protect Criminals at ...
 
The Ruling on Abandoning the Prayer
The Ruling on Abandoning the PrayerThe Ruling on Abandoning the Prayer
The Ruling on Abandoning the Prayer
 
شرح رسالة العبودية
شرح رسالة العبوديةشرح رسالة العبودية
شرح رسالة العبودية
 
منازل الأئمة الأربعة أبي حنيفة ومالك والشافعي وأحمد
منازل الأئمة الأربعة أبي حنيفة ومالك والشافعي وأحمدمنازل الأئمة الأربعة أبي حنيفة ومالك والشافعي وأحمد
منازل الأئمة الأربعة أبي حنيفة ومالك والشافعي وأحمد
 
الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلم
الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلمالردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلم
الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلم
 
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
 
إجماع السلف في الاعتقاد كما حكاه الإمام حرب بن إسماعيل الكرماني
إجماع السلف في الاعتقاد كما حكاه الإمام حرب بن إسماعيل الكرمانيإجماع السلف في الاعتقاد كما حكاه الإمام حرب بن إسماعيل الكرماني
إجماع السلف في الاعتقاد كما حكاه الإمام حرب بن إسماعيل الكرماني
 
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
 
The Kharijites : Historical Roots of the Ideology of the Muslim Brotherhood, ...
The Kharijites : Historical Roots of the Ideology of the Muslim Brotherhood, ...The Kharijites : Historical Roots of the Ideology of the Muslim Brotherhood, ...
The Kharijites : Historical Roots of the Ideology of the Muslim Brotherhood, ...
 
أشراط الساعة
أشراط الساعةأشراط الساعة
أشراط الساعة
 
عائشة أم المؤمنين موسوعة علمية عن : حياتها ، وفضلها ، ومكانتها العلمية وعلاقت...
عائشة أم المؤمنين موسوعة علمية عن : حياتها ، وفضلها ، ومكانتها العلمية وعلاقت...عائشة أم المؤمنين موسوعة علمية عن : حياتها ، وفضلها ، ومكانتها العلمية وعلاقت...
عائشة أم المؤمنين موسوعة علمية عن : حياتها ، وفضلها ، ومكانتها العلمية وعلاقت...
 
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدةالإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
 
الإعلام بكيفية تنصيب الإمام في الإسلام ويليه مجموعة من الأسئلة المهمة حول الم...
الإعلام بكيفية تنصيب الإمام في الإسلام ويليه مجموعة من الأسئلة المهمة حول الم...الإعلام بكيفية تنصيب الإمام في الإسلام ويليه مجموعة من الأسئلة المهمة حول الم...
الإعلام بكيفية تنصيب الإمام في الإسلام ويليه مجموعة من الأسئلة المهمة حول الم...
 
موقف الشيعة الاثني عشرية من الأئمة الأربعة
موقف الشيعة الاثني عشرية من الأئمة الأربعةموقف الشيعة الاثني عشرية من الأئمة الأربعة
موقف الشيعة الاثني عشرية من الأئمة الأربعة
 
التحذير من الإرجاء وبعض الكتب الداعية إليه
التحذير من الإرجاء وبعض الكتب الداعية إليهالتحذير من الإرجاء وبعض الكتب الداعية إليه
التحذير من الإرجاء وبعض الكتب الداعية إليه
 
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
 
إسكات الكلب العاوي يوسف بن عبدالله القرضاوي
إسكات الكلب العاوي يوسف بن عبدالله القرضاويإسكات الكلب العاوي يوسف بن عبدالله القرضاوي
إسكات الكلب العاوي يوسف بن عبدالله القرضاوي
 

More from Om Muktar

بلوغ المنى في حكم الاستمنى
بلوغ المنى في حكم الاستمنىبلوغ المنى في حكم الاستمنى
بلوغ المنى في حكم الاستمنىOm Muktar
 
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่Om Muktar
 
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...Om Muktar
 
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)Om Muktar
 
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبيةأمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبيةOm Muktar
 
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمةOm Muktar
 
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذيعقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذيOm Muktar
 
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطيالأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطيOm Muktar
 
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقديةالإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقديةOm Muktar
 
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقدمنهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقدOm Muktar
 
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويممنهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويمOm Muktar
 
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباريمنهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباريOm Muktar
 
موقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشرية
موقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشريةموقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشرية
موقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشريةOm Muktar
 
منهج الشيخ محمد رشيد رضا في العقيدة
منهج الشيخ محمد رشيد رضا في العقيدةمنهج الشيخ محمد رشيد رضا في العقيدة
منهج الشيخ محمد رشيد رضا في العقيدةOm Muktar
 
القطوف الدواني في شرح نونية القحطاني
القطوف الدواني في شرح نونية القحطانيالقطوف الدواني في شرح نونية القحطاني
القطوف الدواني في شرح نونية القحطانيOm Muktar
 
ذم الأشاعرة والمتكلمين والفلاسفة لأحمد بن الصديق الغماري
ذم الأشاعرة والمتكلمين والفلاسفة لأحمد بن الصديق الغماريذم الأشاعرة والمتكلمين والفلاسفة لأحمد بن الصديق الغماري
ذم الأشاعرة والمتكلمين والفلاسفة لأحمد بن الصديق الغماريOm Muktar
 

More from Om Muktar (16)

بلوغ المنى في حكم الاستمنى
بلوغ المنى في حكم الاستمنىبلوغ المنى في حكم الاستمنى
بلوغ المنى في حكم الاستمنى
 
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
 
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
 
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
 
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبيةأمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
 
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
 
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذيعقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
 
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطيالأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
 
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقديةالإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
 
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقدمنهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
 
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويممنهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
 
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباريمنهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
 
موقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشرية
موقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشريةموقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشرية
موقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشرية
 
منهج الشيخ محمد رشيد رضا في العقيدة
منهج الشيخ محمد رشيد رضا في العقيدةمنهج الشيخ محمد رشيد رضا في العقيدة
منهج الشيخ محمد رشيد رضا في العقيدة
 
القطوف الدواني في شرح نونية القحطاني
القطوف الدواني في شرح نونية القحطانيالقطوف الدواني في شرح نونية القحطاني
القطوف الدواني في شرح نونية القحطاني
 
ذم الأشاعرة والمتكلمين والفلاسفة لأحمد بن الصديق الغماري
ذم الأشاعرة والمتكلمين والفلاسفة لأحمد بن الصديق الغماريذم الأشاعرة والمتكلمين والفلاسفة لأحمد بن الصديق الغماري
ذم الأشاعرة والمتكلمين والفلاسفة لأحمد بن الصديق الغماري
 

ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา

  • 1. (2) ความผิดฐานขมขืนกระทําชําเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหวางกฎหมายอาญาอิสลามกับประมวล กฎหมายอาญาไทย A Comparative Study of the Rape in Islamic Criminal Law and Thai Criminal Law อัซมัน แตเปาะ Azman Taepoh วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร Master of Art Thesis in Islamic Studies Prince of Songkla University 2547
  • 2. (2) ชื่อวิทยานิพนธ ความผิดฐานขมขืนกระทําชําเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหวาง กฎหมายอาญาอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญาไทย ผูเขียน นายอัซมัน แตเปาะ สาขาวิชา อิสลามศึกษา _____________________________________________________________________________ คณะกรรมการที่ปรึกษา คณะกรรมการสอบ ....................................ประธานกรรมการ ...................................ประธานกรรมการ (ผูชวยศาสตราจารย ดร.อิสมาแอ อาลี) (ผูชวยศาสตราจารย ดร.อิสมาแอ อาลี) .................................................กรรมการ ................................................. กรรมการ (อาจารยรอฮีม นิยมเดชา) (อาจารยรอฮีม นิยมเดชา) .................................................กรรมการ (อาจารยมุฮําหมัดซากี เจะหะ) .................................................กรรมการ (อาจารยอนุกูล อาแวปูเตะ) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร อนุมัติใหนับวิทยานิพนธฉบับนี้เปนสวน หนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอิสลามศึกษา ............................................................ (รองศาสตราจารย ดร.สุรพล อารียกุล) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
  • 3. 1 ประวัติผูเขียน ชื่อ – สกุล นายอัซมัน แตเปาะ วันเดือนปเกิด 8 มิถุนายน 2517 วุฒิการศึกษา วุฒิ ชื่อสถาบัน ปที่สําเร็จการศึกษา B.A. al-Azhar University Egypt 1999 ทุนการศึกษา - ทุนการศึกษาจากมหาวิทยาลัย al-Azhar ประเทศอียิป - ทุนอุดหนุนวิจัยเพื่อวิทยานิพนธจากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร ตําแหนงและสถานที่ทํางาน - วิทยากรอิสลามศึกษาโรงเรียนชุมชนบานบางเกา ต.บางเกา อ.สายบุรี จ.ปตตานี
  • 4. 3 (2) ชื่อวิทยานิพนธ ความผิดฐานขมขืนกระทําชําเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหวาง กฎหมายอาญาอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญาไทย ผูเขียน นาย อัซมัน แตเปาะ สาขาวิชา อิสลามศึกษา ปการศึกษา 2547 บทคัดยอ วิทยานิพนธฉบับนี้มีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาเปรียบเทียบความผิดฐานขมขืนกระทําชําเรา ระหวางกฎหมายอาญาอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญาไทย ผูวิจัยใชวิธีการวิจัยเอกสาร ศึกษา เฉพาะสารบัญญัติของความผิด โดยเนนรายละเอียดเกี่ยวกับองคประกอบและโทษของความผิด ทั้งนี้เพื่อนํามาวิเคราะหเปรียบเทียบใหเห็นถึงลักษณะความเหมือนและความแตกตางขององค ประกอบและโทษของความผิดระหวางทั้งสองกฎหมาย ผลการวิจัยพบวา ความผิดฐานขมขืนกระทําชําเราในกฎหมายอาญาอิสลามและประมวล กฎหมายอาญาไทย มีบางองคประกอบของความผิดเหมือนกันและบางองคประกอบแตกตางกัน สวนที่เหมือนกันไดแก การกระทําชําเรา สถานะของหญิงผูถูกกระทําและองคประกอบภายในซึ่ง หมายถึงความเจตนา สวนองคประกอบที่แตกตางกันคือการขมขืน โดยที่กฎหมายอาญาอิสลาม ไมถือวาการขมขืนเปนองคประกอบของความผิดเพราะอิสลามถือวาผูกระทํามีความผิดถึงแมวา กระทําโดยไดรับความยินยอมจากฝายหญิงผูถูกกระทํา ซึ่งแตกตางจากประมวลกฎหมายอาญาที่ ถือวา การขมขืนเปนองคประกอบสําคัญที่จะพิจารณาการกระทําวาเปนความผิดหรือไม และเชน กันในสวนของโทษของความผิดซึ่งมีบางสวนเหมือนกันและบางสวนแตกตางกัน สวนที่เหมือน กันไดแกจุดมุงหมายของการลงโทษและที่แตกตางกัน ไดแก บทลงโทษและเหตุที่ทําใหตองรับ โทษหนักขึ้น
  • 5. 4 (2) Thesis Title A Comparative Study of the Rape in Islamic Criminal Law and Thai Criminal Law Author Mr. Azman Taepoh Major Program Islamic Studies Academic Year 2004 Abstract This thesis aims to comparative study the conviction of crime with respect to rape between Islamic criminal law and Thai criminal law. The research is based on a documentary study specific substations of crime by emphasizing on giving detail of law element and punishment of crime in order to comparatively analyze and differentiate the similarity and dissimilarity of element and punishment between the two. The result of the research found that the guilty of rape under Islamic criminal law and Thai criminal law has some similarities and dissimilarities in the element of crime. The similarity is the act of sexual harassment, condition of rape woman and intention (of the convict), whereas the dissimilarity is that sexual intercourse even with woman’s consent is guilty under Islamic criminal law but not guilty under Thai criminal law. This is because Islam forbids illegitimate sexual intercourse between unmarried couple. Under Thai criminal law, the act of rape constitutes an important factor for the conviction of crime. The similarity and dissimilarity are also found in the punishment of convict. The similarity is an objective of the punishment whereas the dissimilarity the act and reason for increasing punishment.
  • 6. 5 (2) กิตติกรรมประกาศ มวลการสรรเสริญเปนสิทธิแหงอัลลอฮ ผูทรงเมตตาปราณียิ่งที่ทรงอนุมัติใหการศึกษาวิจัย ครั้งนี้สําเร็จอยางดี ขอความสันติสุขจงมีแตทานนบีมุฮัมหมัด ศ็อลฯ ผูที่พระองคทรงเลือกใหเปน ศาสดาทานสุดทายแหงอิสลาม ผูวิจัยขอขอบคุณพรอมประกาศเกียรติคุณใหกับคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธทุก ทาน ซึ่งนําโดย ผูชวยศาสตราจารย ดร.อิสมาแอ อาลี ประธานกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธที่ คอยเฝาติดตามกระบวนการเปนไปของการวิจัยนี้ทุกระยะและที่ยอมสละเวลาทุกเมื่อในการใหคํา ปรึกษาแกผูวิจัยโดยไมจําเปนตองนัดหมายลวงหนา อาจารยรอฮีม นิยมเดชา กรรมการที่ ปรึกษาวิทยานิพนธที่กรุณาตรวจสอบวิทยานิพนธและใหคําแนะนํา ขอขอบคุณผูชวยศาสตราจารย ดร.อับดุลเลาะห หนุมสุข ดร. วรรณา แผนมุนิน อาจารยนิรามาน สุไลมาน อาจารยสมเจตน นาคเสวี คณาจารยและบุคลากรวิทยาลัยอิสลาม ศึกษาทุกทานที่ใหคําปรึกษาและคําแนะนํา อํานวยความสะดวกเกี่ยวกับเอกสารและการติดตอธุร การตลอดจนแสดงอัธยาศัยเปนอยางดี ขอขอบคุณอาจารยนิรัญฎา หะมะ ที่กรุณาเสียสละเวลาขัดเกลาสํานวนภาษาและตรวจ สอบภาษาไทยใหถูกตองและดียิ่งขึ้น ขอขอบคุณ คุณพอเจะยิ แตเปาะ คุณแมแมะนะ อาแว คุณรูสลาดิง แตเปาะ คุณยัยนุน แตเปาะ พี่ชายและพี่สาว ที่คอยปูทางสูความสําเร็จในการเปนมหาบัณฑิตของผูวิจัยดวยแรงทรัพย และแรงกาย ขอขอบคุณ คุณนูรีดา บูละ ที่คอยสนับสนุนใหกําลังใจเสมอมา คุณอับดุลมาเล็ก อาบู ที่ คอยเปนธุระทางการเงินตลอดระยะเวลาของการศึกษา และขอขอบคุณทุกทานที่มีสวนกับความ สําเร็จการศึกษาระดับมหาบัณฑิตของผูวิจัยทั้งที่เอยนามและมิไดเอยนาม ในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดรับทุนอุดหนุนจํานวนหนึ่ง จากบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี จึงขอขอบคุณ ณ โอกาสนี้ดวย สําหรับคุณงามความดีของงานวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยขอมอบแด บิดา มารดา ผูบังเกิดเกลาที่คอย ใหความรัก ความอบอุนตลอดเวลาของการใชชีวิต และขอใหอัลลอฮ ทรงพิจารณารับคุณคาความ ดีทั้งหลายของวิทยานิพนธฉบับนี้ใหเปนกุศลแดทั้งสองยามทั้งสองจากไปจากโลกนี้ อัซมัน แตเปาะ
