SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
การเลือกซื้อเครื่อง Scanner (สแกนเนอร์) ในระดับมืออาชีพ (Performance)<br />วิธีการเลือกซื้อเครื่อง Scanner สำหรับผู้ใช้ระดับสูง เครื่อง สแกนเนอร์ ที่แนะกับผู้ใช้ในระดับนี้ จะต้องเป็นเครื่อง สแกนเนอร์ ที่มีความละเอียดที่สูง มีบิตสีในการสแกนที่มาก มีความเร็วในการสแกนที่พอเหมาะไม่ช้าจนเกินไป สามารถสแกนได้ทั้งกระดาษธรรมดา และแผ่นฟิล์ม มีขนาดและรูปร่างที่ไม่ใหญ่มากนัก<br />ในส่วนแรกเลยก็คงจะต้องมาเลือกกันที่ว่าหัวสแกนของเครื่อง สแกนเนอร์ หรือ Scanner ต้องการหัวสแกนแบบใด แบบ CCD Flatbed หรือแบบ CIS Flatbed ซึ่งหัวสแกนทั้ง 2 แบบนี้มีความแตกต่างกันตรงที่ แบบCCD Flatbed จะมีความละเอียดในการสแกนรูปภาพ และความเร็วในการสแกนที่สูงกว่าหัวสแกนแบบ CIS Flatbed ส่วนขนาดของเครื่องหัวสแกนแบบ CCD Flatbed จะมีความหนาและใหญ่กว่าเครื่องที่ใช้หัวสแกนแบบ CIS Flatbed ความละเอียดสำหรับเครื่อง Scanner ในระดับมืออาชีพนี้ควรจะมีความละเอียดอยู่ที่ 1200 x 1200 จุดต่อตารางนิ้วขึ้นไป ยิ่งมีความละเอียดที่สูงก็จะทำให้ภาพที่ได้มีความละเอียดสูงขึ้น แต่ในเครื่อง สแกนเนอร์ (Scanner) ในปัจจุบันจะสามารถปรับความละเอียดในการสแกนเพิ่มขึ้นได้อีกโดยใช้โปรแกรมหรือซอฟต์แวร์เข้าช่วย ความละเอียดที่ได้จากโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์จะอยู่ที่ 9600 จุดต่อตารางนิ้วขึ้นไป<br />ต่อมาเป็นจำนวนบิตสีในการสแกนควรจะอยู่ที่ 48 บิตสี จะอยู่ในโหมด สี 48 บิต Input/ 24 บิต Output ส่วนโหมดสีเท่า 16 บิต Input/ 8 บิต Output ส่วนความเร็วในการพรีวิวสแกนควรจะอยู่ที่ 7 วินาทีหรือน้อยกว่านั้น ส่วนพื้นที่ในการสแกนส่วนใหญ่จะอยู่ที่ 216 x 197 มิลลิเมตร หรือกระดาษขนาด A4 ความสามารถของเครื่อง Scanner (สแกนเนอร์) บางรุ่นจะสามารถสแกนรูปภาพหรือข้อความถูกบันทึกลงบนแผ่นฟิล์มได้ นับว่าเป็นตัวเลือกของผู้ใช้ที่ต้องการคุณสมบัติเพิ่มเติมอย่างอื่นอีก<br />ส่วนการเชื่อมต่อระหว่างเครื่อง Scanner (สแกนเนอร์) กับเครื่องคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบันเครื่อง สแกนเนอร์ (Scanner) ส่วนใหญ่จะเชื่อมต่อผ่านทาง USB 1.1/2.0 อันนี้แล้วแต่เครื่องของผู้ใช้กับว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้ใช้พอร์ต USB เวอร์ชันใด ถ้าเป็น USB 1.1 ก็จะมีความเร็วในการโอนถ่ายข้อมูลน้อยกว่า USB 2.0 แต่ผู้ใช้ไม่ต้องกังวลว่าถ้า USB ของผู้ใช้เป็น USB 2.0 แล้วจะไม่สามารถใช้ USB 1.1 ได้ สามารถใช้ได้ครับแต่ความเร็วในการโอนถ่ายข้อมูลจะช้าลงเพียงเท่านั้น ส่วนในเรื่องพลังไฟที่ใช้ในเครื่องScanner (สแกนเนอร์) บางรุ่นจะมี Adapter ในการเชื่อมต่อเพื่อจ่ายพลังงานให้กับเครื่อง Scanner (สแกนเนอร์) แต่ในบางรุ่นจะสามารถใช้กระแสไฟจากเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรงได้ นับเป็นข้อดีอย่างหนึ่งที่จะทำผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องหาปลั๊กไฟเพิ่มเติม แต่ก็มีข้อเสียอยู่ตรงที่หาก Power Supply ของเครื่องคอมพิวเตอร์มีกำลังไฟไม่เพียงพอแล้วอาจจะทำให้เครื่อง Scanner (สแกนเนอร์) หรืออุปกรณ์บางอย่างไม่สามารถทำงานได้ ในส่วนระบบใช้ก็จะเป็น Windows 98/98SE/ME/2000/XP หรือ Mac OS 8.6-9.x ส่วนในด้านเทคโนโลยีหรือโปรแกรมที่แถมมากับเครื่อง Scanner นั้น อันนี้แล้วแต่ผู้ใช้ว่ามีความถนัดหรือใช้งานได้ง่ายหรือไม่<br />การเลือกซื้อเครื่อง Scanner (สแกนเนอร์) ในระดับประสิทธิภาพคุ้มค่า (Value)<br />การเลือกซื้อ Scanner (สแกนเนอร์) ในแบบมีประสิทธิสมราคา อย่างแรกก็คงเป็นเทคโนโลยีการสแกน มีทั้งแบบ CCD และแบบ CIS แล้วแต่จะเลือกครับ แบบ CCD มีข้อดีตรงที่สามารถสแกนวัตถุได้ทั้ง 2 มิติ และ 3 มิติ (วัตถุ 2 มิติ คือ วัตถุที่มีเพียงด้านเดียว ส่วนวัตถุ 3 มิติ คือ วัตถุที่มีทั้งด้านหน้า ด้านหลัง ด้านข้าง) แบบ CIS ก็สามารถในการสแกนได้เหมือนกับ CCD แต่จะด้อยกว่าในด้านประสิทธิภาพของภาพที่ได้จากการสแกน ส่วนตัวเครื่อง CCD จะมีขนาดและน้ำหมักที่มากกว่า CIS ลำดับต่อมาคือ ความละเอียดในการสแกนควรจะเลือกเครื่องสแกนที่มีความละเอียดในการสแกน 1200 x 1200 จุดต่อตารางนิ้วขึ้นไปครับ แต่เครื่อง Scanner (สแกนเนอร์) บางรุ่นยังสามารถเพิ่มความละเอียดได้ด้วยโปรแกรม (Software)<br />ตัวอย่างเช่น Up to 4800 Optimized หมายความว่า สามารถปรับความละเอียดโดยใช้โปรแกรมที่มาพร้อมกับเครื่อง