SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
Download to read offline
รายงานการศึกษาค้นคว้า
เรื่อง การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
จัดทาโดย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/7
นายธนกฤต ปิ่นทอง เลขที่ 1
นางสาวธัญสิริ นวลวิจิตร เลขที่ 37
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาI 30202
การสื่อสารและการนาเสนอ
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557
เสนอ ครู ชารีญา ชูเมือง
โรงเรียนอามาตย์พานิชนุกูล
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต13
จังหวัดกระบี่
เกี่ยวกับงานที่ศึกษาค้นคว้า
เรื่อง การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
ผู้จัดทา : 1. นายธนกฤต ปิ่นทอง เลขที่ 1
2. นางสาวธัญสิริ นวลวิจิตร เลขที่ 37
ครูที่ปรึกษา : อาจารย์ ชารีญา ชูเมือง
สถานศึกษา : โรงเรียนอามาตย์พานิชนุกูล
สานักงานเขตพื้นที่การมัธยมศึกษา เขต13
จังหวัดกระบี่
ปีการศึกษา : 2557
ก
กิตติกรรมประกาศ
การศึกษาค้นคว้าเรื่อง การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม นี้สาเร็จขึ้นได้ด้วยความกรุณาจาก
อาจารย์ ชารีญา ชูเมือง ที่ได้กรุณาให้คาปรึกษา แนะนา และตรวจสอบ แก้ไข ข้อพกพร่องทุกขั้นตอนของ
การจัดทาโครงงาน
ขอขอบคุณ บิดา มารดา เพื่อนนักเรียน ตลอดจนผู้ที่เกี่ยวข้องทุกท่านที่ไม่ได้กล่าวนามไว้ ณ ที่นี้ ที่ได้
ให้กาลังใจและมีส่วนช่วยเหลือให้โครงงานฉบับนี้สาเร็จลุล่วงได้ด้วยดี
ท้ายสุดนี้ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการศึกษาค้นคว้าเรื่องนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาเกี่ยวกับ
เรื่องดาวเทียม ของผู้สนใจต่อไป
คณะผู้จัดทา
นายธนกฤต ปิ่นทอง
นางสาวธัญสิริ นวลวิจิตร
ข
หัวข้อเรื่อง : การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
ผู้เสนอรายงาน : นายธนกฤต ปิ่นทอง
นางสาวธัญสิริ นวลวิจิตร
ครูที่ปรึกษาการศึกษาค้นคว้า : อาจารย์ ชารีญา ชูเมือง
ปีการศึกษา : 2557
บทคัดย่อ
การศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1 เพื่อศึกษาและดาเนินการจัดทารายงานเชิง
วิชาการในรูปแบบการบูรณาการในรายวิชาวิทยาศาสตร์ 2 เพื่อศึกษาค้นคว้าที่มาและความสาคัญของ
ดาวเทียมไทยคมที่มีผลต่อระบบการสื่อสารไทยในปัจจุบัน 3 เพื่อสร้างความเข้าใจและนาความรู้ที่ได้ไปใช้ให้
เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ผลการศึกษาพบว่า การศึกษาค้นคว้าเรื่อง ดาวเทียม มีวัตถุประสงค์ เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้และ
ความเข้าใจในเรื่องของดาวเทียมและนาความรู้เรื่องดาวเทียมที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันโดยมีวิธีการ
ดาเนินงาน คือดาเนินการศึกษาโดยสืบหาข้อมูลทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเว็บไซต์ต่าง ๆ จากการศึกษาค้นคว้า
สรุปผลได้ดังนี้คือดาวเทียมจะถูกส่งขึ้นไปลอยอยู่ในตาแหน่ง วงโคจรค้างฟ้า ซึ่งมีระยะห่างจากพื้นโลก
ประมาณ 36,000 - 38,000 กิโลเมตรดาวเทียมได้ถูกส่งขึ้นไปโคจรรอบโลกครั้งแรก เมื่อปี พ.ศ. 2500
ดาวเทียมดังกล่าวมีชื่อว่า “สปุตนิก” ดาวเทียมดวงแรกของประเทศไทย เป็นดาวเทียมรุ่น HS-376 สร้างโดย
Huges Space Aircraft (บริษัทลูกของ โบอิง) โคจรบริเวณพิกัดที่ 120 องศาตะวันออก ส่งขึ้นสู่วงโคจรเมื่อ
17 ธันวาคม พ .ศ. 2536 มีอายุการใช้งานประมาณ 15 ปี (ถึง พ.ศ. 2551) ดามเทียมไทยคมในปัจจุบันมี
ทั้งหมด 7 ดวง ซึ่งดาวเทียมไทยคม 7 ขึ้นสู่วงโคจร เมื่อวันที่ 7 กันยายน 2557 ที่ผ่านมา เวลา 01.00 น. (ตาม
เวลาท้องถิ่น) ด้วยจรวดขนส่งฟอลคอน 9 ของบริษัท สเปซ เอ็กซพลอเรชั่น เทคโนโลยีส์ คอร์ปอเรชั่น จาก
จากการศึกษาค้นคว้าเรื่องดาวเทียมทาให้คณะผู้จัดทาได้มีความรู้ในเรื่องนั้นๆ เป็นอย่างมาก ได้ประสบการณ์
จากการทางานเป็นหมู่คณะ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าโครงงานฉบับนี้จะมีประโยชน์แก่ผู้พบเห็นเป็นอย่างมาก
ค
สารบัญ
เรื่อง หน้า
เกี่ยวกับงานที่ศึกษาค้นคว้า ก
กิตติกรรมประกาศ ข
บทคัดย่อ ค
บทที่ 1 บทนา 1
- แนวคิด ที่มาและความสาคัญ 1
- วัตถุประสงค์ 1
- ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า 2
- แผนการกาหนดเวลาปฏิบัติงาน 2
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 3
- ประวัติดาวเทียม 3
- ส่วนประกอบดาวเทียม 3
- ระบบการส่งสัญญาณของดาวเทียม 4
- ประเภทดาวเทียม 5
- ดาวเทียมไทยคม 6
- ประวัติดาวเทียมไทยคม 6
- ดาวเทียมไทยคม 1 6
- ดาวเทียมไทยคม 2 7
- ดาวเทียมไทยคม 3 7
- ดาวเทียมไทยคม 4 7
- ดาวเทียมไทยคม 5 7
- ดาวเทียมไทยคม 6 8
- ดาวเทียมไทยคม 7 8
บทที่ 3 ขั้นตอนและวิธีการศึกษาค้นคว้า 9
บทที่ 4 ผลการศึกษาค้นคว้า 10
บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ 11
- สรุปผลการศึกษาค้นคว้า 11
- ข้อเสนอแนะ 11
บรรณานุกรม 12
ภาคผนวก 13
ข้อมูลผู้จัดทา 18
บทนา
ที่มาและความสาคัญ
เนื่องจากโรงเรียนอามาตย์พานิชนุกูล และกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ได้จัดให้มีการเรียนการ
สอนตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2557 ซึ่งในแผนการ
เรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ โดยจัดให้มีการเรียนการสอนในรายวิชา การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้
(Independent study หรือ directed study) โดยการที่นักเรียนได้รับการจัดการเรียนการสอนให้ความ
มุ่งเน้นในด้านวิทยาศาสตร์ ซึ่งประกอบไปด้วยรายวิชา ชีววิทยา เคมี ฟิสิกส์ โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ จึง
ทาให้ข้าพเจ้าและคณะได้มีความสนใจที่ศึกษาค้ นคว้าเกี่ยวกับรายวิชาดาราศาสตร์ที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับ
ดาวเทียมซึ่งเป็นสิ่งประดิษฐ์ที่มนุษย์คิดค้นขึ้น ที่สามารถโคจรรอบโลก โดยอาศัยแรงดึงดูดของโลก ส่งผลให้
สามารถโคจรรอบโลกได้ในลักษณะเดียวกันกับที่ดวงจันทร์โคจรรอบโลก และโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์
วัตถุประสงค์ของ สิ่งประดิษฐ์นี้เพื่อใช้ ทางการทหาร การสื่อสาร การรายงานสภาพอากาศ การวิจัยทาง
วิทยาศาสตร์เช่นการสารวจทางธรณีวิทยาสังเกตการณ์สภาพของอวกาศ โลก ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาว
อื่นๆ รวมถึงการสังเกตวัตถุ และดวงดาว กาแล็กซี ต่างๆ
ซึ่งในปัจจุบันมนุษย์ต้องอาศัยดาวเทียมในการติดต่อสื่อสาร โดยมีจุดประสงค์เพื่อใช้ในการดารงชีวิต
ซึ่งในปัจจุบันมนุษย์ได้ติดต่อสื่อสารกันผ่านระบบโทรมานาคม ซึ่งอาศัยสัญญาณผ่านระบบดาวเทียมในการ
สื่อสารระหว่างกันโดยมีโทรศัพท์ไร้สายเพื่อเชื่อมสัญญาณกับระบบดาวเทีย ม ด้วยเหตุนี้จึงทาให้จุดประกาย
ทางความคิดและเกิดความสนใจจนเป็นที่มาของการศึกษาเรื่องราวของดาวเทียมสื่อสารว่ามีวิวัฒนาการและ
การพัฒนามาอย่างไรจนเป็นรากฐานทางการสื่อสารที่สาคัญของนานาประเทศ
วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า
1. เพื่อศึกษาและดาเนินการจัดทารายงานเชิงวิชาการในรูปแบบการบูรณาการในรายวิชาวิทยาศาสตร์
2. เพื่อศึกษาค้นคว้าที่มาและความสาคัญของดาวเทียมไทยคมที่มีผลต่อระบบการสื่อสารไทยในปัจจุบัน
3. เพื่อสร้างความเข้าใจและนาความรู้ที่ได้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ขอบเขตของการศึกษา
การสื่อสารดาวเทียมนับว่าเป็นวิธีการในการส่งข้อมูลข่าวสารในปัจจุบันที่นิยมกันมาก ซึ่งอานวยความ
สะดวกในการใช้งานได้อย่างกว้างขวาง และรวดเร็ว เป็นการสื่อสารที่มีวิวัฒนาการมาจากการสื่อสารแบบ
ไมโครเวฟ และมีผู้ที่เขียนนิยายวิทยาศาสตร์ขึ้นเมื่อป ระมาณ 60 ปีก่อน และต่อมาก็สามารถทาขึ้นได้จริง ๆ
และพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง มาจนมีเทคโนโลยีในการสื่อสารที่สูงมากขึ้น ในช่วงแรกๆ ดาวเทียมได้ประดิษฐ์
ขึ้นมาใช้ประโยชน์ในด้านการทหาร และได้พัฒนามาใช้ทางด้านการพยากรณ์อากาศ การค้นหาทรัพยกรธรณี
และการสื่อสาร ซึ่งจะกล่าวถึงในที่นี้คือ " ดาวเทียมสื่อสาร " ดาวเทียมไทยคมมีข้อได้เปรียบกว่าดาวเทียมดวง
อื่นๆ ที่ประเทศไทยใช้อยู่คือ มีความแรงของสัญญาณเหมาะสมกับประเทศไทยเป็นพิเศษ และเป็นดาวเทียม
ดวงเดียวในภูมิภาคนี้ที่มีความถี่ย่าน Ku-Band ประโยชน์ของดาวเทียมไทยคม สามารถใช้ประโยช น์ได้หลาย
ด้านเช่น ด้านโทรทัศน์ วิทยุ โทรมานาคม และการกระจายเสียง เป็นต้น
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้ศึกษาและสามารถดาเนินการสร้าง รายงานเชิงวิชาการ “การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม”
2. รวบรวมข้อมูลและข้อเท็จจริงตลอดจนเนื้อหาสาระและประเด็นสาคัญเกี่ยวกับดาวเทียมไทยคมได้อย่าง
ครบถ้วน
3. สามารถเกิดความเข้าใจในดาวเทียมไทยคมและนาความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันให้เกิด
ประโยชน์
แผนการกาหนดเวลาปฏิบัติงาน
ขั้นตอนการดาเนินงาน
2557 2558
ต.ค พ.ย ธ.ค ม.ค ก.พ มี.ค
1. เลือกหัวข้อที่สนใจ
2. เขียนโครงร่างรายงาน
3. ศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูล
4. ตีความพิจารณาข้อมูล
5. สรุปผลการศึกษาค้นคว้า
6. จัดทารายงานเป็นรูปเล่ม
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ในการศึกษาค้นคว้าเรื่อง “ดาวเทียม” กลุ่มของข้าพเจ้าได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารที่เกี่ยวข้องดังนี้
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ดาวเทียมไทยคม จัดเป็นดาวเทียมสื่อสารซึ่งเป็นดาวเทียมคิดค้นขึ้นโดยคนไทยเพื่อใช้ในการ
ติดต่อสื่อสารผ่านระบบโทรมนาคมในการรับสัญญาณ ซึ่งถือเป็นถือเป็นดาวเทียมที่สาคัญดวงเดียวที่ประเทศ
ไทยใช้ในระบบสื่อสารในเครือข่ายต่างๆซึ่งดาวเทียมแต่ละดวงนั้นต้องใช้ระยะเวลาในการสร้างและออกแบบ
การทางานเพื่อให้ได้มาซึ่งประสิทธิภาพในการทางาน
1. ประวัติดาวเทียม
ดาวเทียมได้ถูกส่งขึ้นไปโคจรรอบโลกครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2500 ดาวเทียมดังกล่าวมีชื่อว่า "สปุตนิก
(Sputnik)" โดยรัสเซียเป็นผู้ส่งขึ้นไปโคจร สปุตนิกทาหน้าที่ตรวจสอบการแผ่รังสีของชั้นบรรยากาศชั้นไอโอ
โนสเฟีย ในปี พ.ศ. 2501 สหรัฐได้ส่งดาวเทียมขึ้นไปโคจรบ้างมีชื่อว่า "Explorer" ทาให้รัสเซียและสหรัฐเป็น 2
ประเทศผู้นาทางด้านการสารวจทางอวกาศ และการแข่งขั้นกันระหว่างทั้งคู่ได้เริ่มขึ้นในเวลาต่อมา
2. ส่วนประกอบของดาวเทียม
โครงสร้างดาวเทียม เป็นส่วนประกอบที่สาคัญมาก โครงจะมีน้าหนักประมาณ 15 - 25% ของน้าหนัก
รวม ดังนั้น จึงจาเป็นต้องเลือกวัสดุที่มีน้าหนักเบา และต้องไม่เกิดการสั่นมากเกินที่กาหนด
ระบบเครื่องยนต์ ซึ่งเรียกว่า "aerospike" อาศัยหลักการทางานคล้ายกับเครื่องอัดอากาศ และปล่อย
ออกทางปลายท่อ ซึ่งระบบดังกล่าวจะทางานได้ดีในสภาพสุญญากาศ ซึ่งต้อ งพิจารณาถึงน้าหนักบรรทุกของ
ดาวเทียมด้วย