  • 7. 6 (2) สารบัญ หนา บทคัดยอ.......................................................................................................................................(3) Abstract........................................................................................................................................(4) กิตติกรรมประกาศ........................................................................................................................(5) สารบัญ.........................................................................................................................................(6) บทที่ 1 บทนํา.........................................................................................................................................1 ความสําคัญและที่มาของการศึกษา..................................................................................1 วัตถุประสงคของการวิจัย ................................................................................................6 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากการวิจัย ..........................................................................6 นิยามศัพทเฉพาะ .............................................................................................................7 สมมุติฐานของการศึกษา .................................................................................................8 ขอตกลงเบื้องตน .............................................................................................................8 ขอบเขตของการวิจัย ........................................................................................................8 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ .......................................................................................9 เอกสารที่เกี่ยวของกับการผิดประเวณีในกฎหมายอาญาอิสลาม ...........................9 เอกสารที่เกี่ยวของกับการผิดประเวณีและการขมขืน ในกฎหมายอาญาไทย .....13 ระเบียบวิธีการวิจัย.........................................................................................................16 การดําเนินการวิจัย...............................................................................................16 การวิเคราะหขอมูลและหลักการของการเปรียบเทียบ .........................................18 การสรุปขอมูล.....................................................................................................18 2 ความผิดฐานขมขืนกระทําชําเราในกฎหมายอาญาอิสลาม .....................................................19 ความหมายของการผิดประเวณี .....................................................................................19 ความหมายของการผิดประเวณีในเชิงภาษา ........................................................19 ความหมายของการผิดประเวณีในเชิงวิชาการ ....................................................20
  • 8. 7 (2) สารบัญ(ตอ) บทที่ หนา ขอกําหนด (หุกม) ของการผิดประเวณี ..........................................................................22 1.หลักฐานจากอัลกรุอาน.....................................................................................22 2.หลักฐานจากอัสสุนนะห ..................................................................................23 3.อิจญมาอ ...........................................................................................................24 เปาประสงคของการหามการผิดประเวณี ......................................................................24 1.เพื่อรักษาทายาทสืบสกุล ..................................................................................25 2.เพื่อรักษาจริยธรรมอันดีงาม .............................................................................25 3.เพื่อรักษาสุขภาพ ..............................................................................................26 4.เพื่อรักษาทรัพยสมบัติและเงินทอง ..................................................................26 องคประกอบการผิดประเวณี .........................................................................................27 1.การกระทําการรวมประเวณี .............................................................................27 2.มีเจตนา ............................................................................................................31 โทษของการทําการผิดประเวณี .....................................................................................32 ความหมายคําวา โทษ .........................................................................................32 แนวคิดและขอกําหนดของการลงโทษ ...............................................................33 เหตุที่การลงโทษเปนวาญิบ ................................................................................35 โทษการผิดประเวณี ............................................................................................36 หลักฐานจากอัลกุรอาน .......................................................................................36 หลักฐานจากอัสสุนนะห .....................................................................................36 ผูที่ไมเคยผานการสมรส .....................................................................................39 ผูที่เคยผานการสมรส ..........................................................................................41 3 ความผิดฐานขมขืนกระทําชําเราในประมวลกฎหมายอาญาไทย .............................................44 วิวัฒนาการกฎหมายอาญาไทยวาดวยการขมขืนกระทําชําเรา .......................................44 การขมขืนกระทําชําเราในกฎหมายผัวเมียในกฎหมายตราสามดวง ..............................44 การขมขืนการะทําชําเราตามพระราชกําหนดลักษณะขมขืนลวงประเวณี ร.ศ. 118 …...46 การขมขืนกระทําชําเราในกฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ.127 ……………………………48