Scanner (สแกนเนอร์) ทำให้ได้ความละเอียดสูงสุดที่ 4800 จุดต่อตารางนิ้ว ส่วนความละเอียดในการสแกนส่วนใหญ่จะเป็นแบบ 48 บิตสีอยู่แล้ว จะทำให้ได้ประสิทธิภาพในการสแกนความคมชัดที่สูงขึ้นครับ ต่อไปเป็นการเชื่อมต่อเครื่อง สแกนเนอร์ (Scanner) มีการเชื่อมต่อหลายแบบครับ ได้แก่ Parallel เป็นการเชื่อมต่อแบบธรรมดาที่สุด, USB 1.1/2.0 ทำให้การส่งผ่านข้อมูลได้รวดเร็วกว่า Parallel สะดวกในการติดตั้ง, SCSI คล้ายๆ กับ Parallel แต่มีความเร็วในการส่งผ่านข้อมูลสูงกว่า Parallel และสุดท้าย FireWire มีเครื่อง Scanner (สแกนเนอร์) น้อยรุ่นที่จะใช้พอร์ตนี้ในการเชื่อมต่อ เมื่อนำมาติดตั้งไว้ในเครื่อง Scanner (สแกนเนอร์) จะทำให้มีราคาที่สูงขึ้น ผู้ใช้ต้องเลือกด้วยว่าจะใช้พอร์ตอะไรในการเชื่อมต่อ ในปัจจุบัน USB 1.1/2.0 เป็นพอร์ตที่ใช้งานง่ายที่สุดแล้วครับ ราคาก็ไม่แพงมากนัก Scanner (สแกนเนอร์) บางรุ่นยังมีความสามารถที่เครื่อง Scanner (สแกนเนอร์) รุ่นอื่นไม่มีอีก คือ การสแกนแผ่นฟิล์ม หรือแผ่นสไลด์ได้ครับ นับเป็นสิ่งที่เพิ่มเติมขึ้นมาแล้วได้ประโยชน์อีกไม่น้อยครับ<br />เมื่อผู้ใช้กำหนดสเปกของเครื่อง Scanner (สแกนเนอร์) แล้วว่าต้องการแบบไหน ความละเอียดในการสแกนเท่าไหร่ เชื่อมต่อผ่านทางพอร์ตอะไร คราวนี้ก็ต้องมาดูกันที่เทคโนโลยีของบริษัทผู้ผลิตเครื่อง Scanner (สแกนเนอร์) ว่าผู้ใช้ใช้งานง่ายหรือไม่ การที่เราสามารถใช้งานเครื่อง Scanner (สแกนเนอร์) ได้ง่าย ทำให้เราไม่ต้องเสียเวลาในการอ่านคู่มือมากนัก น้ำหนักกับขนาดของเครื่อง Scanner (สแกนเนอร์)ส่วนใหญ่จะไม่ต่างกันมากกนัก ก็แล้วแต่ว่าผู้ใช้ชอบเครื่อง Scanner (สแกนเนอร์) หน้าตาแบบไหน สีอะไรครับ<br />การเลือกซื้อเครื่อง Scanner (สแกนเนอร์) ในระดับประหยัด (Budget)<br />สำหรับผู้ใช้ที่มีงบประมาณในการจัดซื้อน้อย Scanner (สแกนเนอร์) ระดับBudget ก็เป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ดูจะเหมาะสมมากที่สุดและในตลาดบ้านเราตอนนี้ก็มีให้เลือกอยู่หลายรุ่นเช่นเดียวกัน ในด้านของประสิทธิภาพการทำงานโดยรวมก็ยังอยู่ในเกณฑ์ดีที่ใช้ได้เลยครับ แต่ต้องพิจารณาจากใช้งานหลักของผู้ใช้เองด้วยนะครับ อย่างที่เคยได้กล่าวไปถึงวิธีการเลือกซื้อในฉบับก่อนแล้ว ครั้งนี้เราจะเข้ามาลึกอีกสักหน่อย สำหรับการเลือกซื้อ Scanner ระดับล่าง ที่ทางผู้ใช้มีงบประมาณน้อยจะเลือกซื้ออย่างไรถึงจะใช้ได้ การเลือกซื้อ สแกนเนอร์ระดับนี้เราต้องมาพิจารณาถึงองค์ประกอบหลักว่าเครื่อง Scanner (สแกนเนอร์) ที่ทางผู้ใช้สนใจอยู่นั้นมีรุ่นใดบ้าง ให้เอาราคาที่ใกล้เคียงกับงบประมาณที่มีอยู่หลังจากนั้นให้นำมาเปรียบเทียบกันว่ามีข้อแตกต่างกันในส่วนใดบ้าง ด้านเทคโนโลยีของสแกนเป็นรู้ดีอยู่ว่ามีแบบ CIS และแบบที่เป็นCCD ถ้าคุณต้องการเน้นประสิทธิในการสแกนวัตถุสามมิติ แนะนำให้ใช้เทคโนโลยีแบบ CCD จะดีกว่าเพราะการสแกนวัตถุที่เป็นสามมิตินั้นเทคโนโลยี CCD จะเหนือกว่า CIS อยู่เล็กน้อย เนื่องจากระบบการทำงานจะต่างกัน หากคุณต้องการเน้นที่ความรวดเร็ว ประหยัดพื้นที่สามารถจัดเก็บได้สะดวกเมื่อไม่ได้ใช้งานก็ต้องเป็นแบบCISครับ เพราะที่รู้ๆกันว่าข้อเสียของเครื่อง สแกนเนอร์ (Scanner) แบบที่ใช้เทคโนโลยีแบบ CCD ตัวเครื่องค่อนข้างหนาและมีน้ำหนักมากกว่า เทคโนโลยีแบบ CIS พอประมาณครับ จำนวนบิตสีควรเลือกที่เป็นมาตรฐานคือ 48 บิตสีจะดีกว่า<br />การเชื่อมต่อเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เลือกที่คุณคิดว่าสะดวกมากที่สุด อย่างเช่น ถ้าคุณใช้เครื่องพรินเตอร์ที่ต่อกับสาย Parallel อยู่ก็ควรเลือกซื้อ Scanner (สแกนเนอร์) ที่เชื่อมต่อแบบ USB หรือไม่ก็ FireWire แทนจะได้ทำให้การทำงานสอดคล้องกัน ทำงานร่วมกันได้ไม่ต้องมีปัญหาเปลี่ยนไปเปลี่ยนมาให้เสียเวลา หากเครื่องพรินเตอร์ใช้เป็นUSB และถ้าคุณมีช่องUSB เหลือก็ตามสะดวกได้เลยครับ เพราะการเชื่อมต่อแบบ USB นั้นจะรับ-ส่งข้อมูลได้เร็วกว่าแบบ Paralle อยู่พอสมควร หรือถ้าหากว่าอยากลองการเชื่อมต่อแบบใหม่อย่าง FireWire ก็ไม่ว่ากันครับ แต่ต้องดูด้วยว่าเครื่องScanner (สแกนเนอร์) รุ่นที่คุณต้องการสนับสนุนการเชื่อมต่อแบบนี้หรือไม่ เพราะที่เห็นกันในตลาดบ้านเราตอนนี้แบบราคาระดับล่างมีอยู่ไม่กี่รุ่นเท่านั้นที่มีการเชื่อมต่อแบบ FireWire ด้วย แถมไม่ทราบว่าจะมีการ์ดPCI ที่ไว้ต่อกับตัวเชื่อมต่อ FireWire มาให้ด้วยหรือเปล่าในบ้างรุ่น จากการที่ได้ไปสำรวจมาในบางร้านมีแถมมาให้ บางร้านก็ไม่มีต้องเพิ่มเงินซื้อถึงจะได้ ทั้งๆ ที่น่าแถมมาให้พร้อมเครื่อง สแกนเนอร์ (Scanner) อยู่แล้ว ผมก็ไม่เข้าใจว่าทำไมลองคิดดูเล่นๆก็แล้วครับว่าทำไม ส่วนของค่าความละเอียดในการสแกนคงเป็นไปไม่ได้ที่จะได้เครื่อง Scanner (สแกนเนอร์) ที่มีค่าความละเอียดสูงๆ แต่ก็ถือว่าเป็นค่าความละเอียดที่ใช้งานกันใน ระดับปกติเป็นมาตรฐานอยู่แล้วครับ ไม่ต้องเสียใจไปว่าเรามีงบประมาณน้อยไม่สามารถซื้อเครื่อง Scanner (สแกนเนอร์) ที่มีค่าความละเอียดสูงๆได้ เพียงแค่คุณก็ใช้ทำงานได้ในระดับหนึ่งแล้ว<br />อ้างอิง  http://www.buycoms.com/buyers-guide/scanner/index.asp<br />เครื่องมัลติฟังก์ชัน (Multifunction)<br />เครื่องมัลติฟังก์ชัน (Multifunction) หรือ All-In-One (AIO) ออกมาพร้อมอุปกรณ์ทำงานที่ครบเครื่องทั้ง พิมพ์ สแกน ก๊อปปี้ และส่งแฟกซ์ คุ้มค่ากับราคาที่น่าลอง สำหรับเครื่องมัลติฟังก์ชันหรือออลอินวันจะเป็นการนำเอาความสามารถและฟังก์ชันการทำงานของ อุปกรณ์ต่อพ่วงหลัก ๆ มารวมเข้าไว้ด้วยกันอย่างครบชุด ซึ่งประกอบไปด้วย เครื่อง Printer เครื่องสแกนเนอร์ เครื่องถ่ายเอกสาร และเครื่องแฟกซ์ แต่สำหรับ เครื่องมัลติฟังก์ชั่นในบางรุ่นอาจจะไม่ได้รวมเอาเครื่องแฟกซ์มาด้วยก็ได้ แต่หลัก ๆ อย่างไรก็สามารถพิมพ์งาน สแกน และถ่ายเอกสารได้<br />ส่วนการทำงานของเครื่องมัลติฟังก์ชันมีการพัฒนาในเรื่องของการทำงานให้มีการทำงานร่วมกันได้อย่างเต็มที่มากขึ้น อย่างที่เราจะเห็นได้จาก ฟังก์ชันในการถ่ายเอกสารนั่นเองซึ่งจะเป็นการประสานงานในการทำงานร่วมกันระหว่างเครื่องสแกนเนอร์กับพริ้นเตอร์ นอกจากนี้ยังได้มีการเพิ่มฟังก์ชัน ในการสั่งงานบางอย่างที่จะช่วยให้การถ่ายเอกสารทำงานได้อย่างสมบูรณ์แบบมากขึ้นด้วย อย่างเช่น การย่อหรือขยายเอกสาร การทำสำเนา หรือจะเป็นการปรับ เลือกโหมดการถ่ายเอกสารสีหรือการถ่ายเอกสารขาว-ดำได้ เป็นต้น<br />ส่วนเครื่องมัลติฟังก์ชันที่มีแฟกซ์ในตัวเราจะสังเกตได้จากแผงควบคุมที่จะมีปุ่มสำหรับกดเลขหมายโทรศัพท์ได้ สำหรับกลุ่มผู้ใช้ที่เหมาะสำหรับ เครื่องมัลติฟังก์ชันนี้จะมีทั้งกลุ่มธุรกิจองค์กรทั้งขนาดเล็กและขนาดกลาง โฮมออฟฟิศ และกลุ่มผู้ใช้งานตามบ้าน ซึ่งสำหรับกลุ่มผู้ใช้งานตามบ้านนั้นในตอนนี้ กำลังได้รับความนิยมมากขึ้นเรื่อย ๆ เพราะทางผู้ผลิตทั้งหลายต่างก็ได้ส่งเครื่องมัลติฟังก์ชันราคาประหยัดลงมาทำตลาดกัน ซึ่งจะมีราคาเริ่มต้นอยู่ที่ประมาณ 4000 บาทเท่านั้น และเมื่อลองเทียบกันกับการซื้อPrinterและScannerแบบแยกชิ้นแล้ว จะเห็นได้ว่ามีราคาต่างกันไม่มาก แต่เมื่อดูถึงจุดเด่นของมัลติฟังก์ชันที่ประหยัดพื้นที่ในการติดตั้งกว่า และสามารถถ่ายเอกสารทั้งสีทั้งขาว-ดำได้แล้วถือว่าเป็นตัวเลือกใหม่ที่น่าสนใจทีเดียว<br />ในการเลือกซื้อเครื่องมัลติฟังก์ชันเราจะอาศัยหลักการเลือกซื้อแบบแยกชิ้นอาจจะไม่ได้ เพราะในการเลือกซื้อแบบแยกชิ้นอย่างการซื้อPrinterสักเครื่องเราอาจจะพิจารณาจากความละเอียดในการพิมพ์เป็นอันดับต้น ๆ ก็ได้ แต่สำหรับการซื้อมัลติฟังก์ชันนั้นต่างกันเนื่องจากมัลติฟังก์ชันเป็นอุปกรณ์แบบรวมชิ้น เพราะฉะนั้นสิ่งที่เราคาดหวังว่าในการพิมพ์ต้องมีความละเอียดเท่านี้ สแกนเนอร์ต้องสแกนงานได้ที่ความละเอียดเท่านี้นั้นเป็นเรื่องที่กำหนดได้ยาก ถ้าให้ดีเราควรเลือกซื้อตามความต้องการและความเหมาะสมในการใช้งานเป็นหลักดีกว่า อย่างเช่นถ้าที่ออฟฟิศของคุณมีเครื่องแฟกซ์อยู่แล้วก็ควรเลือกซื้อเครื่องมัลติฟังก์ชันแบบที่ไม่มีแฟกซ์ในตัวมาใช้ ซึ่งราคาส่วนต่างระหว่างรุ่นที่มีแฟกซ์กับไม่มีแฟกซ์จะต่างกันค่อนข้างมากอยู่ ส่วนในเรื่องของความละเอียดในการพิมพ์และการสแกนงานนั้น ในการเลือกซื้อให้ขึ้นอยู่กับลักษณะของงานด้วย อย่างถ้ามีความจำเป็นต้องมีการใช้งานเกี่ยวกับด้านกราฟิกบ้าง เครื่องมัลติฟังก์ชันที่มีความละเอียดสูง ๆ ก็จะเหมาะสมกับงานแบบนี้มากกว่า หรือถ้าหากมีการใช้งานการพิมพ์หรือการสแกนที่ต้องการความละเอียดสูงจริง ๆ หรือมีการใช้งานเป็นประจำ ควรจะเลือกซื้อแบบแยกชิ้นไปเลยดีกว่า เพราะในการใช้งานแบบเฉพาะเจาะจงนั้นอุปกรณ์แบบแยกชิ้นย่อมทำงานได้ดีกว่าเสมอ เราต้องอย่าลืมว่า เครื่องมัลติฟังก์ชันนั้นถูกออกแบบมาเพื่อช่วยอำนวยความสะดวก และเพื่อเพิ่มความคล่องตัวในการทำงานให้มากขึ้น แต่ถ้าจะเลือกซื้อมัลติฟังก์ชันความละเอียดมีตั้งแต่ 600 x 600 จุดต่อตารางนิ้ว, 1200 x 1200 ตารางนิ้ว ความสามารถในการพิมพ์ขาว-ดำ 12 แผ่นต่อนาทีขึ้นไป พิมพ์สี 10 แผ่นต่อนาทีขึ้นไป