ระบบพลังงาน ทาหน้าที่ผลิตพลังงาน และกักเก็บไว้เพื่อแจกจ่ายไปยังระบบไฟฟ้าของดาวเทียม โดยมี
แผงรับพลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Cell) ไว้รับพลังงานจากแสงอาทิตย์เพื่อเปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้า ให้
ดาวเทียม แต่ในบางกรณีอาจใช้พลังงานนิวเคลียร์แทน
ระบบสื่อสารและนาทาง มีอุปกรณ์ตรวจจับความร้อน ซึ่งจะทางาน โดยแผงวงจรควบคุมอัตโนมัติอุปกรณ์
ควบคุมระดับความสูง เพื่อรักษาระดับความสูงให้สัมพันธ์กันระหว่างพื้นโลก
3. หลักการทางานของดาวเทียม
ดาวเทียมจะถูกส่งขึ้นไปลอยอยู่ในตาแหน่ง วงโคจรค้างฟ้า ซึ่งมีระยะห่างจากพื้นโลก
ประมาณ 36,000 – 38,000 กิโลเมตร และโคจรตามการหมุนของโลก เมื่อเมื่อเปรียบเทียบกับพื้นโลกจะ
เสมือนว่าดาวเทียมลอยนิ่งอยู่บนท้องฟ้า และดาวเทียมจะมีระบบเชื้อเพลิงเพื่อควบคุมตาแหน่งให้อยู่ใน
ตาแหน่งองศาที่ได้สั มปทานเอาไว้ กับหน่วยงานที่ดูแลเรื่องตาแหน่งวงโคจรของดาวเทียมคื อ IFRB(
International Frequency Registration Board )
ดาวเทียมที่ลอยอยู่บนท้องฟ้า จะทาหน้าที่เหมือนสถานีทวนสัญญาณ คือจะรับสัญญาณที่ยิงขึ้นมา
จากสถานีภาคพื้นดิน เรียกสัญญาณนี้ว่าสัญญาณขาขึ้นหรือ ( Uplink ) รับและขยายสัญญาณพร้อมทั้งแปลง
สัญญาณให้มีความถี่ต่าลงเพื่อป้องกันการรบกวนกันระหว่างสัญญาณขาขึ้นและส่งลงมา โดยมีจานสายอากาศ
ทาหน้าที่รับและส่งสัญญาณ ส่วนสัญญาณในขาลงเรียกว่า ( Downlink ) วงโคจรดาวเทียม (Satellite Orbit)
เมื่อแบ่งตามระยะความสูง (Altitude) จากพื้นโลกแบ่งเป็น 3 ระยะคือ
วงโคจรระยะต่า (Low Earth Orbit "LEO")
อยู่สูงจากพื้นโลกไม่เกิน 1,000 กม. ใช้ในการสังเกตการณ์ สารวจสภาวะแวดล้อม , ถ่ายภาพ ไม่
สามารถใช้งานครอบคลุมบริเวณใดบริเวณหนึ่งได้ตลอดเวลา เพราะมีความเร็วในการเคลื่อนที่สูง แต่จะ
สามารถบันทึกภาพคลุมพื้นที่ตามเส้นทางวงโคจรที่ผ่านไป ตามที่สถานีภาคพื้นดินจะกาหนดเส้นทางโคจรอยู่
ในแนวขั้วโลก (Polar Orbit) ดาวเทียมวงโคจรระยะต่าขนาดใหญ่บางดวงสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าใน
เวลาค่า หรือก่อนสว่าง เพราะดาวเทียมจะสว่างเป็นจุดเล็ก ๆ เคลื่อนที่ผ่านในแนวนอนอย่างรวดเร็ว
วงโคจรระยะปานกลาง(Medium Earth Orbit "MEO")
อยู่ที่ระยะความสูงตั้งแต่ 1,000 กม. ขึ้นไป ส่วนใหญ่ใช้ในด้านอุตุนิยมวิทยา และสามารถใช้ในการ
ติดต่อสื่อสารเฉพาะพื้นที่ได้ แต่หากจะติดต่อให้ครอบคลุมทั่วโลกจะต้องใช้ดาวเทียมหลายดวงในการส่งผ่าน
วงโคจรประจาที่ (Geostationary Earth Orbit "GEO")
เป็นดาวเทียมเพื่อการสื่อสารเป็นส่วนใหญ่ อยู่สูงจากพื้นโลกประมาณ 35,780 กม. เส้นทางโคจรอยู่
ในแนวเส้นศูนย์สูตร (Equatorial Orbit) ดาวเทียมจะหมุนรอบโลกด้วยความเร็วเชิงมุมเท่ากับโลกหมุนรอบ
ตัวเองทาให้ดู เหมือนลอยนิ่งอยู่เหนือ จุดจุดหนึ่งบนโลกตลอดเวลา (เรียกทั่ว ๆ ไปว่า "ดาวเทียมค้างฟ้า ")
ดาวเทียมจะอยู่กับที่เมื่อเทียบกับโลกมีวงโคจรอยู่ในระนาบเดียวกันกับ เส้นศูนย์สูตร อยู่สูงจากพื้นโลก
ประมาณ 35,786 กม. วงโคจรพิเศษนี้เรียกว่า “วงโคจรค้างฟ้า” หรือ “วงโคจรคลาร์ก” (Clarke Belt) เพื่อ
เป็นเกียรติแก่นาย อาร์เทอร์ ซี. คลาร์ก ผู้นาเสนอแนวคิดเกี่ยวกับวงโคจรนี้ เมื่อ เดือนตุลาคม ค.ศ. 1945
วงโคจรคลาร์ก เป็นวงโคจรในระนาบเส้นศูนย์สูตร (EQUATOR) ที่มีความสูงเป็นระยะที่ทาให้
ดาวเทียมที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วเชิงมุม เท่ากันกับการหมุนของ โลกแล้วทาให้เกิดแรงเหวี่ยงหนีศูนย์กลางมีค่า
พอดีกับค่าแรงดึงดูดของโลกพอดี เป็นผลให้ดาวเทียมดูเหมือนคงอยู่กับที่ ณ ระดับความสูงนี้ ดาวเทียมค้างฟ้า
ส่วนใหญ่ใช้ในการสื่อสารระหว่างประเทศและภายในประเทศ เช่น ดาวเทียมอนุกรม อินเทลแซต
4. ระบบการส่งสัญญาณดาวเทียม
แบบ C - Band จะส่งคลื่นความถี่กลับมายังโลกอยู่ในช่วงความถี่ 3.4 - 4.2 GHz ซึ่งจะมีฟุตปริ้นท์ ที่
มีขนาดกว้าง ครอบคลุมพื้นที่ การให้บริการได้หลายประเทศ เช่น ของดาวเทียมไทยคม 2/5 พื้นที่ให้บริการ
คือทวีปเอเซีย และยุโรปบางส่วน
แบบ KU - Band จะส่งคลื่นความถี่ 10 - 12 GHz สูงกว่าความถี่ C-Band สัญญาณที่ส่งจะครอบคลุม
พื้นที่ได้น้อย จึงเหมาะสาหรับการส่งสัญญาณเฉพาะภายในประเทศ
5. ประเภทของดาวเทียม
ดาวเทียมสื่อสาร
ดาวเทียมสื่อสารเป็นดาวเทียมที่ต้องทางานอยู่ตลอดเวลา เรียกได้ว่าทางานตลอด 24 ชม. ไม่มี
วันหยุด เพื่อที่จะเชื่อมโยงเครือข่ายการสื่อสารของโลกเข้าไว้ด้วยกัน ดาวเทียมสื่อสารเมื่อถูกส่งเข้าสู่วงโคจร
มันก็พร้อมที่จะทางานได้ทันที มันจุส่งสัญญาณไปยังสถานีภาคพื้นดิน สถานีภาคพื้นดินจะรับสัญญาณโดยใช้
อุปกรณ์ ที่เรียกว่า "Transponder" ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่พักสัญญาณ แล้วกระจายสัญญาณไปยังจุดรับ
สัญญาณต่างๆ บนพื้นโลก ดาวเทียมสื่อสารสามารถส่งผ่านสัญญาณโทรศัพท์ ข้อมูลต่างๆ รวมถึงสัญญาณภาพ
โทรทัศน์ได้ไปยังทุกหนทุกแห่ง
ดาวเทียมสารวจทรัพยากร
การใช้ดาวเทียมสารวจทรัพยากรและสภาพแวดล้อมของโลก เป็นการผสมผสานระหว่างเทคโนโลยี
การถ่ายภาพ และโทรคมนาคม โดยการทางานของดาวเทียมสารวจทรัพยากรจะใช้หลักการ สารวจข้อมูลจาก
ระยะไกลหลักการที่สาคัญของดาวเทียมสารวจทรัพยากร คือ Remote Sensing โดยใช้คลื่นแสงที่เป็น
พลังงานแม่เหล็กไฟฟ้า (EME : Electro - Magnetic Energy) ทาหน้าที่เสมือนสื่อกลางส่งผ่านระหว่างวัตถุ
เป้าหมาย และอุปกรณ์บันทึกข้อมูล อุปกรณ์ถ่ายภาพที่ติดตั้งอยู่บนดาวเทียม มักจะได้รับการออกแบบให้มี
ความสามารถถ่ายภาพ และมีความหลากหลายในรายละเอียดของภาพได้อย่างเหมาะสม เพื่อประโยชน์ในการ
จาแนกประเภททรัพยากรที่สาคัญๆ
ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาเป็นดาวเทียมที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพภูมิอากาศด้วยภาพถ่ายเรดาร์ (Radar)
และภาพถ่ายอินฟาเรด (Infared) เนื่องจากดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาเป็นดาวเทียมสารวจประเภทหนึ่งจึงมี
อุปกรณ์บนดาวเทียมคล้ายกับดาวเทียมสารวจทรัพยากร จะแตกต่างก็เพียงหน้าที่ การใช้งาน ดังนั้นดาวเทียม
อุตุนิยมวิทยาจึงมีหลักการทางานเช่นเดียวกับดาวเทียมสารวจทรัพยากร กล่าวคือ อุปกรณ์สารวจ
อุตุนิยมวิทยาบนดาวเทียมจะส่ง สัญญาณมายังเครื่องรับที่สถานีภาคพื้นดิน ซึ่งที่สถานีภาคพื้นดินนี้จะมีระบบ
รับสัญญาณแตกต่างกันไปตามดาวเทียมแต่ละดวง
ดาวเทียมบอกตาแหน่ง
ระบบหาตาแหน่งโดยใช้ดาวเทียม (Global Positioning Satellite System - GPS) ถูกพัฒนาโดย
ทหารสาหรับการใช้งานในกระทรวงกลาโหม ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งในปัจจุบันได้มีการนามาใช้งานในเชิง
พาณิชย์ โดยใช้เป็นระบบนาร่องให้กับเครื่องบิน เมื่อดาวเทียมที่ใช้กับระบบ GPS ขยายตัวมากขึ้น จึงมีพื้นที่
การครอบคลุมมากขึ้น และได้มีการนามาประยุกต์ใช้งานอย่าง กว้างขวาง เช่น การนาร่องให้เรือเดินสมุทร
พาณิชย์ในบริเวณที่ระบบนาร่องภาคพื้นดิน ไม่สามารถใช้ได้
ดาวเทียมประเภทอื่นๆ
คือ ดาวเทียมที่มีการสร้างขึ้นเพื่อใช้ในเฉพาะเรื่อง เช่น ดาวเทียมสมุทรศาสตร์ ใช้ในการสารวจทาง
ทะเล ดาวเทียมสารวจอวกาศ เป็นต้น
ดาวเทียมไทยคม
ดาวเทียมไทยคมเป็น “ดาวเทียมสื่อสาร ” ที่ใช้ในกิจการระบบโทรทัศน์ (DTH : DIRECT TO
HOME) ดาวเทียมสื่อสารที่ส่งขึ้นไปครั้งแรกเมื่อปี 2508 โดยองค์การโทรคมนาคมระหว่างประเทศ หลังจาก
นั้นก็ได้ทาการส่งดาวเทียมในปีต่างๆ ต่อไปเรื่อยๆ สาหรับประเทศไทย เมื่อปี 2536 ประเทศไทยเราก็มี
โครงการสร้างดาวเทียมของตนเองขึ้น และเรามีดาวเทียมมาใช้ภายในประเทศอย่างแท้จริงเมื่อปี 2538 ในนาม
พระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวองค์ปัจจุบันว่า " ไทยคม " (THAICOM)
ดาวเทียมไทยคม 1
ไทยคม 1A ดาวเทียมดวงแรกของประเทศไทย เป็นดาวเทียมรุ่น HS-376 สร้างโดย Huges Space
Aircraft (บริษัทลูกของ โบอิง) โคจรบริเวณพิกัดที่ 120 องศาตะวันออก ส่งขึ้นสู่วงโคจรเมื่อ 17 ธันวาคม พ.ศ.
2536 มีอายุการใช้งานประมาณ 15 ปี (ถึง พ.ศ. 2551) เดิมดาวเทียมดวงนี้อยู่ที่พิกัด 78.5 องศาตะวันออก
เรียกชื่อว่า ไทยคม 1 เมื่อย้ายมาอยู่ที่ 120 องศาตะวันออก เมื่อเดือนมิถุนายน พ .ศ. 2540 จึงเรียกชื่อใหม่ว่า
"ไทยคม 1A" ตาแหน่ง: 0°0′N 120°0′E
ดาวเทียมไทยคม 2
ไทยคม 2 ดาวเทียมดวงที่สองของประเทศไทย เป็นดาวเทียมรุ่น HS-376 เช่นเดียวกับ ไทยคม 1A
โคจรบริเวณพิกัดที่ 78.5 องศาตะวันออก ส่งขึ้นสู่วงโคจรเมื่อ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2537 มีอายุการใช้งานประมาณ
15 ปี (ถึง พ.ศ. 2552) ตาแหน่ง: 0°0′N 78°5′E
ดาวเทียมไทยคม 3
ไทยคม 3 เป็นดาวเทียมรุ่น Aerospatiale SpaceBus 3000A โคจรบริเวณพิกัดเดียวกับ ไทยคม 2
คือ 78.5 องศาตะวันออก มีพื้นที่การให้บริการ (footprint) ครอบคลุมพื้นที่มากกว่า 4 ทวีป สามารถ
ให้บริการในเอเซีย ยุโรป ออสเตรเลีย และแอฟริกา และถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์ตรงถึงที่พักอาศัยหรือ
Direct-to-Home (DTH) ในประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน ส่งขึ้นสู่วงโคจรเมื่อ 16 เมษายน พ.ศ. 2540
มีอายุการใช้งานประมาณ 14 ปี แต่ปลดระวางไปเมื่อปี 2549 เนื่องจากมีปัญหาเรื่องระบบไฟฟ้าไม่พอ
ตาแหน่ง: 0°0′N 78°5′E
ดาวเทียมไทยคม 4
ไทยคม 4 หรือ ไอพีสตาร์ เป็นดาวเทียมรุ่น LS-1300 SX สร้างโดย Space System/Loral พาโล
อัลโต สหรัฐอเมริกา เป็นดาวเทียมดวงแรกที่ออกแบบมาเพื่อให้บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ที่ความเร็ว 45
Gbps เป็นดาวเทียมสื่อสารเชิงพาณิชย์ที่มีขนาดใหญ่ และมีน้าหนักมากถึง 6,486 กิโลกรัม และทันสมัยที่สุด
ในปัจจุบัน ส่งขึ้นสู่วงโคจรเมื่อ 11 สิงหาคม พ .ศ. 2548 มีอายุการใช้งานประมาณ 12 ปี ตาแหน่ง: 0°0′N
120°0′E
ดาวเทียมไทยคม 5
ไทยคม 5 เป็นดาวเทียมรุ่น Aerospatiale SpaceBus 3000A (รุ่นเดียวกับไทยคม 3) สร้างโดย
Alcatel Alenia Space ประเทศฝรั่งเศส มีน้าหนัก 2800 กิโลกรัม มีพื้นที่การให้บริการครอบคลุมพื้นที่ 4
ทวีป ใช้เป็นดาวเทียมสาหรับการถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมตรงถึงที่พักอาศัยหรือ Direct-to-
Home (DTH) และการถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์ดิจิตอลความละเอียดสูง (High Definition TV) ส่งขึ้นสู่วง
โคจรเมื่อ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 เพื่อทดแทนไทยคม 3ตาแหน่ง: 0°0′N 78°5′E
ดาวเทียมไทยคม 6
ไทยคม 6 เป็นดาวเทียมรุ่น สร้างโดยบริษัท Orbital Sciences Corporation แต่ขนส่งโดยบริษัท
SpaceX เนื่องจากดาวเทียวดวงนี้มีน้าหนักถึง 3,000 กิโลกรัม จรวจของ Orbital Sciences Corporation ไม่
สามารถขนส่งได้ ชื่อของจรวจของ SpaceX ที่ส่งดาวเทียม "ไทยคม 6" คือ "Falcon 9" มีพื้นที่การให้บริการ
ครอบคลุมพื้นที่ 4 ทวีป ใช้เป็นดาวเทียมสาหรับการถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมตรงถึงที่พักอาศัย