  • 9. 8 (2) สารบัญ(ตอ) บทที่ หนา การขมขืนการะทําชําเราตามประมวลอาญาปจจุบัน ......................................................51 ความหมายการขมขืนกระทําชําเรา .....................................................................51 ตัวการ .................................................................................................................53 ขมขืน .................................................................................................................54 กระทําชําเรา ........................................................................................................58 หญิงซึ่งมิใชภริยาตน ...........................................................................................59 องคประกอบภายใน ............................................................................................61 บทลงโทษ ...........................................................................................................63 จุดประสงคของการลงโทษ .................................................................................63 โทษของความผิดฐานขมขืนการะทําชําเรา ..........................................................64 เหตุที่ตองรับโทษหนักขึ้น ...................................................................................64 เหตุที่ทําใหผูกระทําพนผิด ..................................................................................69 การยอมความ ......................................................................................................70 4 บทวิเคราะหเปรียบเทียบความผิดฐานขมขืนกระทําชําเราระหวาง- กฎหมายอาญาอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญา .................................................................71 1.องคประกอบของความผิด .......................................................................................71 1.1 ความเหมือน .................................................................................................71 1.2 ความแตกตาง ................................................................................................73 2.โทษของความผิด .....................................................................................................74 1.1 ความเหมือน .................................................................................................74 1.2 ความแตกตาง ................................................................................................75 5 บทสรุปและขอเสนอแนะ ........................................................................................................78 บทสรุป .......................................................................................................................78 ขอเสนอแนะ ..............................................................................................................80
  • 11. 1 บทที่ 1 บทนํา ความสําคัญและที่มาของการศึกษา ความผิดฐานขมขืนกระทําชําเราเปนความผิดที่เกิดขึ้นอยางมากมายในสังคม ปจจุบัน เปนปญหาอาชญากรรมที่นับวันจะมีเพิ่มขึ้นโดยลําดับ การขมขืนแลวฆา กับการ กระทําของพวกกามวิตถาร จะปรากฏเปนขาวทางหนาหนังสือพิมพเกือบทุกวัน จนทําใหมีผู เห็นวาปญหาอาชญากรรมดานนี้เหลือวิสัยที่จะแกไข และกฎหมายที่ใชอยูในปจจุบันก็ลา สมัยไมเพียงพอที่จะแกไขปญหาสังคมในขณะนี้1 การขมขืนกระทําชําเรามิใชปญหาที่เกิดขึ้นในประเทศที่ดอยพัฒนาหรือกําลังพัฒนา เทานั้น แตเปนปญหาที่เกิดขึ้นในทุกๆสังคมของแตละประเทศแมกระทั่งประเทศที่มีการ พัฒนาสูงแลวอยางสหรัฐอเมริกาและกลุมประเทศยุโรป ประเทศเหลานั้นมีสถิติคดีการขมขืน กระทําชําเราอยูสูงมากเชนเดียวกัน อิสลามถือวาการขมขืนกระทําชําเราเปนการกระทําที่ตองหาม เปนบาปใหญรองลง มาจากการตั้งภาคีตออัลลอฮและฆาคนตายโดยเจตนา การขมขืนกระทําชําเราเปนภัย คุกคามความสงบเรียบรอยของสังคม ภยันตรายที่เกิดขึ้นจากการขมขืนกระทําชําเราไมเพียง แตสงผลรายแกผูกระทําเทานั้น แตยังสงผลรายตอคนรอบขางและสังคมอีกดวย ดวยเหตุนี้ อิสลามจึงถือวาการขมขืนกระทําชําเรานั้นนอกจากเปนบาปใหญแลว ถือวาเปนความผิดทาง อาญาที่กฎหมายอิสลามไดกําหนดบทลงโทษอยางหนักอีกดวย อิสลามมิไดหามเฉพาะการขมขืนกระทําชําเราเทานั้น แมแตการมีเพศสัมพันธนอก สมรสดวยความสมัครใจก็ถือวาตองหามเชนเดียวกัน ทั้งนี้เพื่อปองกันไมใหเกิดความสับสน ในดานการสืบสกุล เพราะลูกที่เกิดมาจากการสําสอนนั้นจะนํามาซึ่งความสับสนของวงศ ทายาท การปองกันมิใหเกิดความสับสนทางดานวงศทายาทนั้นเปนจุดมุงหมายศาสนบัญญัติ (มะกอศิด ชัรอิยะห) อยางหนึ่ง ของบรรดาจุดมุงหมายศาสนบัญญัติทั้งหา2 1 ประสิทธิ์ พัฒนอมร, 2529 : 1 2 จุดมุงหมายศาสนบัญญัติหาประการนั้นไดแก 1. เพื่อปกปองศาสนา 2. เพื่อปกปองชีวิต 3. เพื่อปกปองสติปญญา 4. เพื่อปกปอ งวงคตระกูล 5. เพื่อปกปองทรัพยสิน