ส่วนความละเอียดในการสแกนตั้งแต่ 600 x 1200 จุดต่อตารางนิ้ว ยิ่งมากยิ่ง สแกนได้ความละเอียดสูง จำนวนบิตสีก็สำคัญส่วนใหญจะประมาณ 48 บิตสี บางรุ่นยังสามารถสแกนแล้วย่อ – ขยายได้ตั้งแต่ 25% - 400% ในส่วนนี้ เป็นส่วนเพิ่มเติม หน่วยความจำในเครื่องมัลติฟังก์ชันก็สำคัญควรจะมีประมาณ 16 MB ขึ้นไป จะได้ช่วยประมวลผลในการพิมพ์ได้เร็วขึ้น<br />การเชื่อม ต่อสามารถเลือกได้ว่าต้องการแบบใด Parallel, USB 1.1/2.0, FireWire และ Ethernet ขอแนะนำให้ใช้ USB 1.1/2.0 เพราะราคาไม่สูงมากนัก แต่ถ้า ต้องการความเร็วในส่งข้อมูลที่สูงขึ้นแนะนำ FireWire ครับ ฟังก์ชันในการใช้งานในตอนนี้มัลติฟังก์ชันมีสามารถในการพิมพ์ภาพจากกล้องดิจิตอล หรือสื่อ บันทึกข้อมูล Memory Stick, MutiMedia Card(MMC), Secure Disk(SD), CompactFlash(CF) และ XD-Cart<br />สำหรับเครื่องมัลติฟังก์ชันในปัจจุบันนั้นมีการพัฒนาขึ้นมาก ไม่ว่าจะเป็นเทคโนโลยีในการพิมพ์ที่มีความละเอียดในการพิมพ์ที่สูงขึ้นสามารถพิมพ์รูปภาพได้สวยขึ้น ไม่แพ้เครื่องอิงค์เจ็ตพริ้นเตอร์, ในเรื่องของความสามารถในการพิมพ์ก็เช่นเดียวกัน เครื่องมัลติฟังก์ชันมีความเร็วในการพิมพ์ที่รวดเร็วยิ่งขึ้น สามารถพิมพ์ได้ไวขึ้น, ซอฟต์แวร์ที่ใช้กับเครื่องมัลติฟังก์ชันก็มีความง่ายต่อการใช้งานยิ่งขึ้น โดยจะมีโปรแกรมที่ช่วยเหลือในการพิมพ์ให้เป็นเรื่องง่ายขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการพิมพ์งาน การสแกนรูปภาพ หรือการทำสำเนา และรวมทั้งการรับ-ส่งแฟกซ์ โดยที่การทำงานต่างๆ เหล่านี้สามารถควบคุมการทำงานได้ทั้งจากเครื่องคอมพิวเตอร์โดยผ่านทางซอฟต์แวร์ควบคุม หรือว่าจะเป็นการสั่งงานผ่านทางหน้าจอควบคุม และปุ่มควบคุมทางด้านบนของตัวเครื่อง, การทำงานของเครื่องมัลติฟังก์ชันก็มีมีความสามารถอื่นๆ เพิ่มเติมอีก ไม่ว่าจะเป็นการพิมพ์เอกสาร 2 หน้าอัตโนมัติโดยที่ไม่จำเป็นต้องซื้ออุปกรณ์เพิ่มเติม เพราะได้ติดตั้งไว้เป็นอุปกรณ์มาตรฐานกับตัวเครื่องแล้ว ซึ่งบางรุ่นก็ยังได้เพิ่มเติมความสามารถในการพิมพ์รูปภาพ หรือข้อความลงบนแผ่น CD หรือ DVD อีกด้วย<br />ขั้นตอนประเมินฟังก์ชั่นในการใช้งานที่คุณต้องการ<br />1. พิจารณาถึงความต้องการของคุณ - เลือกสีของปริ้นเตอร์ว่าต้องการสีสัน ,สีดำ หรือ สีขาว - เลือกระหว่าง ปริ้นเตอร์แบบอิงก์เจท(InkJet) หรือ แบบเลเซอร์ (Laser) ตามงบประมาณที่คุณมี (เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์จะแพงกว่า)<br />2. พิจารณาถึงความละเอียดในการพิมพ์และการสแกน ยกตัวอย่างเช่น ถ้าคุณต้องการซื้อเครื่องพิมพ์มาพิมพ์ข้อความขาวดำเพียงเท่านั้น ความละเอียด 600 x 600 dpi ก็เพียงพอแล้ว แต่ถ้าคุณต้องการซื้อปริ้นเตอร์มาพิมพ์งานที่มีความละเอียดสูง หรือ ภาพถ่าย คุณจะต้องเลือกซื้อเครื่องพิมพ์ที่มีความละเอียดสูง 4800 x 1200 dpi เป็นต้น (ใช้เลือกซื้อให้เหมาะสมตามความต้องการใช้งานของคุณ)<br />3. เลือกว่าฟังก์ชั่นถ่ายเอกสาร คุณต้องการแบบ sheetfed or flatbed - แบบ fletbed คือแบบที่สามารถเปิดฝาด้านบนได้ ทำให้สามารถถ่ายเอกสารหรือสแกนได้จากสื่อต่างๆหลายประเภท เช่น<br />หนังสือ รูปภาพ การ์ดต่างๆ<br />4. หาข้อมูลจากบริษัทที่ผลิตและจำหน่ายปริ้นเตอร์ว่ามีมัลติฟังก์ชั่นปริ้นเตอร์รุ่นไหนบ้าง (Canon ,Brother , Samsung, Hp เป็นต้น) จากนั้นให้นำข้อมูลรายละเอียดของปริ้นเตอร์แต่ละรุ่น เช่น ความละเอียดในการพิมพ์ ,ฟังก์ชั่นต่างๆ และราคา มาเปรียบเทียบกัน โดยใช้ข้อมูลจากอินเตอร์เน็ตก็ได้<br />5. เลือกว่าต้องการมัลติฟังก์ชั่น ปริ้นเตอร์ ที่มีความสามารถในการส่งแฟ็กส์หรือไม่ ถ้าต้องการความสามารถนี้ ให้พิจารณาถึง ความเร็วในการส่ง กระดาษที่ใช้ ,ความละเอียดในการส่งfax<br />6. เลือกคุณสมบัติในการสแกนและทำสำเนา เช่น ความเร็วในการก็อปปี้หรือสแกน , ความสามารถในการขยายหรือลดขนาดภาพที่ก็อปปี้หรือสแกน<br />7. ตรวจสอบระบบการเชื่อมต่อของปริ้นเตอร์กับคอมพิวเตอร์ (เช่น USB หรือ Ethernet) และระบบปฏิบัติการที่รองรับ (เช่น Windows หรือ Mac ) ก่อนซื้อจะต้องแน่ใจว่าเมื่อซื้อมาแล้ว ปริ้นเตอร์สามารถทำงานกับคอมพิวเตอร์ของคุณได้<br />อ้างอิง http://www.pharm.chula.ac.th/webelarning/elearning/printer/4_multifunction__allinone_aio.html<br />
5.เครื่องสแกนเนอร์ และเครื่องมัลติฟังก์ชั่น
5.เครื่องสแกนเนอร์ และเครื่องมัลติฟังก์ชั่น
5.เครื่องสแกนเนอร์ และเครื่องมัลติฟังก์ชั่น
5.เครื่องสแกนเนอร์ และเครื่องมัลติฟังก์ชั่น