หรือ Direct-to-Home (DTH) และการถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์ดิจิตอลความละเอียดสูง (High Definition
TV)ตาแหน่ง: 0°0′N 78°5′E
ดาวเทียมไทยคม 7
ดาวเทียมไทยคม 7 เป็นดาวเทียมประเภท 3 แกน รุ่น FS1300 ผลิตโดย บริษัท สเปซ สิสเต็มส์ /
ลอเรล ประเทศสหรัฐอเมริกา ส่งขึ้นสู่วงโคจรด้วยจรวดฟอลคอน 9 ของบริษัท สเปซ เอ็กซ์พลอเรชั่น
เทคโนโลยี (SPACEX) ประเทศสหรัฐอเมริกา มวลในวงโคจร ประมาณ 3,700 กิโลกรัม มีอายุการใช้งานนาน
15 ปี ประกอบด้วยย่านความถี่ ซี- แบนด์ จานวน 14 ทรานสพอนเดอร์ ซึ่งมีพื้นที่ให้บริการกว้างครอบคลุม
ภูมิภาคเอเชียใต้ อินโดจีน รวมถึงออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ภายในปีเดียวกัน ซึ่งช่วยให้ผู้ใช้บริการสามารถ
เชื่อมต่อข้ามภูมิภาคได้ ดาวเทียมไทยคม 7 จะจัดสร้างแล้วเสร็จและจัดส่งขึ้นสู่วงโคจร ณ ตาแหน่ง 120 องศา
ตะวันออกได้ในปี 2557
บริษัท ไทยคม จากัด (มหาชน) ประสบความสาเร็จในการจัดส่งดาวเทียมไทยคม 7 ขึ้นสู่วงโคจร เมื่อ
วันที่ 7 กันยายน 2557 ที่ผ่านมา เวลา 01.00 น. (ตามเวลาท้องถิ่น) ด้วยจรวดขนส่งฟอลคอน 9 ของบริษัท
สเปซ เอ็กซพลอเรชั่น เทคโนโลยีส์ คอร์ปอเรชั่น (Space Exploration Technologies Corporation-
SPACE X) ณ แหลมคานาเวอรัล รัฐฟลอริดา ประเทศสหรัฐอเมริกา เพื่อรักษาสิทธิในวงโคจรของไทย พร้อม
ช่วยขับเคลื่อนการเติบโตของอุตสาหกรรมบรอดคาสต์ไทย ด้ วยการเพิ่มปริมาณช่องสัญญาณเพื่อรองรับความ
ต้องการใช้งานและการเติบโตของโทรคมนาคมในประเทศ พร้อมขยายศักยภาพในฐานะบริษัทดาวเทียมไทย
เพื่อให้บริการสื่อสารโทรคมนาคมให้ครอบคลุมทั้งในภูมิภาคเอเชียใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทวีป
ออสเตรเลีย
การส่งดาวเทียมไทยคม 7 ขึ้นสู่วงโคจร เป็นการเพิ่มขีดความสามารถในการรองรับ ให้ไทยคมมี
ช่องสัญญาณเพียงพอต่อการรองรับการเติบโตของอุตสาหกรรมบรอดคาสต์ของไทย โดยเฉพาะทีวีดิจิตอล โดย
เสริมช่องสัญญาณบนดาวเทียมไทยคม 5 และ 6 ที่ให้บริการเต็มในปัจจุบัน การมีดาวเทียมเพิ่มเติมอีกดวงหนึ่ง
นี้ จะช่วยสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ อีกทั้งยังเพิ่มศักยภาพการให้บริการและช่วยขยายตลาดของไทยคมใน
ต่างประเทศด้วย
บทที่ 3
ขั้นตอนและวิธีการศึกษาค้นคว้า
ขั้นตอนการศึกษาค้นคว้า เรื่อง การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
1. คิดหัวข้อโครงงานเพื่อนาเสนอครูที่ปรึกษาโครงงาน
2. วาดแผนที่ความคิดในหัวข้อที่จะศึกษาว่าจะศึกษาในประเด็นใดบ้าง
3. ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่สนใจคือเรื่องดาวเทียมว่ามีเนื้อหามากน้อยเพียงใด
และต้องศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากเว็บต่างๆและเก็บข้อมูลไว้เพื่อจัดทาเนื้อหาต่อไป
4. นาเสนอรายงานความก้าวหน้าเป็นระยะๆโดยแจ้งครูที่ปรึกษาโครงงานเข้าไปตรวจความก้าวหน้า
ของโครงงานผ่านเว็บไซต์ www.facebook.com ซึ่งครูที่ปรึกษาจะให้ข้อเสนอแนะต่างๆเพื่อให้จัดทาเนื้ อหา
และการนาเสนอที่น่าสนใจต่อไปทั้งนี้เมื่อได้รับคาแนะนาก็จะนามาปรับปรุงแก้ไขให้เป็นที่สนใจยิ่งขึ้น
5. นาข้อมูลทั้งหมดที่ศึกษาค้นคว้ามาสรุปแล้วจัดทาเอกสารรายงานโครงงานเรื่องดาวเทียมและจัดทา
การนาเสนอในรูปแบบไฟล์คอมพิวเตอร์ โดยนาเสนอแบบ power point
วิธีการศึกษาค้นคว้า
วิธีดาเนินการ
1. สถานที่
โรงเรียนอามาตย์พานิชนุกูล
- ห้องสมุดโรงเรียนอามาตย์พานิชนุกูล
- ร้านหนังสือเส้งโห
2. วัสดุอุปกรณ์
1. ปากกา ดินสอ ยางลบ สมุด และกระดาษ
2. เครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
3. Flash Drive เพื่อการบันทึกข้อมูล
บทที่ 4
ผลการศึกษาค้นคว้า
จากการศึกษาเรื่องดาวเทียม การจัดทาการศึกษาค้นคว้านี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาเกี่ยวกับประวัติ
ของดามเทียม ส่วนประกอบของดาวเทียม ประเภทของดามเทียม และหลักการทางานของดาวเทียม และ
สืบค้นเกี่ยวกับดามเทียมไทยคมในส่วนของหลักการทางาน ซึ่งขั้นตอนการศึกษาค้นคว้า เราก็ได้กาหนดหัวข้อ
เรื่องที่จะศึกษา ค้นหาข้อมูลที่ได้กาหนดไว้ โดยการหาข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต ส่งข้อมูลให้ครูที่ปรึกษา เป็น
ระยะๆ เมื่อครูได้ให้คาปรึกษาจากนั้นเราก็นามาแก้ไขให้ถูกต้ องตรงประเด็น นาข้อมูลทั้งหมดมารวบรวม และ
สรุปผลการศึกษาค้นคว้า จัดทาเป็นรูปเล่ม โดยการเขียนเป็นรายงาน และนาเสนอรายงานที่เราทา และผลที่ได้
จากการศึกษาค้นคว้านั้น ทาให้เราได้รู้ว่า ดาวเทียมได้ถูกส่งขึ้นไปโคจรรอบโลกครั้งแรกเมื่อปี พ .ศ. 2500
ดาวเทียมมีหลายประเภท เช่น ดามเทียมสื่อสาร หรือในชื่อว่าดาวเทียมไทยคม เป็นโครงการ ดาวเทียมสื่อสาร
เพื่อให้บริการสื่อสารผ่านช่องสัญญาณดาวเทียม ซึ่งกระทรวงคมนาคม (ในขณะนั้น) ต้องการจัดหาดาวเทียม
เพื่อรองรับการขยายตัวด้านการสื่อสารของประเทศอย่างรวดเร็ว
ส่วนการนาไปใช้หรือประโยชน์ของการศึกษาค้นคว้าเรื่องดามเทียมนั้น มีดังนี้
1. ได้รู้ในเรื่องเกี่ยวกับประวัติของดาวเทียมซึ่งความรู้นี้สามารถทาความเข้าใจ และจดจาไว้ได้เพื่อไว้
เป็นความรู้ทั่วไปเมื่อมีใครถามเราสามารถตอบและอธิบายให้เข้าใจได้
2. ได้เห็นถึงความ เพียร พยายามของเหล่าผู้ค้นพบดามเทียม เช่น" อาเธอร์ ซี คลาร์ก " (ARTHUR C.
CLARKE) เป็นนักเขียนนวนิยายและสารคดีวิทยาศาสตร์ผู้มีชื่อเสียงในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 เขาได้สร้าง
จินตนาการของการสื่อสารดาวเทียมซึ่งในบทความได้กล่าวถึงว่า " ถ้ามนุษย์ชาติเรานาเอาสถานีทวนสัญ ญาณ
ขึ้นไปลอยในอวกาศ เพื่อใช้ในการส่งสัญญาณข่าวสารต่างๆ เพื่อใช้ในการสื่อสารระหว่างจุดหนึ่งกับอีกจุดหนึ่ง
ในรูปแบบของภาคพื้นดินสู่อวกาศ และจากอวกาศกลับเข้ามาสู่ภาคพื้นดินอีกครั้งหนึ่ง โดยเรียกสถานีทวน
สัญญาณนี้ว่า " ดาวเทียม "
3. เพื่อเพิ่มความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับดามเทียมใช้เป็นความรู้ประกอบการเรียนได้
บทที่ 5
สรุปผล และข้อเสนอแนะ
1. ดาวเทียมจะถูกส่งขึ้นไปลอยอยู่ในตาแหน่ง วงโคจรค้างฟ้า ซึ่งมีระยะห่างจากพื้นโลก
ประมาณ 36,000 – 38,000 กิโลเมตร
2. ดาวเทียมได้ถูกส่งขึ้นไปโคจรรอบโลกครั้งแรกเมื่อปี พ .ศ. 2500 ดาวเทียมดังกล่าวมีชื่อว่า
“สปุตนิก”
3. แรกๆ ดาวเทียมได้ประดิษฐ์ขึ้นมาใช้ประโยชน์ในด้านการทหาร และได้พัฒนามาใช้ทางด้านการ
พยากรณ์อากาศ การค้นหาทรัพยกรธรณี และการสื่อสาร ซึ่งจะกล่าวถึงในที่นี้คือ “ดาวเทียมสื่อสาร”
4. ดาวเทียมสื่อสารที่ส่งขึ้นไปครั้งแรกเมื่อปี 2508 โดยองค์การโทรคมนาคมระหว่างประเทศหรือ
เรียกย่อว่า INTELSAT
5. ดาวเทียมมาใช้ภายในประเทศไทยอย่างแท้จริงเมื่อปี 2538 ในนามพระราชทานจาก
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวองค์ปัจจุบันว่า “ไทยคม”
6. ดาวเทียมไทยคม เป็นโครงการ ดาวเทียมสื่อสาร เพื่อให้บริการสื่อสารผ่านช่องสัญญาณดาวเทียม
7. ดาวเทียมดวงแรกของประเทศไทย เป็นดาวเทียมรุ่น HS-376 สร้างโดย Huges Space Aircraft
(บริษัทลูกของ โบอิง) โคจรบริเวณพิกัดที่ 120 องศาตะวันออก ส่งขึ้นสู่วงโคจรเมื่อ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2536 มี
อายุการใช้งานประมาณ 15 ปี (ถึง พ.ศ. 2551)
8. ดามเทียมไทยคมในปัจจุบันมีทั้งหมด 7 ดวง ซึ่งดาวเทียมไทยคม 7 ขึ้นสู่วงโคจร เมื่อวันที่ 7
กันยายน 2557 ที่ผ่านมา เวลา 01.00 น. (ตามเวลาท้องถิ่น ) ด้วยจรวดขนส่งฟอลคอน 9 ของบริษัท สเปส
เอ็กซพลอเรชั่น เทคโนโลยีส์ คอร์ปอเรชั่น
ข้อเสนอแนะ
1. มีการคาดการณ์ว่าจะสามารถนาดาวเทียมไทยคม 8 ขึ้นให้บริการในวงโคจรได้ในครึ่งแรกของ
ปี 2559
2. ดาวเทียมไทยคม 8 จะทาให้ประเทศไทยมีช่องสัญญาณดาวเทียมเพียงพอต่อการใช้งาน รองรับการ
เติบโตของอุตสาหกรรมบรอดคาสต์ในช่วงแห่งการเปลี่ยนผ่านไปสู่เทคโนโลยีโทรทัศน์ความคมชัดสูง (ระบบ
HD) และเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับระบบ “อัลตร้า เอชดี” (Ultra HD) ในอนาคต
บรรณานุกรม
ฟิสิกราชมงคล.ประวัติของดาวเทียม . (ออนไลน์).เข้าถึงได้จาก
http://www.atom.rmutphysics.com (วันที่สืบค้นข้อมูล : 19 ธันวาคม 2557).
สารานุกรมเสรี.ส่วนประกอบของดามเทียม.(ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก http://th.wikipedia.org/wiki/
ดาวเทียม(วันที่สืบค้นข้อมูล : 19 ธันวาคม 2557).
ทรูไลฟ์.หลักการทางานดาวเทียม. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก
http://www.truelife.com/detail/98258 (วันที่สืบค้นข้อมูล : 19 ธันวาคม 2557).
ปรีดา คงเมือง.ประเภทของดามเทียม. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก
https://www.l3nr.org/posts/300016(วันที่สืบค้นข้อมูล : 26 ธันวาคม 2557).
ฟอร์เวิลด์ แซลเทิลไลท์.ความเป็นมาเบื้องต้นของระบบดาวเทียม.(ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก
http://www.forwardsat.com/(วันที่สืบค้นข้อมูล : 26 ธันวาคม 2557).
ฟิสิกส์ราชมงคล.ดาวเทียมไทยคม.(ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก
http://www.electron.rmutphysics.com/(วันที่สืบค้นข้อมูล : 26 ธันวาคม 2557).
ภาคผนวก
ภาพประกอบ
ภาพที่ 1 : การโคจรของดาวเทียม
ภาพจาก http://www.defenseindustrydaily.com
ภาพที่ 2 : ไทยคม 4 ดาวเทียมแบบบอร์ดแบนดวงแรกของภูมิภาคนี้
ภาพจาก www.esamultimedia.esa.int
ภาพที่ 3 : พื้นที่ให้บริการไทยคม 1 และ ไทยคม 2
ภาพจาก http://www.thaicom.net
ภาพที่ 4 : พื้นที่ให้บริการไทยคม 3
ภาพจาก http://www.thaicom.net
ภาพที่ 5 : พื้นที่ให้บริการไทยคม 4
ภาพจาก http://www.thaicom.net
ภาพที่ 6 : พื้นที่ให้บริการไทยคม
ภาพจาก http://www.thaicom.net
การส่งดาวเทียมขึ้นสู่อวกาศ
http://www.bloggang.com/
การส่งดาวเทียมขึ้นสู่อวกาศ
การส่งดาวเทียมขึ้นสู่อวกาศ
http://www.bloggang.com/
ภาพที่ 7 : การส่งดาวเทียมขึ้นสู่อวกาศ
ภาพจาก http://www.tpa.or.th/
การส่งดาวเทียมขึ้นสู่อวกาศ
ภาพที่ 8 : การส่งดาวเทียมขึ้นสู่อวกาศ
ภาพจาก http://www.tpa.or.th/
ข้อมูลผู้จัดทา
ชื่อ : นายธนกฤต นามสกุล ปิ่นทอง
ชื่อเล่น : นัท
อายุ : 16 ปี
เกิด : 22 มิถุนายน พ.ศ. 2541
ศึกษาอยู่ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปีที่4/7
โรงเรียน : อามาตย์พานิชนุกูล จังหวัดกระบี่
คติ : ฝันให้ไกลไปให้ถึง และ ทาทุกวินาทีให้มีค่ามากที่สุด
e-mail : natmiracle_fc@hotmail.com
ชื่อ : นางสาวธัญสิริ นามสกุล นวลวิจิตร
ชื่อเล่น : พลอย
อายุ : 16 ปี
เกิด : 1 สิงหาคม พ.ศ. 2541
ศึกษาอยู่ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปีที่4/7
โรงเรียน : อามาตย์พานิชนุกูล จังหวัดกระบี่
คติ : อย่าเพิ่งท้อแท้ในสิ่งที่ยังไม่พยายาม และอย่าเพิ่ง
หมดหวังในสิ่งที่ยังไม่เริ่มต้น
e-mail : ploy12281@gmail.com
รายงานการศึกษาค้นคว้า