  • 12. 2 การยอมรับในศาสนาอิสลามไมเพียงแตนอมรับดวยจิตใจเพียงอยางเดียวเทานั้น หากแตตองรวมถึงการนําเอาบทบัญญัติอิสลามมาปฏิบัติดวยเชนกัน มุสลิมที่สมบูรณนั้นคือ มุสลิมที่ยอมรับเอาบทบัญญัติอิสลามมาเปนเอกลักษณประจําตัว โดยที่กิจวัตรประจําวัน ของเขาทุกอิริยาบถตองสอดคลองกับความประสงคของอัลลอฮ เพราะบทบัญญัติอิสลาม เปนบทบัญญัติของอัลลอฮผูอภิบาล ผูทรงสรางทุกสิ่งทุกอยาง ซึ่งมีความเที่ยงแทและเที่ยง ธรรมในตัวของมันเอง การปฏิบัติตัวตามบทบัญญัติอิสลามเปนสิ่งที่พึงประสงคอยางยิ่งของ มุสลิมทุกคน เพราะอัลลอฮไดตรัสในอัลกุรอานความวา “และผูใดมิไดตัดสินดวยสิ่งที่อัลลอฮ ประทานลงมา ชนเหลานี้แหละคือผูที่ปฏิเสธการศรัทธา”3 “และผูใดมิไดตัดสินดวยสิ่งที่ อัลลอฮประทานลงมา ชนเหลานี้แหละคือผูอธรรม”4 และอัลลอฮตรัสอีกความวา “ และผู ใดมิไดตัดสินดวยสิ่งที่อัลลอฮประทานลงมา ชนเหลานี้แหละคือผูละเมิด”5 6 อัลลอฮประทาน อัลกุรอานลงมาเพื่อมวลมนุษยทั้งหลาย เปนทางนําเพื่อจะนําพามวลมนุษยไปสูเสนทางที่ถูก ตอง กฎหมายรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดของประเทศฉันใด อัลกุรอานเปนกฎหมายสูง สุดของอิสลามฉันนั้น ยุคปจจุบันถือเปนยุคแหงความรุงโรจนและทันสมัย ความเจริญกาวหนาทางดาน วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีกาวล้ําไปอยางรวดเร็ว กาวล้ํากวาทุกๆยุคที่ผานมาและคาดวา จะพัฒนาตอไปเรื่อยๆอยางไมหยุดยั้ง แมกระนั้นก็ตามความเจริญกาวหนาทางดานวัตถุ อยางเดียวไมเพียงพอที่จะนําพาสังคมใหอยูเย็นเปนสุขได หากแตตองเอาคุณธรรมและศีล ธรรมอันดีงามมาพัฒนาภาวะจิตใจของมนุษยควบคูไปดวย ปญหาสังคมในปจจุบันเปนปญหาที่ตองมุงแกไขดวยหลักและวิธีการอันถูกตอง การ ขมขืนกระทําชําเราเปนปญหาหนึ่งที่แพรระบาดไปอยางรวดเร็ว และคาดวาจะยิ่งทวีความรุน แรงขึ้นไปเรื่อยๆ 3 อัลกุรอาน, 5 : 44 4 อัลกุรอาน, 5 : 45 5 อัลกุรอาน, 5 : 47 6 อิหมามอัลกุรฏบียกลาววา ผูใดมิไดตัดสินดวยสิ่งที่อัลลอฮประทานลงมานั้นหากวาเขาผูนั้นปฎิเสธวาสิ่งนั้นมาจากอัลลอฮและปฎิ เสธสุนนะหของทานนบี เขาผูนั้นเปนผูปฏิเสธศรัทธา และหากวาการไมไดตัดสินดวยสิ่งที่อัลลอฮประทานลงมานั้น แตไมไดปฏิเสธ วาสิ่งนั้นมาจากอัลลอฮและเปนสุนนะหของทานนบีมุฮัมหมัด ศอลฯ เขาผูนั้นเปนผูละเมิด (al-Qurtubie, 1987 : 6/190 )
  • 13. 3 ความบกพรองและความหละหลวมของตัวบทกฎหมาย เปนจุดออนประการหนึ่งที่ ทําให สังคมไมหมดสิ้นกับความชั่วรายตางๆ ความไมเด็ดขาดทางดานกฎหมายและบทลง โทษเปนชองวางอยางหนึ่งที่เปดโอกาสแกผูที่ตองการกระทําความชั่วหาชองวางมาตอบ สนองความชั่วของตน ความผิดเกี่ยวกับเพศตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 276 คือ การขมขืนกระทํา ชําเราหญิงโดยขูเข็ญ หรือใชกําลังประทุษราย หากมิไดเกิดตอหนาธารกํานัลเปนความผิดที่ ยอมความได ซึ่งบางครั้งทําใหผูกระทําผิดหลุดพนไมตองโทษดวยวิธีการอันชอบธรรมตาม กระบวนการทางกฎหมาย ทั้งๆที่เขาไดกระทําผิดและความผิดของเขานั้นเปนความผิดที่ราย แรงและเปนตนตอของปญหาสังคมดานตางๆดวย การกระทําชําเราหญิงที่มิใชภรรยาตนจะไมเปนความผิดตามประมวลกฎหมาย อาญามาตรา 276 หากการกระทําของเขานั้นเกิดจากความยินยอมสมัครใจจากฝายหญิง เพราะเปนสิทธิตามรัฐธรรมนูญที่ทุกคนสามารถทําอะไรกับตัวเองไดตราบใดที่ไมเกิดผลราย แกบุคคลอื่น ถึงแมวาการกระทําของเขาจะผิดกับหลักคุณธรรมก็ตาม แตในทางตรงกันขาม อิสลามถือวาการทําผิดประเวณีและการกระทําชําเราหญิงจะดวยสมัครใจหรือดวยการขูเข็ญ บังคับ เปนปญหาใหญที่จะกอใหเกิดปญหาอื่นๆอีกมากมาย พิษรายของการผิดประเวณีมิได สงผลเสียแกผูกระทําเทานั้น หากแตยังแผฤทธิ์รายแกสังคมอีกดวย7 ซึ่งก็เปนสาเหตุของ ปญหาสังคมอื่นๆอีกมากมาย ปญหาลูกเกิดมาไมมีพอ พี่แตงงานกับนอง พอแตงงานกับลูก ปญหาเด็กเรรอนขาดการศึกษาและปญหาอื่นๆอีกมากมายซึ่งสวนหนึ่งเกิดจากการผิด ประเวณี อิบนุลก็อยยิม8 กลาววา “การผิดประเวณีเปนบอเกิดของความเลวทรามทั้งหลาย”9 อิสลามมุงเนนที่จะปองกันมิใหเกิดปญหา กลาวคืออิสลามจะพยายามตัดตนตอของ ปญหาตางๆ ซึ่งก็สอดคลองกับสุภาษิตที่วา “กันดีกวาแก” อิสลามตระหนักถึงพิษรายของ การผิดประเวณีเปนอยางดี ดวยเหตุนี้อิสลามจึงไดหามการผิดประเวณีอยางเด็ดขาด ถาผูใด กระทําถือวาเปนความผิดที่จะตองรับโทษ ไมเพียงแคนั้นแตอิสลามยังไดหามการกระทําใดๆ ที่จะชักนําไปสูการผิดประเวณี การลูบคลํา การจูบ หรือแมกระทั้งการมองอยางมีตัณหา ลวนเปนสิ่งตองหามดังที่อัลลอฮไดตรัสในอัลกุรอานความวา “และพวกเจาอยาเขาใกลการ 7 เมาดูดีย, 2527 : 198 8 อิบนุลก็อยยิม คือ ชัมสุดดีน อบูอับดุลลอฮ มุฮัมหมัด อิบนุ อบีบักร มีชีวิตระหวางป ค.ศ. 1270-1302 ทานเปนนักทองหะดีษ นัก คิดและนักปรัชญา เปนผูเชี่ยวชาญในสาขาวิชาหลักการศาสนบัญญัติ และเปนศิษยของ อิบนุตัยมิยะห 9 Ibnul Qaiyim, 1997 : 358
  • 14. 4 ผิดประเวณีแทจริงมันเปนการลามกและเสนทางอันชั่วชา” 10 แตการทําผิดประเวณีไมถือวา เปนความผิดตามประมวลกฎหมายอาญาหากการกระทําเกิดจากความสมัครใจจากฝาย หญิง ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 276 บัญญัติไววา “ผูใดขมขืนกระทําชําเราหญิงซึ่งมิ ใชภรรยาตน โดยขูเข็ญดวยประการใดๆ โดยใชกําลังประทุษราย โดยหญิงอยูในภาวะที่ไม สามารถขัดขืนได หรือโดยทําใหหญิงเขาใจผิดวาตนเปนบุคคลอื่น ตองระวางโทษจําคุกตั้งแต สี่ปถึงยี่สิบป ปรับตั้งแตแปดพันบาทถึงสี่หมื่นบาท” คําวา ขมขืน หมายถึง การบังคับ ขืนใจ11 หรือการกระทําโดยไมสมัครใจยินยอม เพราะฉะนั้นการทําผิดประเวณีจะเปนความผิดตามประมวลกฎหมายอาญาเฉพาะการ กระทําชําเราโดยบังคับและกระทําตอเด็กหญิงอายุไมเกินสิบหาป12 เนื่องจากวาเด็กหญิง อายุไมเกิน 15 ป ไมสามารถจะรับรูรับผิดชอบในเรื่องการรวมประเวณีพอที่จะสมัครใจยิน ยอม ซึงในลักษณะที่กลาวมานี้มีความแตกตางกับหลักการของกฎหมายอิสลามอยางสิ้นเชิง อิสลามถือวาการทําการผิดประเวณีเปนความผิดแมวาการกระทําเกิดจากความสมัครใจ ความจงใจและความเจตนาเปนหลักสําคัญที่จะทําใหผูกระทําผิดไดรับโทษ สวนผูที่ถูก บังคับ หรืออยูในภาวะที่ไมสามารถขัดขืนไดไมถือวาเปนผูทําผิดและไมถูกลงโทษ อิหมามอัลเฆาะซาลีย13 ถือวาการผิดประเวณีเปนบาปใหญอันดับสอง14 รองลงมา จากการปฎิเสธศรัทธาและการตั้งภาคีตออัลลอฮ โดยใหเหตุผลวา “แลวไฉนสังคมจะมี ระเบียบเรียบรอยหากการผิดประเวณีเปนสิ่งที่ถูกอนุมัติ...และเปนไปไมไดหาการผิดประเวณี เปนสิ่งที่อนุมัติในขณะที่เปาประสงคของศาสนานั้นคือ การจัดระเบียบสังคม”15 เปนการเพียง พอที่การผิดประเวณีเปนที่โกรธกริ้วจากอัลลอฮ ที่แสดงถึงการผิดประเวณีนั้นเปนบาปใหญ ดังที่ทานนบีมุฮัมหมัด ศ็อลฯ ไดกลาวความวา “จงระวังจากการทําผิดประเวณี แทจริงแลว การทําการผิดประเวณีนั้นมี(ภัย)สี่ประการดวยกันคือ หมดความละอายจากใบหนา อัลลอฮ ตัดปจจัยยังชีพ(ริซกีย) อัลลอฮทรงโกรธกริ้วยิ่ง และพํานักอยางนิรันดรในนรก”16 ผูที่อัลลอฮ 10 อัลกุรอาน, 17 : 32 11 บัณฑิตยสถาน, 2539 : 127 12 มาตรา 277 ประมวลกฎหมายอาญา 13 อิหมามอัลเฆาะซาลีย คือ อบูฮามิด มุฮัมหมัด อิบนุ มุฮัมหมัด อิบนุ อัฮหมัด อัลเฆาะซาลีย เสียชีวิตเมื่อป ค.ศ. 1084 ทานเปนนักคิด และนักปราชญาที่มีชายานามวา ฮุจญะตุลอิสลาม (หมายถึ่งหลักฐานแหงอิสลาม) เปนผูเชี่ยวชาญในสาขาวิชาหลักการศาสนะ บัญญัติ 14 อยูในอันดับเดียวกันกับฆาคนอื่นตายโดยเจตนา 15 al-Ghazalie. n.d. : 11/174 16 รายงานโดยอัฏเฏาะบะรอนีย