More Related Content

Similar to 5.เครื่องสแกนเนอร์ และเครื่องมัลติฟังก์ชั่น

อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
phattarasonnarin
 
Computer hardwareของแท้
Computer hardwareของแท้Computer hardwareของแท้
Computer hardwareของแท้
nuttavut_kongtako
 
หน่วยที่ 9 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 9 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 9 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 9 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
Uthaiwan Suantai
 
บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุต
บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุตบทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุต
บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุต
Pokypoky Leonardo
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมฯ
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมฯอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมฯ
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมฯ
kwaxz96_
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอม
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมอุปกรณ์เชื่อมต่อคอม
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอม
kwaxz96_
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
supichayasaetang
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
supichayasaetang
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
Pongtorn Hemasutinan
 
ใบงานท 7
ใบงานท   7ใบงานท   7
ใบงานท 7
Winwin Nim
 
Basiccom2
Basiccom2Basiccom2
Basiccom2
mod2may
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
jibbie23
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
jibbie23
 

Similar to 5.เครื่องสแกนเนอร์ และเครื่องมัลติฟังก์ชั่น (20)

อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
ใบงาน เรื่อง ลักษณะข้อดีและข้อด้อยของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
ใบงาน เรื่อง ลักษณะข้อดีและข้อด้อยของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ใบงาน เรื่อง ลักษณะข้อดีและข้อด้อยของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
ใบงาน เรื่อง ลักษณะข้อดีและข้อด้อยของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
Computer hardwareของแท้
Computer hardwareของแท้Computer hardwareของแท้
Computer hardwareของแท้
 
อุปกรณ์คอมคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมคอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 9 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 9 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 9 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 9 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
 
คู่มือสอนการใช้งานโปรแกรม Civil 3D 2024 ฉบับภาษาไทย
คู่มือสอนการใช้งานโปรแกรม Civil 3D 2024 ฉบับภาษาไทยคู่มือสอนการใช้งานโปรแกรม Civil 3D 2024 ฉบับภาษาไทย
คู่มือสอนการใช้งานโปรแกรม Civil 3D 2024 ฉบับภาษาไทย
 
N2N Solution Provider's Product Catalog Y2024
N2N Solution Provider's Product Catalog Y2024N2N Solution Provider's Product Catalog Y2024
N2N Solution Provider's Product Catalog Y2024
 
การใช้โปรแกรมกราฟิกส์.1
การใช้โปรแกรมกราฟิกส์.1การใช้โปรแกรมกราฟิกส์.1
การใช้โปรแกรมกราฟิกส์.1
 
บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุต
บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุตบทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุต
บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุต
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมฯ
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมฯอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมฯ
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมฯ
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอม
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมอุปกรณ์เชื่อมต่อคอม
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอม
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
ใบงานท 7
ใบงานท   7ใบงานท   7
ใบงานท 7
 
Basiccom2
Basiccom2Basiccom2
Basiccom2
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 