More Related Content

What's hot

ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)Pongpan Pairojana
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดพัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์โทโต๊ะ บินไกล
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2Enormity_tung
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงานTanyarad Chansawang
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานChamp Wachwittayakhang
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องkrupornpana55
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 

What's hot (20)

ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
 
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงานบทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 

Viewers also liked

Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56docSlกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56dockrupornpana55
 
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆเรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆRujira Meechin
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มGuntima NaLove
 
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนเรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนBangk Thitisak
 
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก) โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก) Np Vnk
 
โครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทยโครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทยEakkamol Dechudom
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะmayureesongnoo
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสิปป์แสง สุขผล
 

Viewers also liked (10)

223333
223333223333
223333
 
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56docSlกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
 
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆเรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนเรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
 
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก) โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
 
โครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทยโครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทย
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
 
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
 

Similar to รายงานการศึกษาค้นคว้า

การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1Apinun Nadee
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1Apinun Nadee
 
ใบงานท 2-8
ใบงานท   2-8ใบงานท   2-8
ใบงานท 2-8noeiinoii
 
งานวิจัย
งานวิจัยงานวิจัย
งานวิจัยssusere8181b
 
การศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลการศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลnattaya029
 
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากร
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากรการนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากร
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากรIps UbonFive
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8Niraporn Pousiri
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้(pdf)
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้(pdf)บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้(pdf)
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้(pdf)Turdsak Najumpa
 
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากร
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากรการนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากร
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากรIps UbonFive
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
บทคัดย่อ Flipped classrom
บทคัดย่อ Flipped classromบทคัดย่อ Flipped classrom
บทคัดย่อ Flipped classromKrupol Phato
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5kruwaeo
 