  • 15. 5 ทรงโกรธกริ้วนั้นความเปนอยูของเขาจะไมเปนสุขอยางแนนอนทั้งในโลกนี้และโลกหนา เพราะบนโลกนี้ผูทําการผิดประเวณีจะถูกลงโทษสถานหนักดวยการโบย 100 ครั้งหากวาผู กระทํายังไมเคยผานการสมรสมากอน และจะเพิ่มโทษหนักขึ้นเปนประหารชีวิตดวยวิธีการ รุมปากอนหินจนตายหากผูทําการผิดประเวณีเคยผานการสมรสมาแลว และในโลกหนาเขา จะถูกเผาผลาญดวยไฟนรกอีกดวย แตถาหากพิจารณาโทษของผูทําผิดประเวณีในกฎหมายอาญาไทยจะเห็นวา โทษ ของผูกระทําการผิดประเวณีในกรณีขมขืนกระทําชําเราคือจําคุกตั้งแตสี่ปถึงยี่สิบปหรือปรับ ตั้งแตแปดพันบาทถึงสี่หมื่นบาท17 และจะเพิ่มโทษหนักขึ้นหากกระทําโดยมีหรือใชอาวุธปน หรือวัตถุระเบิด ตองระวางโทษจําคุกตั้งแต สิบหาปถึงยี่สิบป และปรับตั้งแตสามหมื่นบาทถึง สี่หมื่นบาท หรือจําคุกตลอดชีวิต18 และถาการกระทําผิดนั้นเปนเหตุใหผูถูกกระทําไดรับ อันตรายสาหัส ตองระวางโทษจําคุกตั้งแต สิบหาปถึงยี่สิบป และปรับตั้งแตสามหมื่นบาทถึง สี่หมื่นบาท หรือจําคุกตลอดชีวิต หรือเปนเหตุใหผูถูกกระทําถึงแกความตายผูกระทําตอง ระวางโทษประหารชีวิตหรือจําคุกตลอดชีวิต19 และผูกระทําตองไดรับโทษหนักกวาที่บัญญัติ ไวในมาตรานั้นๆหนึ่งในสาม หากเปนการกระทําแกผูสืบสันดาน ศิษยซึ่งอยูในความดูแล ผู อยูในความควบคุมตามหนาที่ราชการหรืออยูในความปกครองในความพิทักษ หรืออยูใน ความอนุบาล20 อันเนื่องมาจากความแตกตางขององคประกอบและบทลงโทษความผิดของการขม ขืนกระทําชําเราระหวางกฎหมายอาญาอิสลามกับประมวลกฎหมายอาญาไทย ผูวิจัยสนใจ ที่จะทําการศึกษาเชิงเปรียบเทียบระหวางองคประกอบและบทลงโทษของความผิดฐานผิด ประเวณีตามกฎหมายอิสลามและการขมขืนกระทําชําเราตามประมวลกฎหมายอาญาไทย นั้นมีความเหมือนและความแตกตางกันอยางไร 17 มาตรา 276 ประมวลกฎหมายอาญาไทย 18 มาตรา 276 วรรคทาย ประมวลกฎหมายอาญาไทย 19 มาตรา 277 ทวิ ประมวลกฎหมายอาญาไทย 20 มาตรา 277 ตรี ประมวลกฎหมายอาญาไทย
  • 16. 6 วัตถุประสงคของการวิจัย ในการศึกษาเปรียบเทียบความผิดฐานขมขืนกระทําชําเราในครั้งนี้มีวัตถุประสงคดัง ตอไปนี้ 1. เพื่อศึกษาองคประกอบและบทลงโทษความผิดฐานผิดประเวณีในทัศนะของอิสลาม 2. เพื่อศึกษาปรัชญาการลงโทษตามทัศนะของกฎหมายอาญาอิสลาม 3. เพื่อศึกษาองคประกอบและบทลงโทษความผิดฐานขมขืนกระทําชําเราในทัศนะของ ประมวลกฎหมายอาญาไทย 4. เพื่อศึกษาปรัชญาการลงโทษตามทัศนะของกฎหมายทั่วไป 5. เพื่อเปรียบเทียบองคประกอบและบทลงโทษของความผิดฐานผิดประเวณีตาม กฎหมายอาญาอิสลามกับความผิดฐานขมขืนกระทําชําเราตามประมวลกฎหมายอาญาไทย วา มีความเหมือนหรือแตกตางกันอยางไร 6. เพื่อเปรียบเทียบปรัชญาการลงโทษระหวางกฎหมายอาญาอิสลามกับกฎหมายทั่ว ไปวา มีความเหมือนหรือแตกตางกันอยางไร 7. เพื่อใหเกิดองคความรูใหมๆในดานวิชากฎหมายอาญาอิสลามและกฎหมายอาญา ทั่วไป ประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากการวิจัย ประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากการวิจัยครั้งนี้มีดังนี้ 1. มีความรูตามวัตถุประสงคขอ1-7 2. ใชเปนเอกสารประกอบการเรียนการสอนเกี่ยวกับวิชากฎหมายอาญาเปรียบเทียบ (Comparative Criminal Laws) 3. นําเสนอขอมูลตอหนวยงานที่เกี่ยวของและผูที่สนใจเพื่อเปนขอมูลในการพิจารณา พัฒนาตัวบทกฎหมายอาญาไทยตอไป
  • 17. 7 นิยามศัพทเฉพาะ การวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยนิยามศัพทเฉพาะดังนี้ 1. การผิดประเวณี หมายถึง การรวมประเวณีที่ตองหามระหวางหญิงและชายที่ไม ไดสมรสกันอยางถูกตองตามหลักการอิสลาม 2. กฎหมายอิสลาม หมายถึง บทบัญญัติตางๆทั้งที่เปนคําสั่งใหกระทําหรือคําสั่งให ละเวนกระทําที่อัลลอฮประทานลงมาแกมวลมนุษยเพื่อเปนบรรทัดฐานที่ทุกคนตองปฎิบัติ ตามอยางเครงครัด ซึ่งกฎหมายอิสลามมีแหลงที่มาที่สําคัญจากคัมภีรอัลกุรอาน อัสสุนนะห อิจมาอ และกิยาสเปนตน 3. คัมภีรอัลกุรอาน หมายถึง สาสนของอัลลอฮที่ประทานลงมาแกทานนบีมุฮัม หมัด ศ็อลฯ ซึ่งมีความมหัศจรรย (มุอญิซาต) ในตัวของมันเอง และจะไดรับผลบุญจากการ อาน คัมภีรอัลกุรอานเปนคัมภีรสูงสุดของศาสนาอิสลามที่มีความสําคัญตอการดําเนินชีวิต ของมวลมนุษย และเปนบรรทัดฐานของการดําเนินชีวิต คัมภีรอัลกุรอานมีเนื้อหาครอบคลุม วิถีชีวิตของมนุษย ซึ่งเปนธรรมนูญสูงสุดของรัฐอิสลาม 4. เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ หมายถึง คําอวยพรแกบรรดาศอฮาบะหของทานนบีมุฮัม หมัด ศ็อลฯ มีความวา ”ขออัลลอฮทรงพอพระทัยแดทาน” เมื่อกลาวถึงศอฮาบะหของทานน บีมุฮัมหมัด ศ็อลฯ ครั้งตอไปจะใชคําวา”เราะฎีฯ”แทน 5. ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม หมายถึง คําอวยพรแกทานนบีมุฮัมหมัด มีความ วา “ขออัลลอฮทรงสดุดีและใหความสันติแดทาน” เมื่อกลาวถึงทานนบีมุฮัมหมัด ครั้งตอไป จะใชคํายอ วา “ศ็อลฯ” ตามหลังแทน 6. อัลหะดีษหรืออัสสุนนะห หมายถึง คําพูด การกระทํา และการยอมรับของทานน บีมุฮัมหมัด ศ็อลฯ เนี้อหาในอัสสุนนะหเปนการอธิบายเนื้อหาบางสวนที่มีอยูในอัลกุรอานที่ ความหมายไมชัดเจน และเปนการกําหนดบทบัญญัติตางๆที่ไมไดระบุในอัลกุรอาน ดังนั้น อัสสุนนะหจึงถือวาเปนธรรมนูญอันดับสองรองลงมาจากอัลกุรอาน
  • 18. 8 สมมุติฐานของการศึกษา ในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยตั้งสมมุติฐานการวิจัยวา องคประกอบและบทลงโทษของ ความผิดฐานผิดประเวณีตามกฎหมายอาญาอิสลามมีความแตกตางกับองคประกอบและ บทลงโทษของความผิดฐานขมขืนกระทําชําเราตามประมวลกฎหมายอาญาไทย ขอตกลงเบื้องตน 1. อัลกุรอานและอัสสุนนะห ผูวิจัยจัดเปนเอกสารชนิดพิเศษไมถือวาเปนเอกสารปฐม ภูมิหรือทุติยภูมิ เพราะอัลกุรอานและอัสสุนนะหเปนสาสนที่ถูกประทานลงมาจากอัลลอฮแด ทานนบีมุฮัมหมัด ศ็อลฯ 2. ในการแปลความหมายอัลกุรอานเปนภาษาไทยผูวิจัยจะยึดเอาความหมายอัลกุร อานที่แปลภาษาไทยโดยสมาคมนักเรียนเกาอาหรับ ประเทศไทยเปนหลัก ขอบเขตของการวิจัย การศึกษาเปรียบเทียบความผิดฐานขมขืนกระทําชําเราระหวางกฎหมายอาญาอิส ลามกับประมวลกฎหมายอาญาไทย ผูวิจัยทําการศึกษาลักษณะการกระทําที่เปนความผิด โดยศึกษาจากองคประกอบของความผิด และบทลงโทษของความผิดโดยจะทําการศึกษาใน เรื่องของจุดมุงหมายหรือปรัชญาการลงโทษ การเพิ่มโทษใหหนักขึ้น โดยที่ผูวิจัยยึดเอา กฎหมายอาญาอิสลามเปนหลักของการเปรียบเทียบโดยการนําเอาประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 27621 27722 277ทวิ 277ตรี 28123 และ 28524 มาเปรียบเทียบ 21 มาตรา 276 แกไขเพิ่มเติมครั้งสุดทายโดยมาตรา 3 แหงพ.ร.บ.แกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญาฉบับที่ 5 พ.ศ. 2525 22 มาตร 277 277 ทวิ และ 277 ตรี แกไขเพิ่มเติมครั้งสุดทายโดยมาตรา 3 แหง พ.ร.บ.แกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญาฉบับที่ 8 พ.ศ. 2530 23 มาตรา 281 แกไขเพิ่มเติมโดยขอ 9 แหงประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 11 ลงวันที่ 21 พฤศจิกายน 2514 24 มาตรา 285 แกไขเพิ่มเติมโดยขอ 10 แหงประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 11 ลงวันที่ 21 พฤศจิกายน 2514