5.เครื่องสแกนเนอร์ และเครื่องมัลติฟังก์ชั่น

  • 1. การเลือกซื้อเครื่อง Scanner (สแกนเนอร์) ในระดับมืออาชีพ (Performance)<br />วิธีการเลือกซื้อเครื่อง Scanner สำหรับผู้ใช้ระดับสูง เครื่อง สแกนเนอร์ ที่แนะกับผู้ใช้ในระดับนี้ จะต้องเป็นเครื่อง สแกนเนอร์ ที่มีความละเอียดที่สูง มีบิตสีในการสแกนที่มาก มีความเร็วในการสแกนที่พอเหมาะไม่ช้าจนเกินไป สามารถสแกนได้ทั้งกระดาษธรรมดา และแผ่นฟิล์ม มีขนาดและรูปร่างที่ไม่ใหญ่มากนัก<br />ในส่วนแรกเลยก็คงจะต้องมาเลือกกันที่ว่าหัวสแกนของเครื่อง สแกนเนอร์ หรือ Scanner ต้องการหัวสแกนแบบใด แบบ CCD Flatbed หรือแบบ CIS Flatbed ซึ่งหัวสแกนทั้ง 2 แบบนี้มีความแตกต่างกันตรงที่ แบบCCD Flatbed จะมีความละเอียดในการสแกนรูปภาพ และความเร็วในการสแกนที่สูงกว่าหัวสแกนแบบ CIS Flatbed ส่วนขนาดของเครื่องหัวสแกนแบบ CCD Flatbed จะมีความหนาและใหญ่กว่าเครื่องที่ใช้หัวสแกนแบบ CIS Flatbed ความละเอียดสำหรับเครื่อง Scanner ในระดับมืออาชีพนี้ควรจะมีความละเอียดอยู่ที่ 1200 x 1200 จุดต่อตารางนิ้วขึ้นไป ยิ่งมีความละเอียดที่สูงก็จะทำให้ภาพที่ได้มีความละเอียดสูงขึ้น แต่ในเครื่อง สแกนเนอร์ (Scanner) ในปัจจุบันจะสามารถปรับความละเอียดในการสแกนเพิ่มขึ้นได้อีกโดยใช้โปรแกรมหรือซอฟต์แวร์เข้าช่วย ความละเอียดที่ได้จากโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์จะอยู่ที่ 9600 จุดต่อตารางนิ้วขึ้นไป<br />ต่อมาเป็นจำนวนบิตสีในการสแกนควรจะอยู่ที่ 48 บิตสี จะอยู่ในโหมด สี 48 บิต Input/ 24 บิต Output ส่วนโหมดสีเท่า 16 บิต Input/ 8 บิต Output ส่วนความเร็วในการพรีวิวสแกนควรจะอยู่ที่ 7 วินาทีหรือน้อยกว่านั้น ส่วนพื้นที่ในการสแกนส่วนใหญ่จะอยู่ที่ 216 x 197 มิลลิเมตร หรือกระดาษขนาด A4 ความสามารถของเครื่อง Scanner (สแกนเนอร์) บางรุ่นจะสามารถสแกนรูปภาพหรือข้อความถูกบันทึกลงบนแผ่นฟิล์มได้ นับว่าเป็นตัวเลือกของผู้ใช้ที่ต้องการคุณสมบัติเพิ่มเติมอย่างอื่นอีก<br />ส่วนการเชื่อมต่อระหว่างเครื่อง Scanner (สแกนเนอร์) กับเครื่องคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบันเครื่อง สแกนเนอร์ (Scanner) ส่วนใหญ่จะเชื่อมต่อผ่านทาง USB 1.1/2.0 อันนี้แล้วแต่เครื่องของผู้ใช้กับว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้ใช้พอร์ต USB เวอร์ชันใด ถ้าเป็น USB 1.1 ก็จะมีความเร็วในการโอนถ่ายข้อมูลน้อยกว่า USB 2.0 แต่ผู้ใช้ไม่ต้องกังวลว่าถ้า USB ของผู้ใช้เป็น USB 2.0 แล้วจะไม่สามารถใช้ USB 1.1 ได้ สามารถใช้ได้ครับแต่ความเร็วในการโอนถ่ายข้อมูลจะช้าลงเพียงเท่านั้น ส่วนในเรื่องพลังไฟที่ใช้ในเครื่องScanner (สแกนเนอร์) บางรุ่นจะมี Adapter ในการเชื่อมต่อเพื่อจ่ายพลังงานให้กับเครื่อง Scanner (สแกนเนอร์) แต่ในบางรุ่นจะสามารถใช้กระแสไฟจากเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรงได้ นับเป็นข้อดีอย่างหนึ่งที่จะทำผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องหาปลั๊กไฟเพิ่มเติม แต่ก็มีข้อเสียอยู่ตรงที่หาก Power Supply ของเครื่องคอมพิวเตอร์มีกำลังไฟไม่เพียงพอแล้วอาจจะทำให้เครื่อง Scanner (สแกนเนอร์) หรืออุปกรณ์บางอย่างไม่สามารถทำงานได้ ในส่วนระบบใช้ก็จะเป็น Windows 98/98SE/ME/2000/XP หรือ Mac OS 8.6-9.x ส่วนในด้านเทคโนโลยีหรือโปรแกรมที่แถมมากับเครื่อง Scanner นั้น อันนี้แล้วแต่ผู้ใช้ว่ามีความถนัดหรือใช้งานได้ง่ายหรือไม่<br />การเลือกซื้อเครื่อง Scanner (สแกนเนอร์) ในระดับประสิทธิภาพคุ้มค่า (Value)<br />การเลือกซื้อ Scanner (สแกนเนอร์) ในแบบมีประสิทธิสมราคา อย่างแรกก็คงเป็นเทคโนโลยีการสแกน มีทั้งแบบ CCD และแบบ CIS แล้วแต่จะเลือกครับ แบบ CCD มีข้อดีตรงที่สามารถสแกนวัตถุได้ทั้ง 2 มิติ และ 3 มิติ (วัตถุ 2 มิติ คือ วัตถุที่มีเพียงด้านเดียว ส่วนวัตถุ 3 มิติ คือ วัตถุที่มีทั้งด้านหน้า ด้านหลัง ด้านข้าง) แบบ CIS ก็สามารถในการสแกนได้เหมือนกับ CCD แต่จะด้อยกว่าในด้านประสิทธิภาพของภาพที่ได้จากการสแกน ส่วนตัวเครื่อง CCD จะมีขนาดและน้ำหมักที่มากกว่า CIS ลำดับต่อมาคือ ความละเอียดในการสแกนควรจะเลือกเครื่องสแกนที่มีความละเอียดในการสแกน 1200 x 1200 จุดต่อตารางนิ้วขึ้นไปครับ แต่เครื่อง Scanner (สแกนเนอร์) บางรุ่นยังสามารถเพิ่มความละเอียดได้ด้วยโปรแกรม (Software)<br />ตัวอย่างเช่น Up to 4800 Optimized หมายความว่า สามารถปรับความละเอียดโดยใช้โปรแกรมที่มาพร้อมกับเครื่อง Scanner (สแกนเนอร์) ทำให้ได้ความละเอียดสูงสุดที่ 4800 จุดต่อตารางนิ้ว ส่วนความละเอียดในการสแกนส่วนใหญ่จะเป็นแบบ 48 บิตสีอยู่แล้ว จะทำให้ได้ประสิทธิภาพในการสแกนความคมชัดที่สูงขึ้นครับ ต่อไปเป็นการเชื่อมต่อเครื่อง สแกนเนอร์ (Scanner) มีการเชื่อมต่อหลายแบบครับ ได้แก่ Parallel เป็นการเชื่อมต่อแบบธรรมดาที่สุด, USB 1.1/2.0 ทำให้การส่งผ่านข้อมูลได้รวดเร็วกว่า Parallel สะดวกในการติดตั้ง, SCSI คล้ายๆ กับ Parallel แต่มีความเร็วในการส่งผ่านข้อมูลสูงกว่า Parallel และสุดท้าย FireWire มีเครื่อง Scanner (สแกนเนอร์) น้อยรุ่นที่จะใช้พอร์ตนี้ในการเชื่อมต่อ เมื่อนำมาติดตั้งไว้ในเครื่อง Scanner (สแกนเนอร์) จะทำให้มีราคาที่สูงขึ้น ผู้ใช้ต้องเลือกด้วยว่าจะใช้พอร์ตอะไรในการเชื่อมต่อ ในปัจจุบัน USB 1.1/2.0 เป็นพอร์ตที่ใช้งานง่ายที่สุดแล้วครับ ราคาก็ไม่แพงมากนัก Scanner (สแกนเนอร์) บางรุ่นยังมีความสามารถที่เครื่อง Scanner (สแกนเนอร์) รุ่นอื่นไม่มีอีก คือ การสแกนแผ่นฟิล์ม หรือแผ่นสไลด์ได้ครับ นับเป็นสิ่งที่เพิ่มเติมขึ้นมาแล้วได้ประโยชน์อีกไม่น้อยครับ<br />เมื่อผู้ใช้กำหนดสเปกของเครื่อง Scanner (สแกนเนอร์) แล้วว่าต้องการแบบไหน ความละเอียดในการสแกนเท่าไหร่ เชื่อมต่อผ่านทางพอร์ตอะไร คราวนี้ก็ต้องมาดูกันที่เทคโนโลยีของบริษัทผู้ผลิตเครื่อง Scanner (สแกนเนอร์) ว่าผู้ใช้ใช้งานง่ายหรือไม่ การที่เราสามารถใช้งานเครื่อง Scanner (สแกนเนอร์) ได้ง่าย ทำให้เราไม่ต้องเสียเวลาในการอ่านคู่มือมากนัก น้ำหนักกับขนาดของเครื่อง Scanner (สแกนเนอร์)ส่วนใหญ่จะไม่ต่างกันมากกนัก ก็แล้วแต่ว่าผู้ใช้ชอบเครื่อง Scanner (สแกนเนอร์) หน้าตาแบบไหน สีอะไรครับ<br />การเลือกซื้อเครื่อง Scanner (สแกนเนอร์) ในระดับประหยัด (Budget)<br />สำหรับผู้ใช้ที่มีงบประมาณในการจัดซื้อน้อย Scanner (สแกนเนอร์) ระดับBudget ก็เป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ดูจะเหมาะสมมากที่สุดและในตลาดบ้านเราตอนนี้ก็มีให้เลือกอยู่หลายรุ่นเช่นเดียวกัน ในด้านของประสิทธิภาพการทำงานโดยรวมก็ยังอยู่ในเกณฑ์ดีที่ใช้ได้เลยครับ แต่ต้องพิจารณาจากใช้งานหลักของผู้ใช้เองด้วยนะครับ อย่างที่เคยได้กล่าวไปถึงวิธีการเลือกซื้อในฉบับก่อนแล้ว ครั้งนี้เราจะเข้ามาลึกอีกสักหน่อย สำหรับการเลือกซื้อ Scanner ระดับล่าง ที่ทางผู้ใช้มีงบประมาณน้อยจะเลือกซื้ออย่างไรถึงจะใช้ได้ การเลือกซื้อ สแกนเนอร์ระดับนี้เราต้องมาพิจารณาถึงองค์ประกอบหลักว่าเครื่อง Scanner (สแกนเนอร์) ที่ทางผู้ใช้สนใจอยู่นั้นมีรุ่นใดบ้าง ให้เอาราคาที่ใกล้เคียงกับงบประมาณที่มีอยู่หลังจากนั้นให้นำมาเปรียบเทียบกันว่ามีข้อแตกต่างกันในส่วนใดบ้าง ด้านเทคโนโลยีของสแกนเป็นรู้ดีอยู่ว่ามีแบบ CIS และแบบที่เป็นCCD ถ้าคุณต้องการเน้นประสิทธิในการสแกนวัตถุสามมิติ แนะนำให้ใช้เทคโนโลยีแบบ CCD จะดีกว่าเพราะการสแกนวัตถุที่เป็นสามมิตินั้นเทคโนโลยี CCD จะเหนือกว่า CIS อยู่เล็กน้อย เนื่องจากระบบการทำงานจะต่างกัน หากคุณต้องการเน้นที่ความรวดเร็ว ประหยัดพื้นที่สามารถจัดเก็บได้สะดวกเมื่อไม่ได้ใช้งานก็ต้องเป็นแบบCISครับ เพราะที่รู้ๆกันว่าข้อเสียของเครื่อง สแกนเนอร์ (Scanner) แบบที่ใช้เทคโนโลยีแบบ CCD ตัวเครื่องค่อนข้างหนาและมีน้ำหนักมากกว่า เทคโนโลยีแบบ CIS พอประมาณครับ จำนวนบิตสีควรเลือกที่เป็นมาตรฐานคือ 48 บิตสีจะดีกว่า<br />การเชื่อมต่อเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เลือกที่คุณคิดว่าสะดวกมากที่สุด อย่างเช่น ถ้าคุณใช้เครื่องพรินเตอร์ที่ต่อกับสาย Parallel อยู่ก็ควรเลือกซื้อ Scanner (สแกนเนอร์) ที่เชื่อมต่อแบบ USB หรือไม่ก็ FireWire แทนจะได้ทำให้การทำงานสอดคล้องกัน ทำงานร่วมกันได้ไม่ต้องมีปัญหาเปลี่ยนไปเปลี่ยนมาให้เสียเวลา หากเครื่องพรินเตอร์ใช้เป็นUSB และถ้าคุณมีช่องUSB เหลือก็ตามสะดวกได้เลยครับ เพราะการเชื่อมต่อแบบ USB นั้นจะรับ-ส่งข้อมูลได้เร็วกว่าแบบ Paralle อยู่พอสมควร หรือถ้าหากว่าอยากลองการเชื่อมต่อแบบใหม่อย่าง FireWire ก็ไม่ว่ากันครับ แต่ต้องดูด้วยว่าเครื่องScanner (สแกนเนอร์) รุ่นที่คุณต้องการสนับสนุนการเชื่อมต่อแบบนี้หรือไม่ เพราะที่เห็นกันในตลาดบ้านเราตอนนี้แบบราคาระดับล่างมีอยู่ไม่กี่รุ่นเท่านั้นที่มีการเชื่อมต่อแบบ FireWire ด้วย แถมไม่ทราบว่าจะมีการ์ดPCI ที่ไว้ต่อกับตัวเชื่อมต่อ FireWire มาให้ด้วยหรือเปล่าในบ้างรุ่น จากการที่ได้ไปสำรวจมาในบางร้านมีแถมมาให้ บางร้านก็ไม่มีต้องเพิ่มเงินซื้อถึงจะได้ ทั้งๆ ที่น่าแถมมาให้พร้อมเครื่อง สแกนเนอร์ (Scanner) อยู่แล้ว ผมก็ไม่เข้าใจว่าทำไมลองคิดดูเล่นๆก็แล้วครับว่าทำไม ส่วนของค่าความละเอียดในการสแกนคงเป็นไปไม่ได้ที่จะได้เครื่อง Scanner (สแกนเนอร์) ที่มีค่าความละเอียดสูงๆ แต่ก็ถือว่าเป็นค่าความละเอียดที่ใช้งานกันใน ระดับปกติเป็นมาตรฐานอยู่แล้วครับ ไม่ต้องเสียใจไปว่าเรามีงบประมาณน้อยไม่สามารถซื้อเครื่อง Scanner (สแกนเนอร์) ที่มีค่าความละเอียดสูงๆได้ เพียงแค่คุณก็ใช้ทำงานได้ในระดับหนึ่งแล้ว<br />อ้างอิง http://www.buycoms.com/buyers-guide/scanner/index.asp<br />เครื่องมัลติฟังก์ชัน (Multifunction)<br />เครื่องมัลติฟังก์ชัน (Multifunction) หรือ All-In-One (AIO) ออกมาพร้อมอุปกรณ์ทำงานที่ครบเครื่องทั้ง พิมพ์ สแกน ก๊อปปี้ และส่งแฟกซ์ คุ้มค่ากับราคาที่น่าลอง สำหรับเครื่องมัลติฟังก์ชันหรือออลอินวันจะเป็นการนำเอาความสามารถและฟังก์ชันการทำงานของ อุปกรณ์ต่อพ่วงหลัก ๆ มารวมเข้าไว้ด้วยกันอย่างครบชุด ซึ่งประกอบไปด้วย เครื่อง Printer เครื่องสแกนเนอร์ เครื่องถ่ายเอกสาร และเครื่องแฟกซ์ แต่สำหรับ เครื่องมัลติฟังก์ชั่นในบางรุ่นอาจจะไม่ได้รวมเอาเครื่องแฟกซ์มาด้วยก็ได้ แต่หลัก ๆ อย่างไรก็สามารถพิมพ์งาน สแกน และถ่ายเอกสารได้<br />ส่วนการทำงานของเครื่องมัลติฟังก์ชันมีการพัฒนาในเรื่องของการทำงานให้มีการทำงานร่วมกันได้อย่างเต็มที่มากขึ้น อย่างที่เราจะเห็นได้จาก ฟังก์ชันในการถ่ายเอกสารนั่นเองซึ่งจะเป็นการประสานงานในการทำงานร่วมกันระหว่างเครื่องสแกนเนอร์กับพริ้นเตอร์ นอกจากนี้ยังได้มีการเพิ่มฟังก์ชัน ในการสั่งงานบางอย่างที่จะช่วยให้การถ่ายเอกสารทำงานได้อย่างสมบูรณ์แบบมากขึ้นด้วย อย่างเช่น การย่อหรือขยายเอกสาร การทำสำเนา หรือจะเป็นการปรับ เลือกโหมดการถ่ายเอกสารสีหรือการถ่ายเอกสารขาว-ดำได้ เป็นต้น<br />ส่วนเครื่องมัลติฟังก์ชันที่มีแฟกซ์ในตัวเราจะสังเกตได้จากแผงควบคุมที่จะมีปุ่มสำหรับกดเลขหมายโทรศัพท์ได้ สำหรับกลุ่มผู้ใช้ที่เหมาะสำหรับ เครื่องมัลติฟังก์ชันนี้จะมีทั้งกลุ่มธุรกิจองค์กรทั้งขนาดเล็กและขนาดกลาง โฮมออฟฟิศ และกลุ่มผู้ใช้งานตามบ้าน ซึ่งสำหรับกลุ่มผู้ใช้งานตามบ้านนั้นในตอนนี้ กำลังได้รับความนิยมมากขึ้นเรื่อย ๆ เพราะทางผู้ผลิตทั้งหลายต่างก็ได้ส่งเครื่องมัลติฟังก์ชันราคาประหยัดลงมาทำตลาดกัน ซึ่งจะมีราคาเริ่มต้นอยู่ที่ประมาณ 4000 บาทเท่านั้น และเมื่อลองเทียบกันกับการซื้อPrinterและScannerแบบแยกชิ้นแล้ว จะเห็นได้ว่ามีราคาต่างกันไม่มาก แต่เมื่อดูถึงจุดเด่นของมัลติฟังก์ชันที่ประหยัดพื้นที่ในการติดตั้งกว่า และสามารถถ่ายเอกสารทั้งสีทั้งขาว-ดำได้แล้วถือว่าเป็นตัวเลือกใหม่ที่น่าสนใจทีเดียว<br />ในการเลือกซื้อเครื่องมัลติฟังก์ชันเราจะอาศัยหลักการเลือกซื้อแบบแยกชิ้นอาจจะไม่ได้ เพราะในการเลือกซื้อแบบแยกชิ้นอย่างการซื้อPrinterสักเครื่องเราอาจจะพิจารณาจากความละเอียดในการพิมพ์เป็นอันดับต้น ๆ ก็ได้ แต่สำหรับการซื้อมัลติฟังก์ชันนั้นต่างกันเนื่องจากมัลติฟังก์ชันเป็นอุปกรณ์แบบรวมชิ้น เพราะฉะนั้นสิ่งที่เราคาดหวังว่าในการพิมพ์ต้องมีความละเอียดเท่านี้ สแกนเนอร์ต้องสแกนงานได้ที่ความละเอียดเท่านี้นั้นเป็นเรื่องที่กำหนดได้ยาก ถ้าให้ดีเราควรเลือกซื้อตามความต้องการและความเหมาะสมในการใช้งานเป็นหลักดีกว่า อย่างเช่นถ้าที่ออฟฟิศของคุณมีเครื่องแฟกซ์อยู่แล้วก็ควรเลือกซื้อเครื่องมัลติฟังก์ชันแบบที่ไม่มีแฟกซ์ในตัวมาใช้ ซึ่งราคาส่วนต่างระหว่างรุ่นที่มีแฟกซ์กับไม่มีแฟกซ์จะต่างกันค่อนข้างมากอยู่ ส่วนในเรื่องของความละเอียดในการพิมพ์และการสแกนงานนั้น ในการเลือกซื้อให้ขึ้นอยู่กับลักษณะของงานด้วย อย่างถ้ามีความจำเป็นต้องมีการใช้งานเกี่ยวกับด้านกราฟิกบ้าง เครื่องมัลติฟังก์ชันที่มีความละเอียดสูง ๆ ก็จะเหมาะสมกับงานแบบนี้มากกว่า หรือถ้าหากมีการใช้งานการพิมพ์หรือการสแกนที่ต้องการความละเอียดสูงจริง ๆ หรือมีการใช้งานเป็นประจำ ควรจะเลือกซื้อแบบแยกชิ้นไปเลยดีกว่า เพราะในการใช้งานแบบเฉพาะเจาะจงนั้นอุปกรณ์แบบแยกชิ้นย่อมทำงานได้ดีกว่าเสมอ เราต้องอย่าลืมว่า เครื่องมัลติฟังก์ชันนั้นถูกออกแบบมาเพื่อช่วยอำนวยความสะดวก และเพื่อเพิ่มความคล่องตัวในการทำงานให้มากขึ้น แต่ถ้าจะเลือกซื้อมัลติฟังก์ชันความละเอียดมีตั้งแต่ 600 x 600 จุดต่อตารางนิ้ว, 1200 x 1200 ตารางนิ้ว ความสามารถในการพิมพ์ขาว-ดำ 12 แผ่นต่อนาทีขึ้นไป พิมพ์สี 10 แผ่นต่อนาทีขึ้นไป ส่วนความละเอียดในการสแกนตั้งแต่ 600 x 1200 จุดต่อตารางนิ้ว ยิ่งมากยิ่ง สแกนได้ความละเอียดสูง จำนวนบิตสีก็สำคัญส่วนใหญจะประมาณ 48 บิตสี บางรุ่นยังสามารถสแกนแล้วย่อ – ขยายได้ตั้งแต่ 25% - 400% ในส่วนนี้ เป็นส่วนเพิ่มเติม หน่วยความจำในเครื่องมัลติฟังก์ชันก็สำคัญควรจะมีประมาณ 16 MB ขึ้นไป จะได้ช่วยประมวลผลในการพิมพ์ได้เร็วขึ้น<br />การเชื่อม ต่อสามารถเลือกได้ว่าต้องการแบบใด Parallel, USB 1.1/2.0, FireWire และ Ethernet ขอแนะนำให้ใช้ USB 1.1/2.0 เพราะราคาไม่สูงมากนัก แต่ถ้า ต้องการความเร็วในส่งข้อมูลที่สูงขึ้นแนะนำ FireWire ครับ ฟังก์ชันในการใช้งานในตอนนี้มัลติฟังก์ชันมีสามารถในการพิมพ์ภาพจากกล้องดิจิตอล หรือสื่อ บันทึกข้อมูล Memory Stick, MutiMedia Card(MMC), Secure Disk(SD), CompactFlash(CF) และ XD-Cart<br />สำหรับเครื่องมัลติฟังก์ชันในปัจจุบันนั้นมีการพัฒนาขึ้นมาก ไม่ว่าจะเป็นเทคโนโลยีในการพิมพ์ที่มีความละเอียดในการพิมพ์ที่สูงขึ้นสามารถพิมพ์รูปภาพได้สวยขึ้น ไม่แพ้เครื่องอิงค์เจ็ตพริ้นเตอร์, ในเรื่องของความสามารถในการพิมพ์ก็เช่นเดียวกัน เครื่องมัลติฟังก์ชันมีความเร็วในการพิมพ์ที่รวดเร็วยิ่งขึ้น สามารถพิมพ์ได้ไวขึ้น, ซอฟต์แวร์ที่ใช้กับเครื่องมัลติฟังก์ชันก็มีความง่ายต่อการใช้งานยิ่งขึ้น โดยจะมีโปรแกรมที่ช่วยเหลือในการพิมพ์ให้เป็นเรื่องง่ายขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการพิมพ์งาน การสแกนรูปภาพ หรือการทำสำเนา และรวมทั้งการรับ-ส่งแฟกซ์ โดยที่การทำงานต่างๆ เหล่านี้สามารถควบคุมการทำงานได้ทั้งจากเครื่องคอมพิวเตอร์โดยผ่านทางซอฟต์แวร์ควบคุม หรือว่าจะเป็นการสั่งงานผ่านทางหน้าจอควบคุม และปุ่มควบคุมทางด้านบนของตัวเครื่อง, การทำงานของเครื่องมัลติฟังก์ชันก็มีมีความสามารถอื่นๆ เพิ่มเติมอีก ไม่ว่าจะเป็นการพิมพ์เอกสาร 2 หน้าอัตโนมัติโดยที่ไม่จำเป็นต้องซื้ออุปกรณ์เพิ่มเติม เพราะได้ติดตั้งไว้เป็นอุปกรณ์มาตรฐานกับตัวเครื่องแล้ว ซึ่งบางรุ่นก็ยังได้เพิ่มเติมความสามารถในการพิมพ์รูปภาพ หรือข้อความลงบนแผ่น CD หรือ DVD อีกด้วย<br />ขั้นตอนประเมินฟังก์ชั่นในการใช้งานที่คุณต้องการ<br />1. พิจารณาถึงความต้องการของคุณ - เลือกสีของปริ้นเตอร์ว่าต้องการสีสัน ,สีดำ หรือ สีขาว - เลือกระหว่าง ปริ้นเตอร์แบบอิงก์เจท(InkJet) หรือ แบบเลเซอร์ (Laser) ตามงบประมาณที่คุณมี (เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์จะแพงกว่า)<br />2. พิจารณาถึงความละเอียดในการพิมพ์และการสแกน ยกตัวอย่างเช่น ถ้าคุณต้องการซื้อเครื่องพิมพ์มาพิมพ์ข้อความขาวดำเพียงเท่านั้น ความละเอียด 600 x 600 dpi ก็เพียงพอแล้ว แต่ถ้าคุณต้องการซื้อปริ้นเตอร์มาพิมพ์งานที่มีความละเอียดสูง หรือ ภาพถ่าย คุณจะต้องเลือกซื้อเครื่องพิมพ์ที่มีความละเอียดสูง 4800 x 1200 dpi เป็นต้น (ใช้เลือกซื้อให้เหมาะสมตามความต้องการใช้งานของคุณ)<br />3. เลือกว่าฟังก์ชั่นถ่ายเอกสาร คุณต้องการแบบ sheetfed or flatbed - แบบ fletbed คือแบบที่สามารถเปิดฝาด้านบนได้ ทำให้สามารถถ่ายเอกสารหรือสแกนได้จากสื่อต่างๆหลายประเภท เช่น<br />หนังสือ รูปภาพ การ์ดต่างๆ<br />4. หาข้อมูลจากบริษัทที่ผลิตและจำหน่ายปริ้นเตอร์ว่ามีมัลติฟังก์ชั่นปริ้นเตอร์รุ่นไหนบ้าง (Canon ,Brother , Samsung, Hp เป็นต้น) จากนั้นให้นำข้อมูลรายละเอียดของปริ้นเตอร์แต่ละรุ่น เช่น ความละเอียดในการพิมพ์ ,ฟังก์ชั่นต่างๆ และราคา มาเปรียบเทียบกัน โดยใช้ข้อมูลจากอินเตอร์เน็ตก็ได้<br />5. เลือกว่าต้องการมัลติฟังก์ชั่น ปริ้นเตอร์ ที่มีความสามารถในการส่งแฟ็กส์หรือไม่ ถ้าต้องการความสามารถนี้ ให้พิจารณาถึง ความเร็วในการส่ง กระดาษที่ใช้ ,ความละเอียดในการส่งfax<br />6. เลือกคุณสมบัติในการสแกนและทำสำเนา เช่น ความเร็วในการก็อปปี้หรือสแกน , ความสามารถในการขยายหรือลดขนาดภาพที่ก็อปปี้หรือสแกน<br />7. ตรวจสอบระบบการเชื่อมต่อของปริ้นเตอร์กับคอมพิวเตอร์ (เช่น USB หรือ Ethernet) และระบบปฏิบัติการที่รองรับ (เช่น Windows หรือ Mac ) ก่อนซื้อจะต้องแน่ใจว่าเมื่อซื้อมาแล้ว ปริ้นเตอร์สามารถทำงานกับคอมพิวเตอร์ของคุณได้<br />อ้างอิง http://www.pharm.chula.ac.th/webelarning/elearning/printer/4_multifunction__allinone_aio.html<br />