สรุปงานวิจัยเทคโนโลยีการศึกษา
สรุปงานวิจัยเทคโนโลยีการศึกษาสรุปงานวิจัยเทคโนโลยีการศึกษา
สรุปงานวิจัยเทคโนโลยีการศึกษาDuke Wongsatorn
 
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...dnavaroj
 
Development of learning on Momentum and Collision for Mathayomsuksa 4/1 stude...
Development of learning on Momentum and Collision for Mathayomsuksa 4/1 stude...Development of learning on Momentum and Collision for Mathayomsuksa 4/1 stude...
Development of learning on Momentum and Collision for Mathayomsuksa 4/1 stude...Nalai Rinrith
 

Similar to รายงานการศึกษาค้นคว้า (20)

5บทที่1
5บทที่1 5บทที่1
5บทที่1
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1
 
ใบงานท 2-8
ใบงานท   2-8ใบงานท   2-8
ใบงานท 2-8
 
งานวิจัย
งานวิจัยงานวิจัย
งานวิจัย
 
การศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลการศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกล
 
08chap6
08chap608chap6
08chap6
 
ใบงาน2 8
ใบงาน2 8ใบงาน2 8
ใบงาน2 8
 
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากร
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากรการนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากร
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากร
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้(pdf)
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้(pdf)บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้(pdf)
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้(pdf)
 
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากร
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากรการนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากร
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากร
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
บทคัดย่อ Flipped classrom
บทคัดย่อ Flipped classromบทคัดย่อ Flipped classrom
บทคัดย่อ Flipped classrom
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5
 
สรุปงานวิจัยเทคโนโลยีการศึกษา
สรุปงานวิจัยเทคโนโลยีการศึกษาสรุปงานวิจัยเทคโนโลยีการศึกษา
สรุปงานวิจัยเทคโนโลยีการศึกษา
 
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
 
Development of learning on Momentum and Collision for Mathayomsuksa 4/1 stude...
Development of learning on Momentum and Collision for Mathayomsuksa 4/1 stude...Development of learning on Momentum and Collision for Mathayomsuksa 4/1 stude...
Development of learning on Momentum and Collision for Mathayomsuksa 4/1 stude...
 