  • 19. 9 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับงานวิจัยครั้งนี้แบงออกเปนสองประเภทดวยกัน คือ 1.เอกสารที่เกี่ยวของกับการผิดประเวณี ในกฎหมายอาญาอิสลาม 2.เอกสารที่เกี่ยวของกับการผิดประเวณีและการขมขืนกระทําชําเรา ในกฎหมาย อาญาไทย 1. เอกสารที่เกี่ยวของกับการผิดประเวณี ในกฎหมายอาญาอิสลาม คัมภีรอัลกุรอาน ใน ซูเราะหอัลมาอีดะห ซูเราะหอัลอิสรออ ซูเราะหอัลอันนูร และซู เราะหอัลฟุรกอน โดยที่ซูเราะหตางฯไดอธิบาย หลักพื้นฐานของการหามการผิดประเวณี โทษ กฎเกณฑของการลงโทษ พยานและจํานวนของพยาน ซูเราะหอัลมาอีดะหกลาวถึงพยานที่จะมายืนยันความผิดของการทําการผิดประเวณี นั้น ตองเปนชายจํานวนสี่คน เพราะการกลาวหาคนอื่นวาทําการผิดประเวณีนั้นเปนการกลา วหาที่รุนแรง จึงจําเปนตองมีพยานหลายคนมายืนยันการกระทําความผิดดังกลาว และตาม หลักเกณฑของอิสลามแลวหามเปดเผยความผิด หรือความชั่วของคนอื่นโดยเฉพาะที่กระทํา อยางปกปด ซูเราะหอัลอิสรออ กลาวถึงการหามเขาใกลกับการผิดประเวณีซึ่งไดแกการกระทํา ตางๆหรือเขาอยูในสภาพแวดลอมที่จะนําพาไปสูการผิดประเวณี เพื่อเปนการตัดหนทางที่จะ นําไปสูการผิดประเวณีและอัลลอฮยืนยันใหทุกคนทราบวาการทําการผิดประเวณีนั้น เปน การกระทําที่เลวทราม และเปนหนทางที่จะนําไปสูความหายนะ ซูเราะหอันนูร กลาวถึง กฎ ขอบังคับและระเบียบตางๆ ที่มีความหมายทางดานนิติ บัญญัติ กลาวคืออัลลอฮไดกําหนดบทลงโทษสําหรับผูทําการผิดประเวณีที่ยังมิไดสมรสมา
  • 20. 10 กอนโดยกําหนดบทลงโทษโบย คนละ100 ครั้ง และไดกลาวเรื่องพยานที่จะมายืนยันความผิด นั้นตองเปนพยานบุคคลจํานวนสี่คน ไมเชนนั้น จะถือวาเปนการกลาวหาใสรายผูอื่นและตอง วางโทษโบย 80 ครั้ง ซูเราะหอัลฟุรกอน กลาวถึงคุณลักษณะของผูที่ศรัทธามั่นตออัลลอฮ โดยที่เขาไมได ตั้งภาคีตออัลลอฮ เขาจะไมทําการผิดประเวณีเปนอันขาด อิบนุลอะรอบีย25 ในหนังสืออรรถาธิบายอัลกุรอาน อะหกามุลกุรอาน (Ahkamul Qur- an) เลมที่ 3 อิบนุลอะรอบีย ไดนิยามและใหความหมายของการผิดประเวณี ซึ่งรวมถึงการ รวมเพศที่ผิดธรรมชาติหรือรวมทางทวารหนัก (ลีวาฏ) ไดกลาวเหตุผล การที่อัลลอฮไดเริ่ม โองการอัลกุรอาน ดวยหญิงที่ทําการผิดประเวณี กอนผูชายวา มีเหตุผลสองประการดวยกัน คือ สามารถพิสูจนหญิงทําการผิดประเวณีงายกวาผูชาย เพราะผูหญิงเปนผูตั้งครรถ และ อารมณใครของผูหญิงปกติแลวรอนแรงกวาผูชาย ถึงแมวายางอายของผูหญิงมีมากกวาผู ชาย แตหลังจากทําการผิดประเวณีแลว ความยางอายจะหมดสิ้นไปจากนาง ดวยเหตุนั้น อัลลอฮ เริ่มโองการดวยหญิงและตามมาดวยผูชาย เพื่อหยุดยั้งอารมณของนาง อิบนุลอะรอ บีย ไดแบงประเภทบทลงโทษของการผิดประเวณี ไวสองประเภท คือ ประหารชีวิตดวยวิธีการ ปากอนหินจนตาย และโบย 100 ครั้ง โดยไดอางเหตุผลจากอัลกุรอานและอัสสุนนะห อิบนุล อะรอบีย ไดแสดงทัศนะหามมิให ผูนําของรัฐ ลดหยอนในบทลงโทษ หรือใหความเมตตาแกผู กระทําผิด อัลกุรฏบีย26 ไดอธิบายซูเราะหอัลมาอิดะหในหนังสือ อัลญามิอ ลิลอะหกามิล กุร อาน (Al-jami’ li ahkamil Qur-an) เลมที่5 เกี่ยวกับบทลงโทษของผูทําการผิดประเวณีในยุค แรกของอิสลามวา โทษของพวกเขาเหลานั้นคือการประณาม และการกักขังจนกวาพวกนาง จะถึงแกความตาย กอนความชั่วนั้นจะแพรขยายวงกวางออกไป โดยที่ อัลกุรฏบีย ไดอาง 25 อิบนุลอะรอบีย คือ อบูบักร มุฮัมหมัด อิบนุ อับดุลลอฮ อิบนุ มุฮัมหมัด อัลอันดะลุสสีย มีชีวิตระหวางป ค.ศ. 1047-1122 ทานเคยดํารงตําแหนงผูพิพากษาในสมัยนั้น ทานเปนนักคิดและนักปราชญา เปนผูเชี่ยวชาญในสาขา วิชาหลักการศาสนะบัญญัติ วิชาศานสะบัญญัติ โดยเฉพาะอยางยิ่งในสํานักอิหมามมาลิก 26 อัลกุรฏบีย คือ อบูอับดุลลอฮ มุฮัมหมัด อิบนุ อัฮหมัด อิบนุ อบีบักร เสียชีวิตเมื่อป ค.ศ. 1250 เปนผูรอบรูใน เรื่องอรรถาธิบายอัยกุรอานและอัสสุนะห
  • 21. 11 หลักฐานจากนักอรรถาธิบายอัลกุรอานหลายทาน อาทิเชน มุญาฮิด อัลหะซัน และอุบาดะห อิบนุศศอมิต (เราะฏีฯ) เปนตน หลังจากนั้นบทลงโทษนี้ถูกยกเลิกดวยโองการที่บัญญัติบทลง โทษการผิดประเวณีในซูเราะหอันนูร อัลกุรฏบีย กลาวในเลมที่ 12 ถึงเหตุผลที่อัลลอฮเริ่มโองการบทลงโทษการผิด ประเวณีดวยหญิงที่ทําการผิดประเวณี กอนผูชาย ผูที่จะทําการลงโทษ โดยไดอธิบายวา เปน หนาที่ของผูนําของรัฐ หรือผูที่ไดรับมอบหมายงานจากผูนํารัฐ วิธีการลงโทษโบย ขอหาม และสิ่งที่ควรหลีกเลี่ยงในการลงโทษ รวมถึงความแตกตางระหวางหญิงและชายในการลง โทษ ชนิดและขนาดของไมเรียวที่จะทําการลงโทษ อัลบะเฆาะวีย 27 ในหนังสือชัรหุสสุนนะห (syarhus sunnah) หรือหนังสืออธิบายสุน นะห สาระที่เกี่ยวของกับงานวิจัยชิ้นนี้คือ เลมที่ 10 ภาคกําหนดโทษในบทลงโทษของการผิด ประเวณี บทขวางปาซิมมีย28 ที่แตงงานแลวเมื่อทําการผิดประเวณี บทสารภาพการทําการ ผิดประเวณี และบทนายทาสทําการลงโทษทาสดวยตัวเอง บทลงโทษของการทําการผิดประเวณี อัลบะเฆาะวีย ไดอธิบายวา โทษของผูทําการ ผิดประเวณี ที่ยังไมสมรส คือโบย 100 ครั้ง และสําหรับผูที่เคยผานการสมรสมาแลว คือโทษ ประหารชีวิตดวยวิธีการปากอนหินจนตาย อัลบะเฆาะวีย ไดนิยามคําวา มุฮศอน วาคือผูมี คุณลักษณะสี่ประการคือ มีสติปญญา บรรลุนิติภาวะ และอิสระชน และเคยลิ้มรสสวาทจาก การสมรสที่ถูกตองมาแลว อัลบะเฆาะวีย ไดเสนอทัศนะของนักปราชญอิสลามเกี่ยวกับโทษ การปากอนหินจนตายวา ตองทําการโบยดวยหรือไม บทขวางปากอนหินสําหรับซิมมียที่แตงงานแลวเมื่อทําการผิดประเวณี อัลบะเฆาะวีย ไดอธิบายวา เมื่อซิมมียขอการตัดสินคดีจากศาลอิสลาม หรือจากรัฐอิสลาม ผูตัดสินตองทํา การตัดสินดวยบทบัญญัติอิสลาม ถึงแมวาจะดวยการบังคับก็ตาม นอกจากนั้นอัลบะเฆาะ วียยัง ไดอธิบายอีกวา ไมจําเปนตองผูกมือหรือมัดเทา ผูที่ถูกลงโทษแตอยางใด 27 อัลบะเฆาะวีย คือ อบูมุฮัมหมัด อัลหุสีน อิบนุ มัสอูด อัลบะเฆาะวีย เสียชีวิตเมื่อป ค.ศ. 1095 เปนผูรอบรูในเรื่อง อรรถาธิบายอัยกุรอาน อัสสุนะห และวิชาศาสนะบัญญัติตามสํานักอิหมามชาฟอีย 28 ซิมมียคือตางศาสนิกชนที่อยูภายใตการปกครองของรัฐอิสลามโดยที่มีหนาที่จายจิซยะห(ภาษี)ใหแกรัฐเพื่อ แสดงถึงความจงรักภักดีและจํานงตอรัฐอิสลาม
  • 22. 12 บทสารภาพการทําการผิดประเวณี อัลบะเฆาะวีย ไดอธิบายวา การสารภาพวาไดทํา การผิดประเวณีนั้น มีเงื่อนไขสําคัญคือ ตองสารภาพสี่ครั้งดวยกันจึงสามารถลงโทษได โดยที่ ปราชญบางทานไดแสดงทัศนะวา ตองสารภาพสี่ครั้ง และผูที่สารภาพแลวสามารถถอนคํา สารภาพได โดยที่ผูนั้นจะไมถูกลงโทษ และผูนําของรัฐ ตองพยายามโนมนาวผูกระทําไมให สารภาพจากการกระทําผิด อิบนุลก็อยยิม ในหนังสืออธิบายสุนนะห ซาดุลมะอาด (Zadul ma-ad) เลมที่ 5 ใน บทการตัดสินของทานนบีมุฮัมหมัด ศ็อลฯ แกผูที่สารภาพทําการผิดประเวณี บทการตัดสิน ของทานนบีมุฮัมหมัด ศ็อลฯ แกอัฮลุลกีตาบ29 ดวยบทบัญญัติอิสลาม บทการตัดสินของทานนบีมุฮัมหมัด ศ็อลฯ แกผูที่สารภาพทําการผิดประเวณี อิบนุล ก็อยยิม ไดอธิบายวา หญิงที่ผานการสมรสมาแลว (มุฮศอน) ถาหากเขาสารภาพทําการผิด ประเวณี กอนที่จะทําการลงโทษ ตองสารภาพใหครบจํานวนสี่ครั้งดวยกัน เมื่อสารภาพไม ครบสี่ครั้งเขาจะไมถูกลงโทษ (เพราะไมครบเงื่อนไข) การสารภาพจากผูซึ่งขาดสติ หรือ อยู ในอาการมึนเมาจะไมเปนที่ยอมรับ การลงโทษผูที่ผานการสมรสแลว จะไมถูกลงโทษโบย พรอมกับโทษปากอนหินจนตาย โดยที่ อิบนุลก็อยยิม อางเหตุผลวา ทานนบีมุฮัมหมัด ศ็อลฯ ไมไดสั่งโบย มาอิซ และ อัลฆอมิดียะห อิบนุลก็อยยิม ยังไดอธิบายอีกวา การไมรูโทษจะไม ไดรับการอนุโลม หากวาผูกระทําผิดประเวณีรูวา การทําการผิดประเวณีนั้นเปนสิ่งตองหาม บทการตัดสินของทานนบีมุฮัมหมัด ศ็อลฯ แกอัฮลุลกีตาบ ดวยบทบัญญัติอิสลาม อิบนุลก็อยยิม ไดอธิบายวา ตางศาสนิกที่อยูในการปกครองของรัฐอิสลาม เมื่อทําการผิด ประเวณี ตองทําการลงโทษดวยบทบัญญัติอิสลาม หากวาพวกเขาฟองตอศาลอิสลาม อิบนุลก็อยยิม ไดอธิบายคําปรารภของ อุมัร (เราะฏีฯ) ในหนังสือเรื่อง อิอฺลามุล มุวัก กออีน (Ailamul muaqqa-ien an Rabbil Aalamin) เลมที่ 2 สาระสําคัญที่เกี่ยวของกับงานวิจัย ครั้งนี้คือ เปาประสงคของการกําหนดโทษฮัดด30 ประเภทของบทลงโทษ โทษโบย เปา ประสงคของการกําหนดโทษการผิดประเวณี อิบนุลก็อยยิม ไดอธิบายเปาประสงคของการ 29 อัฮลุลกีตาบ คือผูที่ศรัทธาตอศาสนานบีมูซาและอีซา และศรัทธาตอคัมภีรเตาเราะหและอินญีล 30 ฮัดด คือบทลงโทษที่ถูกกําหนดตายตัวจากอัลลอฮและนบีมูฮําหมัด ศ็อลฯ โดยที่ศาล ผูพิพากษา หรือผูปกครอง รัฐไมสามารถเพิ่มหรือลดหยอนโทษได