รายงานการศึกษาค้นคว้า

  • 1. รายงานการศึกษาค้นคว้า เรื่อง การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม จัดทาโดย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/7 นายธนกฤต ปิ่นทอง เลขที่ 1 นางสาวธัญสิริ นวลวิจิตร เลขที่ 37 รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาI 30202 การสื่อสารและการนาเสนอ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 เสนอ ครู ชารีญา ชูเมือง โรงเรียนอามาตย์พานิชนุกูล สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต13 จังหวัดกระบี่
  • 2. เกี่ยวกับงานที่ศึกษาค้นคว้า เรื่อง การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม ผู้จัดทา : 1. นายธนกฤต ปิ่นทอง เลขที่ 1 2. นางสาวธัญสิริ นวลวิจิตร เลขที่ 37 ครูที่ปรึกษา : อาจารย์ ชารีญา ชูเมือง สถานศึกษา : โรงเรียนอามาตย์พานิชนุกูล สานักงานเขตพื้นที่การมัธยมศึกษา เขต13 จังหวัดกระบี่ ปีการศึกษา : 2557 ก
  • 3. กิตติกรรมประกาศ การศึกษาค้นคว้าเรื่อง การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม นี้สาเร็จขึ้นได้ด้วยความกรุณาจาก อาจารย์ ชารีญา ชูเมือง ที่ได้กรุณาให้คาปรึกษา แนะนา และตรวจสอบ แก้ไข ข้อพกพร่องทุกขั้นตอนของ การจัดทาโครงงาน ขอขอบคุณ บิดา มารดา เพื่อนนักเรียน ตลอดจนผู้ที่เกี่ยวข้องทุกท่านที่ไม่ได้กล่าวนามไว้ ณ ที่นี้ ที่ได้ ให้กาลังใจและมีส่วนช่วยเหลือให้โครงงานฉบับนี้สาเร็จลุล่วงได้ด้วยดี ท้ายสุดนี้ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการศึกษาค้นคว้าเรื่องนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาเกี่ยวกับ เรื่องดาวเทียม ของผู้สนใจต่อไป คณะผู้จัดทา นายธนกฤต ปิ่นทอง นางสาวธัญสิริ นวลวิจิตร ข
  • 4. หัวข้อเรื่อง : การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม ผู้เสนอรายงาน : นายธนกฤต ปิ่นทอง นางสาวธัญสิริ นวลวิจิตร ครูที่ปรึกษาการศึกษาค้นคว้า : อาจารย์ ชารีญา ชูเมือง ปีการศึกษา : 2557 บทคัดย่อ การศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1 เพื่อศึกษาและดาเนินการจัดทารายงานเชิง วิชาการในรูปแบบการบูรณาการในรายวิชาวิทยาศาสตร์ 2 เพื่อศึกษาค้นคว้าที่มาและความสาคัญของ ดาวเทียมไทยคมที่มีผลต่อระบบการสื่อสารไทยในปัจจุบัน 3 เพื่อสร้างความเข้าใจและนาความรู้ที่ได้ไปใช้ให้ เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผลการศึกษาพบว่า การศึกษาค้นคว้าเรื่อง ดาวเทียม มีวัตถุประสงค์ เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้และ ความเข้าใจในเรื่องของดาวเทียมและนาความรู้เรื่องดาวเทียมที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันโดยมีวิธีการ ดาเนินงาน คือดาเนินการศึกษาโดยสืบหาข้อมูลทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเว็บไซต์ต่าง ๆ จากการศึกษาค้นคว้า สรุปผลได้ดังนี้คือดาวเทียมจะถูกส่งขึ้นไปลอยอยู่ในตาแหน่ง วงโคจรค้างฟ้า ซึ่งมีระยะห่างจากพื้นโลก ประมาณ 36,000 - 38,000 กิโลเมตรดาวเทียมได้ถูกส่งขึ้นไปโคจรรอบโลกครั้งแรก เมื่อปี พ.ศ. 2500 ดาวเทียมดังกล่าวมีชื่อว่า “สปุตนิก” ดาวเทียมดวงแรกของประเทศไทย เป็นดาวเทียมรุ่น HS-376 สร้างโดย Huges Space Aircraft (บริษัทลูกของ โบอิง) โคจรบริเวณพิกัดที่ 120 องศาตะวันออก ส่งขึ้นสู่วงโคจรเมื่อ 17 ธันวาคม พ .ศ. 2536 มีอายุการใช้งานประมาณ 15 ปี (ถึง พ.ศ. 2551) ดามเทียมไทยคมในปัจจุบันมี ทั้งหมด 7 ดวง ซึ่งดาวเทียมไทยคม 7 ขึ้นสู่วงโคจร เมื่อวันที่ 7 กันยายน 2557 ที่ผ่านมา เวลา 01.00 น. (ตาม เวลาท้องถิ่น) ด้วยจรวดขนส่งฟอลคอน 9 ของบริษัท สเปซ เอ็กซพลอเรชั่น เทคโนโลยีส์ คอร์ปอเรชั่น จาก จากการศึกษาค้นคว้าเรื่องดาวเทียมทาให้คณะผู้จัดทาได้มีความรู้ในเรื่องนั้นๆ เป็นอย่างมาก ได้ประสบการณ์ จากการทางานเป็นหมู่คณะ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าโครงงานฉบับนี้จะมีประโยชน์แก่ผู้พบเห็นเป็นอย่างมาก ค
  • 5. สารบัญ เรื่อง หน้า เกี่ยวกับงานที่ศึกษาค้นคว้า ก กิตติกรรมประกาศ ข บทคัดย่อ ค บทที่ 1 บทนา 1 - แนวคิด ที่มาและความสาคัญ 1 - วัตถุประสงค์ 1 - ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า 2 - แผนการกาหนดเวลาปฏิบัติงาน 2 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 3 - ประวัติดาวเทียม 3 - ส่วนประกอบดาวเทียม 3 - ระบบการส่งสัญญาณของดาวเทียม 4 - ประเภทดาวเทียม 5 - ดาวเทียมไทยคม 6 - ประวัติดาวเทียมไทยคม 6 - ดาวเทียมไทยคม 1 6 - ดาวเทียมไทยคม 2 7 - ดาวเทียมไทยคม 3 7 - ดาวเทียมไทยคม 4 7 - ดาวเทียมไทยคม 5 7 - ดาวเทียมไทยคม 6 8 - ดาวเทียมไทยคม 7 8 บทที่ 3 ขั้นตอนและวิธีการศึกษาค้นคว้า 9 บทที่ 4 ผลการศึกษาค้นคว้า 10 บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ 11 - สรุปผลการศึกษาค้นคว้า 11 - ข้อเสนอแนะ 11 บรรณานุกรม 12
  • 7. บทนา ที่มาและความสาคัญ เนื่องจากโรงเรียนอามาตย์พานิชนุกูล และกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ได้จัดให้มีการเรียนการ สอนตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2557 ซึ่งในแผนการ เรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ โดยจัดให้มีการเรียนการสอนในรายวิชา การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (Independent study หรือ directed study) โดยการที่นักเรียนได้รับการจัดการเรียนการสอนให้ความ มุ่งเน้นในด้านวิทยาศาสตร์ ซึ่งประกอบไปด้วยรายวิชา ชีววิทยา เคมี ฟิสิกส์ โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ จึง ทาให้ข้าพเจ้าและคณะได้มีความสนใจที่ศึกษาค้ นคว้าเกี่ยวกับรายวิชาดาราศาสตร์ที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับ ดาวเทียมซึ่งเป็นสิ่งประดิษฐ์ที่มนุษย์คิดค้นขึ้น ที่สามารถโคจรรอบโลก โดยอาศัยแรงดึงดูดของโลก ส่งผลให้ สามารถโคจรรอบโลกได้ในลักษณะเดียวกันกับที่ดวงจันทร์โคจรรอบโลก และโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ วัตถุประสงค์ของ สิ่งประดิษฐ์นี้เพื่อใช้ ทางการทหาร การสื่อสาร การรายงานสภาพอากาศ การวิจัยทาง วิทยาศาสตร์เช่นการสารวจทางธรณีวิทยาสังเกตการณ์สภาพของอวกาศ โลก ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาว อื่นๆ รวมถึงการสังเกตวัตถุ และดวงดาว กาแล็กซี ต่างๆ ซึ่งในปัจจุบันมนุษย์ต้องอาศัยดาวเทียมในการติดต่อสื่อสาร โดยมีจุดประสงค์เพื่อใช้ในการดารงชีวิต ซึ่งในปัจจุบันมนุษย์ได้ติดต่อสื่อสารกันผ่านระบบโทรมานาคม ซึ่งอาศัยสัญญาณผ่านระบบดาวเทียมในการ สื่อสารระหว่างกันโดยมีโทรศัพท์ไร้สายเพื่อเชื่อมสัญญาณกับระบบดาวเทีย ม ด้วยเหตุนี้จึงทาให้จุดประกาย ทางความคิดและเกิดความสนใจจนเป็นที่มาของการศึกษาเรื่องราวของดาวเทียมสื่อสารว่ามีวิวัฒนาการและ การพัฒนามาอย่างไรจนเป็นรากฐานทางการสื่อสารที่สาคัญของนานาประเทศ วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า 1. เพื่อศึกษาและดาเนินการจัดทารายงานเชิงวิชาการในรูปแบบการบูรณาการในรายวิชาวิทยาศาสตร์ 2. เพื่อศึกษาค้นคว้าที่มาและความสาคัญของดาวเทียมไทยคมที่มีผลต่อระบบการสื่อสารไทยในปัจจุบัน 3. เพื่อสร้างความเข้าใจและนาความรู้ที่ได้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ขอบเขตของการศึกษา การสื่อสารดาวเทียมนับว่าเป็นวิธีการในการส่งข้อมูลข่าวสารในปัจจุบันที่นิยมกันมาก ซึ่งอานวยความ สะดวกในการใช้งานได้อย่างกว้างขวาง และรวดเร็ว เป็นการสื่อสารที่มีวิวัฒนาการมาจากการสื่อสารแบบ ไมโครเวฟ และมีผู้ที่เขียนนิยายวิทยาศาสตร์ขึ้นเมื่อป ระมาณ 60 ปีก่อน และต่อมาก็สามารถทาขึ้นได้จริง ๆ
  • 8. และพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง มาจนมีเทคโนโลยีในการสื่อสารที่สูงมากขึ้น ในช่วงแรกๆ ดาวเทียมได้ประดิษฐ์ ขึ้นมาใช้ประโยชน์ในด้านการทหาร และได้พัฒนามาใช้ทางด้านการพยากรณ์อากาศ การค้นหาทรัพยกรธรณี และการสื่อสาร ซึ่งจะกล่าวถึงในที่นี้คือ " ดาวเทียมสื่อสาร " ดาวเทียมไทยคมมีข้อได้เปรียบกว่าดาวเทียมดวง อื่นๆ ที่ประเทศไทยใช้อยู่คือ มีความแรงของสัญญาณเหมาะสมกับประเทศไทยเป็นพิเศษ และเป็นดาวเทียม ดวงเดียวในภูมิภาคนี้ที่มีความถี่ย่าน Ku-Band ประโยชน์ของดาวเทียมไทยคม สามารถใช้ประโยช น์ได้หลาย ด้านเช่น ด้านโทรทัศน์ วิทยุ โทรมานาคม และการกระจายเสียง เป็นต้น ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้ศึกษาและสามารถดาเนินการสร้าง รายงานเชิงวิชาการ “การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม” 2. รวบรวมข้อมูลและข้อเท็จจริงตลอดจนเนื้อหาสาระและประเด็นสาคัญเกี่ยวกับดาวเทียมไทยคมได้อย่าง ครบถ้วน 3. สามารถเกิดความเข้าใจในดาวเทียมไทยคมและนาความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันให้เกิด ประโยชน์ แผนการกาหนดเวลาปฏิบัติงาน ขั้นตอนการดาเนินงาน 2557 2558 ต.ค พ.ย ธ.ค ม.ค ก.พ มี.ค 1. เลือกหัวข้อที่สนใจ 2. เขียนโครงร่างรายงาน 3. ศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูล 4. ตีความพิจารณาข้อมูล 5. สรุปผลการศึกษาค้นคว้า 6. จัดทารายงานเป็นรูปเล่ม
  • 9. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ในการศึกษาค้นคว้าเรื่อง “ดาวเทียม” กลุ่มของข้าพเจ้าได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารที่เกี่ยวข้องดังนี้ เอกสารที่เกี่ยวข้อง ดาวเทียมไทยคม จัดเป็นดาวเทียมสื่อสารซึ่งเป็นดาวเทียมคิดค้นขึ้นโดยคนไทยเพื่อใช้ในการ ติดต่อสื่อสารผ่านระบบโทรมนาคมในการรับสัญญาณ ซึ่งถือเป็นถือเป็นดาวเทียมที่สาคัญดวงเดียวที่ประเทศ ไทยใช้ในระบบสื่อสารในเครือข่ายต่างๆซึ่งดาวเทียมแต่ละดวงนั้นต้องใช้ระยะเวลาในการสร้างและออกแบบ การทางานเพื่อให้ได้มาซึ่งประสิทธิภาพในการทางาน 1. ประวัติดาวเทียม ดาวเทียมได้ถูกส่งขึ้นไปโคจรรอบโลกครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2500 ดาวเทียมดังกล่าวมีชื่อว่า "สปุตนิก (Sputnik)" โดยรัสเซียเป็นผู้ส่งขึ้นไปโคจร สปุตนิกทาหน้าที่ตรวจสอบการแผ่รังสีของชั้นบรรยากาศชั้นไอโอ โนสเฟีย ในปี พ.ศ. 2501 สหรัฐได้ส่งดาวเทียมขึ้นไปโคจรบ้างมีชื่อว่า "Explorer" ทาให้รัสเซียและสหรัฐเป็น 2 ประเทศผู้นาทางด้านการสารวจทางอวกาศ และการแข่งขั้นกันระหว่างทั้งคู่ได้เริ่มขึ้นในเวลาต่อมา 2. ส่วนประกอบของดาวเทียม โครงสร้างดาวเทียม เป็นส่วนประกอบที่สาคัญมาก โครงจะมีน้าหนักประมาณ 15 - 25% ของน้าหนัก รวม ดังนั้น จึงจาเป็นต้องเลือกวัสดุที่มีน้าหนักเบา และต้องไม่เกิดการสั่นมากเกินที่กาหนด ระบบเครื่องยนต์ ซึ่งเรียกว่า "aerospike" อาศัยหลักการทางานคล้ายกับเครื่องอัดอากาศ และปล่อย ออกทางปลายท่อ ซึ่งระบบดังกล่าวจะทางานได้ดีในสภาพสุญญากาศ ซึ่งต้อ งพิจารณาถึงน้าหนักบรรทุกของ ดาวเทียมด้วย ระบบพลังงาน ทาหน้าที่ผลิตพลังงาน และกักเก็บไว้เพื่อแจกจ่ายไปยังระบบไฟฟ้าของดาวเทียม โดยมี แผงรับพลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Cell) ไว้รับพลังงานจากแสงอาทิตย์เพื่อเปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้า ให้ ดาวเทียม แต่ในบางกรณีอาจใช้พลังงานนิวเคลียร์แทน
  • 10. ระบบสื่อสารและนาทาง มีอุปกรณ์ตรวจจับความร้อน ซึ่งจะทางาน โดยแผงวงจรควบคุมอัตโนมัติอุปกรณ์ ควบคุมระดับความสูง เพื่อรักษาระดับความสูงให้สัมพันธ์กันระหว่างพื้นโลก 3. หลักการทางานของดาวเทียม ดาวเทียมจะถูกส่งขึ้นไปลอยอยู่ในตาแหน่ง วงโคจรค้างฟ้า ซึ่งมีระยะห่างจากพื้นโลก ประมาณ 36,000 – 38,000 กิโลเมตร และโคจรตามการหมุนของโลก เมื่อเมื่อเปรียบเทียบกับพื้นโลกจะ เสมือนว่าดาวเทียมลอยนิ่งอยู่บนท้องฟ้า และดาวเทียมจะมีระบบเชื้อเพลิงเพื่อควบคุมตาแหน่งให้อยู่ใน ตาแหน่งองศาที่ได้สั มปทานเอาไว้ กับหน่วยงานที่ดูแลเรื่องตาแหน่งวงโคจรของดาวเทียมคื อ IFRB( International Frequency Registration Board ) ดาวเทียมที่ลอยอยู่บนท้องฟ้า จะทาหน้าที่เหมือนสถานีทวนสัญญาณ คือจะรับสัญญาณที่ยิงขึ้นมา จากสถานีภาคพื้นดิน เรียกสัญญาณนี้ว่าสัญญาณขาขึ้นหรือ ( Uplink ) รับและขยายสัญญาณพร้อมทั้งแปลง สัญญาณให้มีความถี่ต่าลงเพื่อป้องกันการรบกวนกันระหว่างสัญญาณขาขึ้นและส่งลงมา โดยมีจานสายอากาศ ทาหน้าที่รับและส่งสัญญาณ ส่วนสัญญาณในขาลงเรียกว่า ( Downlink ) วงโคจรดาวเทียม (Satellite Orbit) เมื่อแบ่งตามระยะความสูง (Altitude) จากพื้นโลกแบ่งเป็น 3 ระยะคือ วงโคจรระยะต่า (Low Earth Orbit "LEO") อยู่สูงจากพื้นโลกไม่เกิน 1,000 กม. ใช้ในการสังเกตการณ์ สารวจสภาวะแวดล้อม , ถ่ายภาพ ไม่ สามารถใช้งานครอบคลุมบริเวณใดบริเวณหนึ่งได้ตลอดเวลา เพราะมีความเร็วในการเคลื่อนที่สูง แต่จะ สามารถบันทึกภาพคลุมพื้นที่ตามเส้นทางวงโคจรที่ผ่านไป ตามที่สถานีภาคพื้นดินจะกาหนดเส้นทางโคจรอยู่ ในแนวขั้วโลก (Polar Orbit) ดาวเทียมวงโคจรระยะต่าขนาดใหญ่บางดวงสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าใน เวลาค่า หรือก่อนสว่าง เพราะดาวเทียมจะสว่างเป็นจุดเล็ก ๆ เคลื่อนที่ผ่านในแนวนอนอย่างรวดเร็ว วงโคจรระยะปานกลาง(Medium Earth Orbit "MEO") อยู่ที่ระยะความสูงตั้งแต่ 1,000 กม. ขึ้นไป ส่วนใหญ่ใช้ในด้านอุตุนิยมวิทยา และสามารถใช้ในการ ติดต่อสื่อสารเฉพาะพื้นที่ได้ แต่หากจะติดต่อให้ครอบคลุมทั่วโลกจะต้องใช้ดาวเทียมหลายดวงในการส่งผ่าน วงโคจรประจาที่ (Geostationary Earth Orbit "GEO") เป็นดาวเทียมเพื่อการสื่อสารเป็นส่วนใหญ่ อยู่สูงจากพื้นโลกประมาณ 35,780 กม. เส้นทางโคจรอยู่ ในแนวเส้นศูนย์สูตร (Equatorial Orbit) ดาวเทียมจะหมุนรอบโลกด้วยความเร็วเชิงมุมเท่ากับโลกหมุนรอบ ตัวเองทาให้ดู เหมือนลอยนิ่งอยู่เหนือ จุดจุดหนึ่งบนโลกตลอดเวลา (เรียกทั่ว ๆ ไปว่า "ดาวเทียมค้างฟ้า ") ดาวเทียมจะอยู่กับที่เมื่อเทียบกับโลกมีวงโคจรอยู่ในระนาบเดียวกันกับ เส้นศูนย์สูตร อยู่สูงจากพื้นโลก
  • 11. ประมาณ 35,786 กม. วงโคจรพิเศษนี้เรียกว่า “วงโคจรค้างฟ้า” หรือ “วงโคจรคลาร์ก” (Clarke Belt) เพื่อ เป็นเกียรติแก่นาย อาร์เทอร์ ซี. คลาร์ก ผู้นาเสนอแนวคิดเกี่ยวกับวงโคจรนี้ เมื่อ เดือนตุลาคม ค.ศ. 1945 วงโคจรคลาร์ก เป็นวงโคจรในระนาบเส้นศูนย์สูตร (EQUATOR) ที่มีความสูงเป็นระยะที่ทาให้ ดาวเทียมที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วเชิงมุม เท่ากันกับการหมุนของ โลกแล้วทาให้เกิดแรงเหวี่ยงหนีศูนย์กลางมีค่า พอดีกับค่าแรงดึงดูดของโลกพอดี เป็นผลให้ดาวเทียมดูเหมือนคงอยู่กับที่ ณ ระดับความสูงนี้ ดาวเทียมค้างฟ้า ส่วนใหญ่ใช้ในการสื่อสารระหว่างประเทศและภายในประเทศ เช่น ดาวเทียมอนุกรม อินเทลแซต 4. ระบบการส่งสัญญาณดาวเทียม แบบ C - Band จะส่งคลื่นความถี่กลับมายังโลกอยู่ในช่วงความถี่ 3.4 - 4.2 GHz ซึ่งจะมีฟุตปริ้นท์ ที่ มีขนาดกว้าง ครอบคลุมพื้นที่ การให้บริการได้หลายประเทศ เช่น ของดาวเทียมไทยคม 2/5 พื้นที่ให้บริการ คือทวีปเอเซีย และยุโรปบางส่วน แบบ KU - Band จะส่งคลื่นความถี่ 10 - 12 GHz สูงกว่าความถี่ C-Band สัญญาณที่ส่งจะครอบคลุม พื้นที่ได้น้อย จึงเหมาะสาหรับการส่งสัญญาณเฉพาะภายในประเทศ 5. ประเภทของดาวเทียม ดาวเทียมสื่อสาร ดาวเทียมสื่อสารเป็นดาวเทียมที่ต้องทางานอยู่ตลอดเวลา เรียกได้ว่าทางานตลอด 24 ชม. ไม่มี วันหยุด เพื่อที่จะเชื่อมโยงเครือข่ายการสื่อสารของโลกเข้าไว้ด้วยกัน ดาวเทียมสื่อสารเมื่อถูกส่งเข้าสู่วงโคจร มันก็พร้อมที่จะทางานได้ทันที มันจุส่งสัญญาณไปยังสถานีภาคพื้นดิน สถานีภาคพื้นดินจะรับสัญญาณโดยใช้ อุปกรณ์ ที่เรียกว่า "Transponder" ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่พักสัญญาณ แล้วกระจายสัญญาณไปยังจุดรับ สัญญาณต่างๆ บนพื้นโลก ดาวเทียมสื่อสารสามารถส่งผ่านสัญญาณโทรศัพท์ ข้อมูลต่างๆ รวมถึงสัญญาณภาพ โทรทัศน์ได้ไปยังทุกหนทุกแห่ง ดาวเทียมสารวจทรัพยากร การใช้ดาวเทียมสารวจทรัพยากรและสภาพแวดล้อมของโลก เป็นการผสมผสานระหว่างเทคโนโลยี การถ่ายภาพ และโทรคมนาคม โดยการทางานของดาวเทียมสารวจทรัพยากรจะใช้หลักการ สารวจข้อมูลจาก ระยะไกลหลักการที่สาคัญของดาวเทียมสารวจทรัพยากร คือ Remote Sensing โดยใช้คลื่นแสงที่เป็น พลังงานแม่เหล็กไฟฟ้า (EME : Electro - Magnetic Energy) ทาหน้าที่เสมือนสื่อกลางส่งผ่านระหว่างวัตถุ เป้าหมาย และอุปกรณ์บันทึกข้อมูล อุปกรณ์ถ่ายภาพที่ติดตั้งอยู่บนดาวเทียม มักจะได้รับการออกแบบให้มี
  • 12. ความสามารถถ่ายภาพ และมีความหลากหลายในรายละเอียดของภาพได้อย่างเหมาะสม เพื่อประโยชน์ในการ จาแนกประเภททรัพยากรที่สาคัญๆ ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาเป็นดาวเทียมที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพภูมิอากาศด้วยภาพถ่ายเรดาร์ (Radar) และภาพถ่ายอินฟาเรด (Infared) เนื่องจากดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาเป็นดาวเทียมสารวจประเภทหนึ่งจึงมี อุปกรณ์บนดาวเทียมคล้ายกับดาวเทียมสารวจทรัพยากร จะแตกต่างก็เพียงหน้าที่ การใช้งาน ดังนั้นดาวเทียม อุตุนิยมวิทยาจึงมีหลักการทางานเช่นเดียวกับดาวเทียมสารวจทรัพยากร กล่าวคือ อุปกรณ์สารวจ อุตุนิยมวิทยาบนดาวเทียมจะส่ง สัญญาณมายังเครื่องรับที่สถานีภาคพื้นดิน ซึ่งที่สถานีภาคพื้นดินนี้จะมีระบบ รับสัญญาณแตกต่างกันไปตามดาวเทียมแต่ละดวง ดาวเทียมบอกตาแหน่ง ระบบหาตาแหน่งโดยใช้ดาวเทียม (Global Positioning Satellite System - GPS) ถูกพัฒนาโดย ทหารสาหรับการใช้งานในกระทรวงกลาโหม ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งในปัจจุบันได้มีการนามาใช้งานในเชิง พาณิชย์ โดยใช้เป็นระบบนาร่องให้กับเครื่องบิน เมื่อดาวเทียมที่ใช้กับระบบ GPS ขยายตัวมากขึ้น จึงมีพื้นที่ การครอบคลุมมากขึ้น และได้มีการนามาประยุกต์ใช้งานอย่าง กว้างขวาง เช่น การนาร่องให้เรือเดินสมุทร พาณิชย์ในบริเวณที่ระบบนาร่องภาคพื้นดิน ไม่สามารถใช้ได้ ดาวเทียมประเภทอื่นๆ คือ ดาวเทียมที่มีการสร้างขึ้นเพื่อใช้ในเฉพาะเรื่อง เช่น ดาวเทียมสมุทรศาสตร์ ใช้ในการสารวจทาง ทะเล ดาวเทียมสารวจอวกาศ เป็นต้น ดาวเทียมไทยคม ดาวเทียมไทยคมเป็น “ดาวเทียมสื่อสาร ” ที่ใช้ในกิจการระบบโทรทัศน์ (DTH : DIRECT TO HOME) ดาวเทียมสื่อสารที่ส่งขึ้นไปครั้งแรกเมื่อปี 2508 โดยองค์การโทรคมนาคมระหว่างประเทศ หลังจาก นั้นก็ได้ทาการส่งดาวเทียมในปีต่างๆ ต่อไปเรื่อยๆ สาหรับประเทศไทย เมื่อปี 2536 ประเทศไทยเราก็มี โครงการสร้างดาวเทียมของตนเองขึ้น และเรามีดาวเทียมมาใช้ภายในประเทศอย่างแท้จริงเมื่อปี 2538 ในนาม พระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวองค์ปัจจุบันว่า " ไทยคม " (THAICOM) ดาวเทียมไทยคม 1 ไทยคม 1A ดาวเทียมดวงแรกของประเทศไทย เป็นดาวเทียมรุ่น HS-376 สร้างโดย Huges Space Aircraft (บริษัทลูกของ โบอิง) โคจรบริเวณพิกัดที่ 120 องศาตะวันออก ส่งขึ้นสู่วงโคจรเมื่อ 17 ธันวาคม พ.ศ.
  • 13. 2536 มีอายุการใช้งานประมาณ 15 ปี (ถึง พ.ศ. 2551) เดิมดาวเทียมดวงนี้อยู่ที่พิกัด 78.5 องศาตะวันออก เรียกชื่อว่า ไทยคม 1 เมื่อย้ายมาอยู่ที่ 120 องศาตะวันออก เมื่อเดือนมิถุนายน พ .ศ. 2540 จึงเรียกชื่อใหม่ว่า "ไทยคม 1A" ตาแหน่ง: 0°0′N 120°0′E ดาวเทียมไทยคม 2 ไทยคม 2 ดาวเทียมดวงที่สองของประเทศไทย เป็นดาวเทียมรุ่น HS-376 เช่นเดียวกับ ไทยคม 1A โคจรบริเวณพิกัดที่ 78.5 องศาตะวันออก ส่งขึ้นสู่วงโคจรเมื่อ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2537 มีอายุการใช้งานประมาณ 15 ปี (ถึง พ.ศ. 2552) ตาแหน่ง: 0°0′N 78°5′E ดาวเทียมไทยคม 3 ไทยคม 3 เป็นดาวเทียมรุ่น Aerospatiale SpaceBus 3000A โคจรบริเวณพิกัดเดียวกับ ไทยคม 2 คือ 78.5 องศาตะวันออก มีพื้นที่การให้บริการ (footprint) ครอบคลุมพื้นที่มากกว่า 4 ทวีป สามารถ ให้บริการในเอเซีย ยุโรป ออสเตรเลีย และแอฟริกา และถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์ตรงถึงที่พักอาศัยหรือ Direct-to-Home (DTH) ในประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน ส่งขึ้นสู่วงโคจรเมื่อ 16 เมษายน พ.ศ. 2540 มีอายุการใช้งานประมาณ 14 ปี แต่ปลดระวางไปเมื่อปี 2549 เนื่องจากมีปัญหาเรื่องระบบไฟฟ้าไม่พอ ตาแหน่ง: 0°0′N 78°5′E ดาวเทียมไทยคม 4 ไทยคม 4 หรือ ไอพีสตาร์ เป็นดาวเทียมรุ่น LS-1300 SX สร้างโดย Space System/Loral พาโล อัลโต สหรัฐอเมริกา เป็นดาวเทียมดวงแรกที่ออกแบบมาเพื่อให้บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ที่ความเร็ว 45 Gbps เป็นดาวเทียมสื่อสารเชิงพาณิชย์ที่มีขนาดใหญ่ และมีน้าหนักมากถึง 6,486 กิโลกรัม และทันสมัยที่สุด ในปัจจุบัน ส่งขึ้นสู่วงโคจรเมื่อ 11 สิงหาคม พ .ศ. 2548 มีอายุการใช้งานประมาณ 12 ปี ตาแหน่ง: 0°0′N 120°0′E ดาวเทียมไทยคม 5 ไทยคม 5 เป็นดาวเทียมรุ่น Aerospatiale SpaceBus 3000A (รุ่นเดียวกับไทยคม 3) สร้างโดย Alcatel Alenia Space ประเทศฝรั่งเศส มีน้าหนัก 2800 กิโลกรัม มีพื้นที่การให้บริการครอบคลุมพื้นที่ 4 ทวีป ใช้เป็นดาวเทียมสาหรับการถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมตรงถึงที่พักอาศัยหรือ Direct-to- Home (DTH) และการถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์ดิจิตอลความละเอียดสูง (High Definition TV) ส่งขึ้นสู่วง โคจรเมื่อ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 เพื่อทดแทนไทยคม 3ตาแหน่ง: 0°0′N 78°5′E