  • 23. 13 กําหนดโทษฮัดด วา อัลลอฮไดกําหนดแนวทางที่จะปองกันมิใหกระทําความผิด ซึ่งเปนจุดมุง หมายของการกําหนดบทลงโทษ ในเรื่องประเภทของบท ลงโทษ อิบนุลก็อยยิม ไดอธิบายวา เมื่อความรุนแรงและความฉกรรจ ของความผิด มีความแตกตางกัน จึงจําเปนตองมีความ แตกตางในเรื่องบทลงโทษดวย ถาจะปลอยใหมนุษย พิจารณาโทษเหลานั้น มนุษยไม สามารถที่จะตกลงในเรื่องความเหมาะสมของโทษกับความผิดได ดวยเหตุนั้นอัลลอฮไดแบง บทลงโทษเปน หกประเภทดวยกัน คือ ประหารชีวิต ตัดอวัยวะ โบย เนรเทศ ปรับ และโทษ ตามดุลพินิจของศาล (ตะอฺซีร) อิบนุลก็อยยิม ไดอธิบายเปาประสงคของการบัญญัติโทษ โบยแกผูที่ทําการผิดประเวณี ที่ยังไมเคยผานการสมรสวา อันเนื่องจากการเสพสุขจากการ รวมประเวณีนั้น ครอบคลุมทั่วเรือนรางของรางกาย การลิ้มรสความเจ็บปวดทั่วเรือนรางจาก การโบยนั้นจึงสมควรแกผูกระทําผิดนั้น สวนการบัญญัติโทษ ประหารดวยวิธีการปากอนหิน จนตายแกผูที่เคยสมรสมากอนนั้น เพราะเขาเหลานั้นเคยลิ้มรสสวาทจากการรวมประเวณี จากการสมรสที่ถูกตองมาแลวนั่นเปนการเพียงพอที่จะหยุดยั้ง ตัวเองมิใหกระทําความชั่วนี้ ได 2.เอกสารที่เกี่ยวของกับการทําการผิดประเวณีและการขมขืนกระทําชําเราใน กฎหมายอาญาไทย ประมวลกฎหมายอาญาฉบับป พ.ศ. 2499 มีสาระสําคัญที่เกี่ยวของกับงานวิจัยครั้ง นี้คือ ลักษณะ 9 ความผิดเกี่ยวกับเพศ มาตรา 276 มาตรา 277 มาตรา 277 ทวิ มาตรา 277 ตรี มาตรา 281 และมาตรา 285 มาตรา 276 วรรคแรก เปนบทบัญญัติทั่วไปของการทําการผิดประเวณีและโทษของ ความผิด วรรคสองกลาวถึงการเพิ่มโทษใหหนักขึ้นจากการทําความผิดในวรรคแรก มาตรา 277 วรรคแรก เปนบทบัญญัติการทําการผิดประเวณีเด็กหญิงอายุยังไมเกิน 15 ปและโทษของความผิดในวรรคแรก วรรคสอง เปนบทบัญญัติการทําการผิดประเวณีกับ เด็กหญิงอายุยังไมเกิน 15 ป ซึ่งจะตองลงโทษหนักขึ้น วรรคสาม กลาวถึงการเพิ่มโทษให หนักขึ้นจากการกระทําผิดในวรรคแรกและวรรคสอง และวรรคสี่กลาวถึงเงื่อนไขการยอม ความในความผิดฐานการทําการผิดประเวณี มาตรา 277ทวิ กลาวถึงสาเหตุที่ทําใหผูกระทําผิดไดรับโทษหนักขึ้น มาตรา 277ตรี กลาวถึงสาเหตุที่ทําใหผูกระทําผิดไดรับโทษประหารชีวิต มาตรา 281 กลาวถึงการยอมความในความผิดฐานการทําการผิดประเวณี
  • 24. 14 มาตรา 285 เปนบทบัญญัติที่กลาวถึงเงื่อนไขและสาเหตุที่ผูกระทําผิดตองรับโทษ หนักกวาที่บัญญัติในมาตราตางๆหนึ่งในสามของบทลงโทษที่บัญญัติไว สาขาวิชานิติศาสตร. มสธ. 2526. ไดแบงความผิดฐานขมขืนกระทําชําเราเปนสอง ประเภท คือขมขืนกระทําชําเราหญิง และขมขืนกระทําชําเราเด็กหญิงซึ่งในแตละประเภทมี รายละเอียด องคประกอบของความผิด และโทษตางกัน หนังสือเลมนี้ไดอธิบายองคประกอบความผิดฐานขมขืนกระทําชําเราหญิงวามีสอง องคประกอบคือ องคประกอบภายนอกและองคประกอบภายใน องคประกอบภายนอกคือ ขมขืนกระทําชําเราหญิงซึ่งไมใชภรรยาตน และโดยขูเข็ญดวยประการใดๆ หรือใชกําลัง ประทุษรายหรือหญิงอยูในภาวะที่ไมสามารถขัดขืนได หรือทําใหหญิงเขาใจผิดวาเขาคือ บุคคลอื่น และองคประกอบภายในคือความเจตนาโดยไดอธิบายแตละองคประกอบอยาง ละเอียด และไดอธิบายสาเหตุที่ตองรับโทษหนักขึ้นวา การเพิ่มโทษใหหนักขึ้นในความผิด ฐานขมขืนกระทําชําเรานั้นตองพิจารณาจากขอเท็จจริงที่ปรากฏโดยผูกระทําจะตองรูขอเท็จ จริงนั้น ผลที่เกิดขึ้นจะตองเปนผลโดยตรงซึ่งธรรมดายอมเกิดขึ้นได และไดอธิบายมาตรา 281 วาหลักเกณฑในการยอมความตามมาตรานี้คือ 1. กระทําความผิดตามมาตรา 276 หรือ มาตรา 278 (มาตรานี้ไมเกี่ยวของกับงาน วิจัยครั้งนี้) 2. ความผิดไมเกิดขึ้นตอหนาธารกํานัล 3. ไมเปนสาเหตุใหผูถูกกระทําไดรับอันตรายสาหัสหรือถึงแกความตาย 4. มิไดเกิดขึ้นโดยรวมกระทําความผิดดวยกันอันมีลักษณะเปนการโทรมหญิง 5. มิไดเปนการกระทําแกบุคคลดังระบุไวในมาตรา 285 หยุด แสงอุทัย. 2544. ไดกลาวในหนังสือกฎหมายอาญา 1 วา เพื่อที่จะทราบวา การ กระทําเปนความผิดทางอาญาหรือไม เราอาจพิจารณาดังตอไปนี้ 1.จะตองไดมีการกระทําตามความหมายของกฎหมาย 2.ในกรณีที่กฎหมายกําหนดวา การกระทําจะเปนความผิดสําเร็จตองเกิดผล จากการกระทํานั้นๆก็ตองมีความสัมพันธระหวางการกระทําและผล 3.การกระทําเทาที่แสดงออกมาภายนอก มีกฎหมายบัญญัติวาเปนความผิด
  • 25. 15 4.ผูกระทําไดกระทําดวยเจตนาหรือประมาท ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ. 2540. ในหนังสือเรื่อง ”กฎหมายอาญา หลักและปญหา” สาระสําคัญที่เกี่ยวของกับงานวิจัยครั้งนี้คือ บทที่3 การกระทําในกฎหมายอาญา บทที่4 เจตนาในกฎหมายอาญา บทที่12 เหตุที่เกี่ยวกับความสามารถในการกระทําผิด และบทที่14 โทษ บทที่3 การกระทําในกฎหมายอาญา ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐไดอธิบายการกระทําที่ผู กระทําตองรับผิดวา เปนการเคลื่อนไหวของรางกาย หรือกลามเนื้อภายใตจิตใจบังคับ (willed movement) และการกระทําในกฎหมายอาญานี้ยังรวมถึงการงดเวนหนาที่ดวย ดวย เหตุนั้นการกระทําทางอาญานี้จึงประกอบดวยกระบวนการตอไปนี้ คือ มีการคิด มีการตกลง ใจ และมีการเคลื่อนไหวรางกายตามที่ตกลงใจนั้น บทที่4 เจตนาในกฎหมายอาญา ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ ไดอธิบายเจตนาตามมาตรา 59 วาเปนเพียงเจตนากระทําความผิด (criminal intention) ซึ่งไมใชเจตนาชั่วราย (mens rea or vicion will) เพราะเจตนากระทําความผิดนั้นเปนความไมดีอยูในตัวอยูแลว ดวยเหตุนั้น ความเจตนาตามมาตรานี้ประกอบดวยการกระทําโดยรูสํานึกและในขณะเดียวกันผูกระทํา ประสงคตอผลหรือยอมเล็งเห็นผลการกระทํานั้น บทที่12 เหตุเกี่ยวกับความสามารถในการกระทํา ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ ไดอธิบายวา มีบุคคลสามประเภทที่ไมสามารถในการกระทําผิดหรือไมเจตนาที่จะกระทําหรือไมสามารถ บังคับตัวเองได ไดแก 1. การกระทําของเด็ก 2. การกระทําของคนวิกลจริต 3. การกระทําเพราะมึนเมา บทที่14 โทษ ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ ไดอธิบายถึงลักษณะของโทษอาญา ความ ประสงคของการลงโทษ และประเภทของโทษอาญาวา ลักษณะของโทษอาญามีดังนี้ 1.โทษตองลงแกผูกระทําเนื่องจากมีการกระทําความผิดตามกฎหมาย 2.โทษตองเปนไปโดยเสมอภาค 3.โทษตองบังคับใชโดยรัฐ 4.โทษตองเปนผลราย (pain) แกผูกระทํา