  • 14. ดาวเทียมไทยคม 6 ไทยคม 6 เป็นดาวเทียมรุ่น สร้างโดยบริษัท Orbital Sciences Corporation แต่ขนส่งโดยบริษัท SpaceX เนื่องจากดาวเทียวดวงนี้มีน้าหนักถึง 3,000 กิโลกรัม จรวจของ Orbital Sciences Corporation ไม่ สามารถขนส่งได้ ชื่อของจรวจของ SpaceX ที่ส่งดาวเทียม "ไทยคม 6" คือ "Falcon 9" มีพื้นที่การให้บริการ ครอบคลุมพื้นที่ 4 ทวีป ใช้เป็นดาวเทียมสาหรับการถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมตรงถึงที่พักอาศัย หรือ Direct-to-Home (DTH) และการถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์ดิจิตอลความละเอียดสูง (High Definition TV)ตาแหน่ง: 0°0′N 78°5′E ดาวเทียมไทยคม 7 ดาวเทียมไทยคม 7 เป็นดาวเทียมประเภท 3 แกน รุ่น FS1300 ผลิตโดย บริษัท สเปซ สิสเต็มส์ / ลอเรล ประเทศสหรัฐอเมริกา ส่งขึ้นสู่วงโคจรด้วยจรวดฟอลคอน 9 ของบริษัท สเปซ เอ็กซ์พลอเรชั่น เทคโนโลยี (SPACEX) ประเทศสหรัฐอเมริกา มวลในวงโคจร ประมาณ 3,700 กิโลกรัม มีอายุการใช้งานนาน 15 ปี ประกอบด้วยย่านความถี่ ซี- แบนด์ จานวน 14 ทรานสพอนเดอร์ ซึ่งมีพื้นที่ให้บริการกว้างครอบคลุม ภูมิภาคเอเชียใต้ อินโดจีน รวมถึงออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ภายในปีเดียวกัน ซึ่งช่วยให้ผู้ใช้บริการสามารถ เชื่อมต่อข้ามภูมิภาคได้ ดาวเทียมไทยคม 7 จะจัดสร้างแล้วเสร็จและจัดส่งขึ้นสู่วงโคจร ณ ตาแหน่ง 120 องศา ตะวันออกได้ในปี 2557 บริษัท ไทยคม จากัด (มหาชน) ประสบความสาเร็จในการจัดส่งดาวเทียมไทยคม 7 ขึ้นสู่วงโคจร เมื่อ วันที่ 7 กันยายน 2557 ที่ผ่านมา เวลา 01.00 น. (ตามเวลาท้องถิ่น) ด้วยจรวดขนส่งฟอลคอน 9 ของบริษัท สเปซ เอ็กซพลอเรชั่น เทคโนโลยีส์ คอร์ปอเรชั่น (Space Exploration Technologies Corporation- SPACE X) ณ แหลมคานาเวอรัล รัฐฟลอริดา ประเทศสหรัฐอเมริกา เพื่อรักษาสิทธิในวงโคจรของไทย พร้อม ช่วยขับเคลื่อนการเติบโตของอุตสาหกรรมบรอดคาสต์ไทย ด้ วยการเพิ่มปริมาณช่องสัญญาณเพื่อรองรับความ ต้องการใช้งานและการเติบโตของโทรคมนาคมในประเทศ พร้อมขยายศักยภาพในฐานะบริษัทดาวเทียมไทย เพื่อให้บริการสื่อสารโทรคมนาคมให้ครอบคลุมทั้งในภูมิภาคเอเชียใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทวีป ออสเตรเลีย การส่งดาวเทียมไทยคม 7 ขึ้นสู่วงโคจร เป็นการเพิ่มขีดความสามารถในการรองรับ ให้ไทยคมมี ช่องสัญญาณเพียงพอต่อการรองรับการเติบโตของอุตสาหกรรมบรอดคาสต์ของไทย โดยเฉพาะทีวีดิจิตอล โดย เสริมช่องสัญญาณบนดาวเทียมไทยคม 5 และ 6 ที่ให้บริการเต็มในปัจจุบัน การมีดาวเทียมเพิ่มเติมอีกดวงหนึ่ง นี้ จะช่วยสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ อีกทั้งยังเพิ่มศักยภาพการให้บริการและช่วยขยายตลาดของไทยคมใน ต่างประเทศด้วย
  • 15. บทที่ 3 ขั้นตอนและวิธีการศึกษาค้นคว้า ขั้นตอนการศึกษาค้นคว้า เรื่อง การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม 1. คิดหัวข้อโครงงานเพื่อนาเสนอครูที่ปรึกษาโครงงาน 2. วาดแผนที่ความคิดในหัวข้อที่จะศึกษาว่าจะศึกษาในประเด็นใดบ้าง 3. ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่สนใจคือเรื่องดาวเทียมว่ามีเนื้อหามากน้อยเพียงใด และต้องศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากเว็บต่างๆและเก็บข้อมูลไว้เพื่อจัดทาเนื้อหาต่อไป 4. นาเสนอรายงานความก้าวหน้าเป็นระยะๆโดยแจ้งครูที่ปรึกษาโครงงานเข้าไปตรวจความก้าวหน้า ของโครงงานผ่านเว็บไซต์ www.facebook.com ซึ่งครูที่ปรึกษาจะให้ข้อเสนอแนะต่างๆเพื่อให้จัดทาเนื้ อหา และการนาเสนอที่น่าสนใจต่อไปทั้งนี้เมื่อได้รับคาแนะนาก็จะนามาปรับปรุงแก้ไขให้เป็นที่สนใจยิ่งขึ้น 5. นาข้อมูลทั้งหมดที่ศึกษาค้นคว้ามาสรุปแล้วจัดทาเอกสารรายงานโครงงานเรื่องดาวเทียมและจัดทา การนาเสนอในรูปแบบไฟล์คอมพิวเตอร์ โดยนาเสนอแบบ power point วิธีการศึกษาค้นคว้า วิธีดาเนินการ 1. สถานที่ โรงเรียนอามาตย์พานิชนุกูล - ห้องสมุดโรงเรียนอามาตย์พานิชนุกูล - ร้านหนังสือเส้งโห 2. วัสดุอุปกรณ์ 1. ปากกา ดินสอ ยางลบ สมุด และกระดาษ 2. เครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 3. Flash Drive เพื่อการบันทึกข้อมูล
  • 16. บทที่ 4 ผลการศึกษาค้นคว้า จากการศึกษาเรื่องดาวเทียม การจัดทาการศึกษาค้นคว้านี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาเกี่ยวกับประวัติ ของดามเทียม ส่วนประกอบของดาวเทียม ประเภทของดามเทียม และหลักการทางานของดาวเทียม และ สืบค้นเกี่ยวกับดามเทียมไทยคมในส่วนของหลักการทางาน ซึ่งขั้นตอนการศึกษาค้นคว้า เราก็ได้กาหนดหัวข้อ เรื่องที่จะศึกษา ค้นหาข้อมูลที่ได้กาหนดไว้ โดยการหาข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต ส่งข้อมูลให้ครูที่ปรึกษา เป็น ระยะๆ เมื่อครูได้ให้คาปรึกษาจากนั้นเราก็นามาแก้ไขให้ถูกต้ องตรงประเด็น นาข้อมูลทั้งหมดมารวบรวม และ สรุปผลการศึกษาค้นคว้า จัดทาเป็นรูปเล่ม โดยการเขียนเป็นรายงาน และนาเสนอรายงานที่เราทา และผลที่ได้ จากการศึกษาค้นคว้านั้น ทาให้เราได้รู้ว่า ดาวเทียมได้ถูกส่งขึ้นไปโคจรรอบโลกครั้งแรกเมื่อปี พ .ศ. 2500 ดาวเทียมมีหลายประเภท เช่น ดามเทียมสื่อสาร หรือในชื่อว่าดาวเทียมไทยคม เป็นโครงการ ดาวเทียมสื่อสาร เพื่อให้บริการสื่อสารผ่านช่องสัญญาณดาวเทียม ซึ่งกระทรวงคมนาคม (ในขณะนั้น) ต้องการจัดหาดาวเทียม เพื่อรองรับการขยายตัวด้านการสื่อสารของประเทศอย่างรวดเร็ว ส่วนการนาไปใช้หรือประโยชน์ของการศึกษาค้นคว้าเรื่องดามเทียมนั้น มีดังนี้ 1. ได้รู้ในเรื่องเกี่ยวกับประวัติของดาวเทียมซึ่งความรู้นี้สามารถทาความเข้าใจ และจดจาไว้ได้เพื่อไว้ เป็นความรู้ทั่วไปเมื่อมีใครถามเราสามารถตอบและอธิบายให้เข้าใจได้ 2. ได้เห็นถึงความ เพียร พยายามของเหล่าผู้ค้นพบดามเทียม เช่น" อาเธอร์ ซี คลาร์ก " (ARTHUR C. CLARKE) เป็นนักเขียนนวนิยายและสารคดีวิทยาศาสตร์ผู้มีชื่อเสียงในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 เขาได้สร้าง จินตนาการของการสื่อสารดาวเทียมซึ่งในบทความได้กล่าวถึงว่า " ถ้ามนุษย์ชาติเรานาเอาสถานีทวนสัญ ญาณ ขึ้นไปลอยในอวกาศ เพื่อใช้ในการส่งสัญญาณข่าวสารต่างๆ เพื่อใช้ในการสื่อสารระหว่างจุดหนึ่งกับอีกจุดหนึ่ง ในรูปแบบของภาคพื้นดินสู่อวกาศ และจากอวกาศกลับเข้ามาสู่ภาคพื้นดินอีกครั้งหนึ่ง โดยเรียกสถานีทวน สัญญาณนี้ว่า " ดาวเทียม " 3. เพื่อเพิ่มความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับดามเทียมใช้เป็นความรู้ประกอบการเรียนได้
  • 17. บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ 1. ดาวเทียมจะถูกส่งขึ้นไปลอยอยู่ในตาแหน่ง วงโคจรค้างฟ้า ซึ่งมีระยะห่างจากพื้นโลก ประมาณ 36,000 – 38,000 กิโลเมตร 2. ดาวเทียมได้ถูกส่งขึ้นไปโคจรรอบโลกครั้งแรกเมื่อปี พ .ศ. 2500 ดาวเทียมดังกล่าวมีชื่อว่า “สปุตนิก” 3. แรกๆ ดาวเทียมได้ประดิษฐ์ขึ้นมาใช้ประโยชน์ในด้านการทหาร และได้พัฒนามาใช้ทางด้านการ พยากรณ์อากาศ การค้นหาทรัพยกรธรณี และการสื่อสาร ซึ่งจะกล่าวถึงในที่นี้คือ “ดาวเทียมสื่อสาร” 4. ดาวเทียมสื่อสารที่ส่งขึ้นไปครั้งแรกเมื่อปี 2508 โดยองค์การโทรคมนาคมระหว่างประเทศหรือ เรียกย่อว่า INTELSAT 5. ดาวเทียมมาใช้ภายในประเทศไทยอย่างแท้จริงเมื่อปี 2538 ในนามพระราชทานจาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวองค์ปัจจุบันว่า “ไทยคม” 6. ดาวเทียมไทยคม เป็นโครงการ ดาวเทียมสื่อสาร เพื่อให้บริการสื่อสารผ่านช่องสัญญาณดาวเทียม 7. ดาวเทียมดวงแรกของประเทศไทย เป็นดาวเทียมรุ่น HS-376 สร้างโดย Huges Space Aircraft (บริษัทลูกของ โบอิง) โคจรบริเวณพิกัดที่ 120 องศาตะวันออก ส่งขึ้นสู่วงโคจรเมื่อ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2536 มี อายุการใช้งานประมาณ 15 ปี (ถึง พ.ศ. 2551) 8. ดามเทียมไทยคมในปัจจุบันมีทั้งหมด 7 ดวง ซึ่งดาวเทียมไทยคม 7 ขึ้นสู่วงโคจร เมื่อวันที่ 7 กันยายน 2557 ที่ผ่านมา เวลา 01.00 น. (ตามเวลาท้องถิ่น ) ด้วยจรวดขนส่งฟอลคอน 9 ของบริษัท สเปส เอ็กซพลอเรชั่น เทคโนโลยีส์ คอร์ปอเรชั่น ข้อเสนอแนะ 1. มีการคาดการณ์ว่าจะสามารถนาดาวเทียมไทยคม 8 ขึ้นให้บริการในวงโคจรได้ในครึ่งแรกของ ปี 2559 2. ดาวเทียมไทยคม 8 จะทาให้ประเทศไทยมีช่องสัญญาณดาวเทียมเพียงพอต่อการใช้งาน รองรับการ เติบโตของอุตสาหกรรมบรอดคาสต์ในช่วงแห่งการเปลี่ยนผ่านไปสู่เทคโนโลยีโทรทัศน์ความคมชัดสูง (ระบบ HD) และเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับระบบ “อัลตร้า เอชดี” (Ultra HD) ในอนาคต
  • 18. บรรณานุกรม ฟิสิกราชมงคล.ประวัติของดาวเทียม . (ออนไลน์).เข้าถึงได้จาก http://www.atom.rmutphysics.com (วันที่สืบค้นข้อมูล : 19 ธันวาคม 2557). สารานุกรมเสรี.ส่วนประกอบของดามเทียม.(ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก http://th.wikipedia.org/wiki/ ดาวเทียม(วันที่สืบค้นข้อมูล : 19 ธันวาคม 2557). ทรูไลฟ์.หลักการทางานดาวเทียม. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก http://www.truelife.com/detail/98258 (วันที่สืบค้นข้อมูล : 19 ธันวาคม 2557). ปรีดา คงเมือง.ประเภทของดามเทียม. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก https://www.l3nr.org/posts/300016(วันที่สืบค้นข้อมูล : 26 ธันวาคม 2557). ฟอร์เวิลด์ แซลเทิลไลท์.ความเป็นมาเบื้องต้นของระบบดาวเทียม.(ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก http://www.forwardsat.com/(วันที่สืบค้นข้อมูล : 26 ธันวาคม 2557). ฟิสิกส์ราชมงคล.ดาวเทียมไทยคม.(ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก http://www.electron.rmutphysics.com/(วันที่สืบค้นข้อมูล : 26 ธันวาคม 2557).
  • 20. ภาพประกอบ ภาพที่ 1 : การโคจรของดาวเทียม ภาพจาก http://www.defenseindustrydaily.com ภาพที่ 2 : ไทยคม 4 ดาวเทียมแบบบอร์ดแบนดวงแรกของภูมิภาคนี้ ภาพจาก www.esamultimedia.esa.int
  • 21. ภาพที่ 3 : พื้นที่ให้บริการไทยคม 1 และ ไทยคม 2 ภาพจาก http://www.thaicom.net ภาพที่ 4 : พื้นที่ให้บริการไทยคม 3 ภาพจาก http://www.thaicom.net
  • 22. ภาพที่ 5 : พื้นที่ให้บริการไทยคม 4 ภาพจาก http://www.thaicom.net ภาพที่ 6 : พื้นที่ให้บริการไทยคม ภาพจาก http://www.thaicom.net
  • 23. การส่งดาวเทียมขึ้นสู่อวกาศ http://www.bloggang.com/ การส่งดาวเทียมขึ้นสู่อวกาศ การส่งดาวเทียมขึ้นสู่อวกาศ http://www.bloggang.com/ ภาพที่ 7 : การส่งดาวเทียมขึ้นสู่อวกาศ ภาพจาก http://www.tpa.or.th/ การส่งดาวเทียมขึ้นสู่อวกาศ ภาพที่ 8 : การส่งดาวเทียมขึ้นสู่อวกาศ ภาพจาก http://www.tpa.or.th/
  • 24. ข้อมูลผู้จัดทา ชื่อ : นายธนกฤต นามสกุล ปิ่นทอง ชื่อเล่น : นัท อายุ : 16 ปี เกิด : 22 มิถุนายน พ.ศ. 2541 ศึกษาอยู่ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปีที่4/7 โรงเรียน : อามาตย์พานิชนุกูล จังหวัดกระบี่ คติ : ฝันให้ไกลไปให้ถึง และ ทาทุกวินาทีให้มีค่ามากที่สุด e-mail : natmiracle_fc@hotmail.com ชื่อ : นางสาวธัญสิริ นามสกุล นวลวิจิตร ชื่อเล่น : พลอย อายุ : 16 ปี เกิด : 1 สิงหาคม พ.ศ. 2541 ศึกษาอยู่ระดับชั้น : มัธยมศึกษาปีที่4/7 โรงเรียน : อามาตย์พานิชนุกูล จังหวัดกระบี่ คติ : อย่าเพิ่งท้อแท้ในสิ่งที่ยังไม่พยายาม และอย่าเพิ่ง หมดหวังในสิ่งที่ยังไม่เริ่มต้น e-mail : ploy12281@gmail.com